White Paper 1 20171024153439

สวนที่ 1 สถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม บทที่ 1 SMEs บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 ...

0 downloads 53 Views 1MB Size
สวนที่ 1

สถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

บทที่ 1

SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550

1

บทที่ 1 บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมป 2550 1.1 บทบาทของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมในผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศ ภาพรวมเศรษฐกิจของประเทศในป 2550 อยูใ นเกณฑดเี ห็นไดจากอัตราการขยายตัว ของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) มีการขยายตัวรอยละ 4.8 ลดลงเล็กนอย เมือ่ เทียบกับอัตราการขยายตัวรอยละ 5.1 ในปกอ นหนา โดยมูลคา GDP ในป 2550 เทากับ 8,485,200.0 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนหนา 668,726.0 ลานบาท มูลคา GDP ของภาคเกษตรคิดเปนสัดสวนรอยละ 11.4 ของมูลคา GDP รวม หรือมีมูลคา 967,091.0 ลานบาท โดยภาคเกษตรในป 2550 มีอัตราการขยายตัวรอยละ 3.9 ใกลเคียงกับอัตราการขยายตัวของปกอนหนาที่อยูที่รอยละ 3.8 สำหรับมูลคา GDP ของภาคนอกเกษตรนั้นมีมูลคา GDP เทากับ 7,518,109.0 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 88.6 ของมูลคา GDP รวม และมีอัตราการขยายตัวรอยละ 4.8 ลดลงเล็กนอยเมื่อเทียบกับ อัตราการขยายตัวของปกอ นหนาทีข่ ยายตัวรอยละ 5.2 ตอป โดยโครงสรางระบบเศรษฐกิจ ของประเทศยังคงไมเปลี่ยนแปลง กลาวคือ ภาคนอกเกษตรยังคงมีบทบาทสูงมากตอ เศรษฐกิจประเทศ อยางไรก็ตามภาคเกษตรของประเทศเริ่มมีสัญญาณของการขยายตัว เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องนับตั้งแตป 2548 เปนตนมา สำหรับ GDP ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ในป 2550 มีมูลคา 3,244,974.5 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 38.2 ของ GDP รวมทั้งประเทศ โดยมีอัตรา การขยายตัวคิดเปนรอยละ 4.2 ตอป เมื่อพิจารณามูลคา GDP ตามขนาดวิสาหกิจ พบวา วิสาหกิจขนาดยอม (SE) มีบทบาทดานมูลคา GDP สูงกวาวิสาหกิจขนาดกลาง (ME) โดยมูลคา GDP ของ SE ในป 2550 เทากับ 2,175,597.9 ลานบาท ขยายตัวจากปกอนหนา คิดเปนรอยละ 3.9 และมูลคา GDP ของ SE มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 25.6 ของ GDP รวม ดานมูลคา GDP ของ ME พบวา ในป 2550 มูลคา GDP ของ ME เทากับ 1,069,376.6 ลานบาท ขยายตัวจากปกอนหนารอยละ 4.8 และมีสัดสวนตอ GDP รวมคิดเปนรอยละ 12.6

SMEs 1 - 1

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

1.1.1 มูลคา โครงสราง สัดสวน และอัตราการขยายตัวผลิตภัณฑมวลรวม ในประเทศ จำแนกตามขนาดวิสาหกิจ ตารางที่ 1.1 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ป 2546 - 2550 จำแนกตามขนาดวิสาหกิจ 2546 2547 2548 2549 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาประจำป (ลานบาท)

2550

ประเทศ

5,928,974.0 6,503,487.0 7,104,228.0 7,816,474.0 8,485,200.0

ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร

607,863.0 5,321,111.0

654,810.0 5,848,677.0

706,285.0 6,397,943.0

836,077.0 967,091.0 6,980,397.0 7,518,109.0

- วิสาหกิจขนาดใหญ 2,691,814.3 2,954,382.0 3,260,301.3 3,589,655.1 3,889,567.5 - SMEs 2,367,109.7 2,598,656.9 2,816,640.7 3,041,895.9 3,244,974.5 วิสาหกิจขนาดยอม 1,613,005.2 วิสาหกิจขนาดกลาง 754,104.5

1,761,455.2 837,201.8

1,901,333.5 915,307.2

2,043,460.3 2,175,597.9 998,435.6 1,069,376.6

262,187.0

295,638.0

321,001.0

348,846.0

383,567.0

100.0

100.0

100.0

100.0

100.0

10.3 89.7

10.1 89.9

9.9 90.1

10.7 89.3

11.4 88.6

- วิสาหกิจขนาดใหญ - SMEs

45.4 39.9

45.4 40.0

45.9 39.6

45.9 38.9

45.8 38.2

วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง

27.2 12.7

27.1 12.9

26.8 12.9

26.1 12.8

25.6 12.6

4.4

4.5

4.5

4.5

4.5

- วิสาหกิจอื่นๆ

สัดสวน (รอยละ) ประเทศ ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร

- วิสาหกิจอื่นๆ

อัตราการขยายตัวผลิตภัณฑมวลรวม ณ ราคาคงที่ (รอยละ) ประเทศ

7.1

6.3

4.5

5.1

4.8

ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร

12.7 6.5

(2.4) 7.4

(1.9) 5.2

3.8 5.2

3.9 4.8

- วิสาหกิจขนาดใหญ - SMEs

8.5 4.6

7.4 7.6

5.6 4.9

5.4 5.5

5.5 4.2

วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง

3.9 6.2

6.9 9.1

4.7 5.2

5.4 5.5

3.9 4.8

3.0

3.2

3.9

0.0

3.1

- วิสาหกิจอื่นๆ

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม หมายเหตุ : วิสาหกิจอื่นๆ คือ การบริหารราชการและการปองกันประเทศ

1 - 2 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

จากภาพที่ 1.1 แสดงถึงโครงสราง GDP ของประเทศจำแนกตามกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ และตามขนาด พบวา ในป 2550 โครงสราง GDP ของประเทศยังคงมีลักษณะ เชนเดิมไมเปลี่ยนแปลง กลาวคือ ภาคนอกเกษตรยังคงมีบทบาทตอเศรษฐกิจของประเทศ ในระดับสูง คิดเปนสัดสวนรอยละ 88.6 ของมูลคารวม ขณะที่ภาคเกษตรมีสัดสวนคิดเปน รอยละ 11.4 ของมูลคารวม อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาโครงสรางดังกลาวเปรียบเทียบ กับป 2549 พบวา ภาคเกษตรมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นเห็นไดจากการสัดสวนรอยละตอมูลคา GDP รวมในป 2550 เพิ่มขึ้นจากป 2549 รอยละ 0.7 เมือ่ พิจารณาโครงสราง GDP ของภาคนอกเกษตรโดยจำแนกตามขนาดของวิสาหกิจ พบวา วิสาหกิจขนาดใหญมีสัดสวนมูลคา GDP คิดเปนรอยละ 45.8 ถือวาไมเปลี่ยนแปลง เมื่อเทียบกับป 2549 ซึ่งมีสัดสวนคิดเปนรอยละ 45.9 ขณะที่วิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม (SMEs) กลับมีบทบาทลดลงอยางตอเนื่อง เห็นไดจากสัดสวนลดลงจากรอยละ 38.9 เปนรอยละ 38.2 ในป 2550 ภาพที่ 1.1 โครงสรางผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ป 2550 โครงสรางผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ป 2550 ภาคเกษตร 11.4%

อื่นๆ 4.5%

SMEs 38.2%

LE 45.8%

ภาคนอกเกษตร 88.6%

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 3

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 1.2 และภาพที่ 1.2 แสดงแนวโนมสัดสวนของ SMEs และอัตราการขยายตัว ของ GDP จำแนกตามขนาดวิสาหกิจระหวางป 2545 - 2550 เมื่อพิจารณาแนวโนมของ สัดสวนมูลคา GDP ของ SMEs ตัง้ แตป 2545 เปนตนมา พบวา บทบาทของ SMEs ในการสราง GDP ลดลงอยางตอเนื่องมาโดยตลอด ขณะที่บทบาทของวิสาหกิจขนาดใหญและวิสาหกิจ อื่นๆ มีแนวโนมคงที่หรือเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยตลอดชวงเวลาที่พิจารณา สาเหตุที่บทบาท ของ SMEs ลดลงในเชิงสัดสวนของมูลคา GDP นาจะมาจากการที่ภาคเกษตรมีการขยาย ตัวอยางตอเนื่องโดยเฉพาะในชวง 2 ปลาสุด เนื่องมาจากความตองการสินคาเกษตรใน ตลาดโลกเพิม่ สูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง ประกอบกับประเทศผูส ง ออกสินคาเกษตรลวนประสบกับ ภัยธรรมชาติ สงผลใหสนิ คาเกษตรไทยมีการสงออกเพิม่ ขึน้ จึงมีการขยายผลผลิตเพือ่ รองรับ กับความตองการที่เพิ่มขึ้นดวย เมื่อพิจารณาแนวโนมอัตราการขยายตัวของวิสาหกิจขนาดตางๆ พบวา วิสาหกิจ ขนาดใหญยังคงเปน Engine of Growth ของระบบเศรษฐกิจประเทศ เห็นไดจากอัตราการ ขยายตัวของวิสาหกิจขนาดใหญสงู กวาอัตราการขยายตัวของประเทศ และวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอมเปนสวนใหญ อาจจะมีขอ ยกเวนในป 2547 และป 2549 ซึง่ อัตราการขยายตัว GDP ของ SMEs สูงกวาอัตราการขยายตัวของวิสาหกิจขนาดใหญ เนื่องจากในป 2547 วิสาหกิจขนาดกลางในภาคการผลิตมีอตั ราการขยายตัวสูงมาก (รอยละ 13.8) ขณะทีว่ สิ าหกิจ ขนาดใหญมอี ตั ราการขยายตัวเพียงรอยละ 7.3 เทานัน้ สงผลใหในปดงั กลาวอัตราการขยายตัว GDP ของ SMEs สูงกวาอัตราการขยายตัวของวิสาหกิจขนาดใหญ สวนในป 2549 นั้น เปนผลเนือ่ งมาจากการทีว่ สิ าหกิจอืน่ ๆ ไมมกี ารขยายตัว ดังนัน้ จึงสงผลให GDP ของ SMEs มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ตารางที่ 1.2 แนวโนมสัดสวนของ SMEs และอัตราการขยายตัว GDP จำแนกตามขนาดวิสาหกิจ ป 2545 - 2550 2545 2546 2547 2548 2549 สัดสวน (รอยละ) SMEs 41.3 39.9 40.0 39.6 อัตราการขยายตัวผลิตภัณฑมวลรวม ณ ราคาคงที่ (รอยละ) ประเทศ 5.3 7.1 6.3 4.5 วิสาหกิจขนาดใหญ 7.4 8.5 7.4 5.6 SMEs 4.1 4.6 7.6 4.9 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 4 SMEs

2550

38.9

38.2

5.1 5.4 5.5

4.8 5.5 4.2

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

42.0 41.0 40.0 39.0 38.0 37.0 36.0

สัดสวนของ SMEs และอัตราการขยายตัว GDP จำแนกตาม ขนาดวิสาหกิจ ป 2545 - 2550 10.0 8.0 6.0 4.0 2.0 2545

2546

สัดสวน SMEs GDP

2547

2548

2549

ประเทศ

LE

อัตราการขยายตัว (%)

สัดสวนตอ GDP ของ SMEs (%)

ภาพที่ 1.2 แนวโนมสัดสวนของ SMEs และอัตราการขยายตัว GDP จำแนกตามขนาดวิสาหกิจ ป 2545 - 2550

-

2550

SMEs

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1.1.2 มูลคาโครงสราง สัดสวน และอัตราการขยายตัวผลิตภัณฑมวลรวม ในประเทศ จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ภาพรวมของประเทศ โครงสราง GDP ของประเทศเมือ่ จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจพบวา ประมาณ รอยละ 10.0 เปนมูลคาทีเ่ กิดจากภาคเกษตร ขณะทีอ่ กี รอยละ 90.0 เปนผลิตภัณฑมวลรวมใน ประเทศทีเ่ กิดจากภาคนอกเกษตร เมือ่ พิจารณาโครงสราง GDP ของภาคนอกเกษตร พบวา ภาคการผลิตเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีม่ บี ทบาทตอเศรษฐกิจสูงคิดเปนรอยละ 34.9 ของ มูลคา GDP รวม รองลงมาไดแก ภาคการบริการซึ่งมีสัดสวนคิดเปนรอยละ 30.7 และ ภาคการคาและการซอมบำรุงมีบทบาทเปนลำดับสามมีสัดสวนคิดเปนรอยละ 13.9 โดยทั้ง 3 ภาคกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีสัดสวนมูลคา GDP รวมกันคิดเปนรอยละ 79.6 ของมูลคา GDP รวมและคิดเปนรอยละ 89.8 ของมูลคา GDP ภาคนอกเกษตร

SMEs 1 - 5

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 1.3 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ป 2544 - 2550 จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาประจำป ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (ลานบาท) รวมทั้งประเทศ ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร

5,133,501 5,450,642 5,928,974 6,503,487 7,104,228 7,816,474 8,485,200 468,905 514,257 607,863 654,810 706,285 836,077 967,091 4,664,596 4,936,385 5,321,111 5,848,677 6,397,943 6,980,397 7,518,109

- การเหมืองแร 126,232 135,851 154,582 175,020 222,175 257,503 276,148 - การผลิต 1,715,925 1,836,082 2,063,241 2,243,897 2,467,112 2,739,534 2,960,136 - การกอสราง 154,493 165,719 174,967 198,537 222,753 238,967 248,677 - การคาและการซอมบำรุง 856,098 866,332 903,413 981,686 1,054,447 1,114,739 1,181,270 - การบริการ 1,645,165 1,756,806 1,833,902 2,038,641 2,211,879 2,377,620 2,608,524 การบริการภาคเอกชน 1,423,004 1,512,023 1,571,715 1,743,003 1,890,878 2,028,774 2,224,957 การบริการภาครัฐ 222,161 244,783 262,187 295,638 321,001 348,846 383,567 - ไฟฟา แกส และน้ำประปา 166,683 175,595 191,006 210,896 219,577 252,034 243,354

สัดสวนผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจำป ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (รอยละ) รวมทั้งประเทศ ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร - การเหมืองแร - การผลิต - การกอสราง - การคาและการซอมบำรุง - การบริการ การบริการภาคเอกชน การบริการภาครัฐ - ไฟฟา แกส และน้ำประปา

100.0 9.1 90.9

100.0 9.4 90.6

100.0 10.3 89.8

100.0 10.1 89.9

100.0 9.9 90.1

100.0 10.7 89.3

100.0 11.4 88.6

2.5 33.4 3.0 16.7 32.1 27.7 4.3 3.3

2.5 33.7 3.0 15.9 32.2 27.7 4.5 3.2

2.6 34.8 3.0 15.2 30.9 26.5 4.4 3.2

2.7 34.5 3.1 15.1 31.4 26.8 4.6 3.2

3.1 34.7 3.1 14.8 31.1 26.6 4.5 3.1

3.3 35.1 3.1 14.3 30.4 26.0 4.5 3.2

3.3 34.9 2.9 13.9 30.7 26.2 4.5 2.9

อัตราการขยายตัวผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ (รอยละ) รวมทั้งประเทศ ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร

-

5.3 0.7 5.9

7.1 12.7 6.5

6.3 -2.4 7.4

4.5 -1.9 5.2

5.1 3.8 5.2

4.8 3.9 4.8

- การเหมืองแร - การผลิต - การกอสราง - การคาและการซอมบำรุง - การบริการ การบริการภาคเอกชน การบริการภาครัฐ - ไฟฟา แกส และน้ำประปา

-

11.0 7.1 5.4 2.2 5.9 5.8 6.5 6.0

6.8 10.7 2.8 2.9 3.7 3.8 3.0 4.6

5.5 8.2 7.2 4.8 7.8 8.4 3.2 6.4

9.0 5.2 5.7 4.4 5.3 5.4 3.9 5.3

4.2 5.9 4.3 3.9 5.2 5.8 0.0 4.8

3.5 5.8 2.1 3.2 4.8 4.9 3.1 4.7

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 6 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ภาพที่ 1.3

โครงสราง GDP ของประเทศจำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ป 2545 - 2550

รอยละ

โครงสราง GDP ของประเทศจำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ป 2545 - 2550 100.0 80.0 60.0 40.0 20.0 0.0

3.2

3.2

3.2

3.1

3.2

2.9

34.2

33.0

33.0

32.4

32.2

30.7

15.9 3.0 33.7 2.5 2545

15.2 3.0 34.8 2.6 2546

15.1 3.1 34.5 2.7 2547

14.8 3.1 34.7 3.1 2548

14.3 3.1 35.0 3.3 2549

13.9 2.9 34.9 3.3 2550

ไ า แกส ไฟฟ และน้ำประปา การบริการ การคาและ การซอมบำรุง การกอสราง การผลิต การเหมืองแร

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

เมื่อพิจารณาแนวโนมของมูลคา สัดสวน และการขยายตัว GDP ของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตางๆ พบวา บทบาทของภาคเกษตรเพิ่มขึ้นเล็กนอยในชวง 2 ปลาสุด เนื่องจาก การขยายตัวของการผลิตพืชผลเพือ่ รองรับกับความตองการของตลาดโลก สวนในภาคนอก เกษตรนัน้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจทีม่ คี วามสำคัญ เชน ในภาคการผลิตมีอตั ราการขยายตัว คอนขางทรงตัวในชวง 2 - 3 ปลาสุด โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยในชวง 3 ปลาสุด ประมาณรอยละ 5.6 เชนเดียวกับแนวโนมของสัดสวนตอมูลคา GDP รวม ซึ่งเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง โดยมีสัดสวนตอ GDP รวมเฉลี่ยในชวง 3 ปลาสุดประมาณรอยละ 35.0 ในภาคการบริการมีแนวโนมอัตราการขยายตัวลดลงอยางตอเนือ่ ง ในชวง 3 ปลา สุด จากรอยละ 5.3 ในป 2548 ลดลงเปนรอยละ 5.2 ในป 2549 และ รอยละ 4.8 ในป 2550 โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยในชวงดังกลาวคิดเปนรอยละ 5.1 ซึ่งสงผลใหสัดสวน GDP ของภาคการบริการตอมูลคา GDP รวมอยูที่ประมาณรอยละ 30.0 - 31.0 ในชวง 3 ปลาสุด ภาคการคาและการซอมบำรุง มีแนวโนมของการชะลอตัวมาโดยตลอด เมื่อพิจารณาจาก อัตราการขยายตัว พบวา ภาคการคาและการซอมบำรุงมีอัตราการขยายตัวลดลงอยาง ตอเนื่อง โดยอัตราการขยายตัวอยูระหวางรอยละ 3.2 - 4.4 ตอป ซึ่งเมื่อเทียบกับอัตรา การขยายตัวของภาคการผลิตและภาคการบริการจะนอยกวาอยางตอเนือ่ ง จึงทำใหบทบาท ของภาคการคาและการซอมบำรุงในดานมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศลดนอยลง โดยตลอด SMEs 1 - 7

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

สัดสวนมูลคา GDP (รอยละ)

ภาพที่ 1.4 แนวโนมสัดสวนมูลคา GDP ของประเทศ จำแนกตามกิจกรรมทาง เศรษฐกิจที่สำคัญ ป 2545 - 2550 40.0 35.0 30.0 25.0 20.0 15.0 10.0

2545

การผลิต

2546

2547

2548

การคาและการซอมบำรุง

2549

2550

การบริการ

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพรวมของ SMEs โครงสรางมูลคา GDP ของ SMEs ในป 2550 ยังคงมีลกั ษณะคลายคลึงกับปกอ นหนา กลาวคือ โครงสรางทางเศรษฐกิจของ SMEs มีความเกี่ยวของกับภาคการบริการ ภาค การผลิต และภาคการคาและการซอมบำรุงเปนสำคัญเชนเดียวกับโครงสราง GDP ของ ประเทศ โดยภาคการบริการเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีม่ คี วามสำคัญสูงสุดมีสดั สวนคิดเปน รอยละ 32.2 รองลงมาไดแก ภาคการผลิตซึง่ มีสดั สวนคิดเปนรอยละ 30.7 และ ภาคการคา และการซอมบำรุงมีสัดสวนคิดเปนรอยละ 29.1 อยางไรก็ตาม โครงสราง GDP ของ SMEs และโครงสราง GDP ของประเทศมีความแตกตางกันในรายละเอียดพอสมควรทั้งในดาน บทบาทและแนวโนมของกิจกรรมทางเศรษฐกิจแตละประเภท

1 - 8 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ตารางที่ 1.4 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศของ SMEs ป 2544 - 2550 จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของ SMEs ณ ราคาประจำป ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (ลานบาท) SMEs 2,161,423 2,248,474 2,367,110 2,598,657 2,816,641 3,041,896 3,244,974 - การเหมืองแร - การผลิต - การกอสราง - การคาและการซอมบำรุง - การบริการ การบริการภาคเอกชน การบริการภาครัฐ - ไฟฟา แกส และน้ำประปา

21,699 568,459 134,826 697,563 732,549 732,549 0 6,327

26,496 604,306 141,810 701,014 768,855 768,855 0 5,994

26,921 682,640 146,830 722,551 781,905 781,905 0 6,262

31,636 755,130 164,043 783,347 857,892 857,892 0 6,610

40,159 830,247 184,051 841,407 913,893 913,893 0 6,882

46,545 49,915 921,924 996,163 197,448 205,471 889,518 942,607 978,561 1,043,191 978,561 1,043,191 0 0 7,900 7,628

สัดสวนผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของ SMEs ณ ราคาประจำป ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (รอยละ) SMEs 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 - การเหมืองแร - การผลิต - การกอสราง - การคาและการซอมบำรุง - การบริการ การบริการภาคเอกชน การบริการภาครัฐ - ไฟฟา แกส และน้ำประปา

1.0 26.3 6.2 32.3 33.9 33.9 0.0 0.3

1.4 29.5 6.5 29.9 32.5 32.5 0.0 0.2

1.5 30.3 6.5 29.2 32.2 32.2 0.0 0.3

1.5 30.7 6.3 29.1 32.2 32.2 0.0 0.2

อัตราการขยายตัวผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของ SMEs ณ ราคาคงที่ (รอยละ) SMEs 4.1 4.6 7.6 4.9

5.5

4.2

- การเหมืองแร - การผลิต - การกอสราง - การคาและการซอมบำรุง - การบริการ การบริการภาคเอกชน การบริการภาครัฐ - ไฟฟา แกส และน้ำประปา

4.2 5.9 4.3 3.9 6.5 6.5 4.8

3.5 5.8 2.1 3.2 3.8 3.8 4.7

-

1.2 26.9 6.3 31.2 34.2 34.2 0.0 0.3 26.0 6.4 3.4 1.5 4.1 4.1 -4.7

1.1 28.8 6.2 30.5 33.0 33.0 0.0 0.3 -4.6 11.3 0.8 1.7 2.3 2.3 0.4

1.2 29.1 6.3 30.1 33.0 33.0 0.0 0.3 9.5 10.1 5.5 4.5 8.3 8.3 1.7

9.0 5.2 5.7 4.4 4.7 4.7 5.3

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 9

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 1.5 แสดงโครงสรางมูลคา GDP ของ SMEs เมื่อเปรียบเทียบกับ ภาพที่ 1.3 ซึ่งแสดงโครงสรางมูลคา GDP ของประเทศ พบวา เมื่อพิจารณาเฉพาะโครงสราง GDP ของ SMEs นั้น ภาคการบริการเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีความสำคัญสูงสุด รองลงมา ไดแก ภาคการผลิต และภาคการคาและการซอมบำรุงเปนลำดับสาม ในขณะที่ภาพรวม ของประเทศนั้น ภาคการผลิตถือเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุด นอกจากนั้นบทบาทของภาคการคาและการซอมบำรุงในภาคเศรษฐกิจของ SMEs ถือเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีความสำคัญไมยิ่งหยอนไปกวาภาคการผลิต กลาวคือ มีสัดสวนตอ GDP ของ SMEs ในสัดสวนประมาณรอยละ 30.0 ใกลเคียงกัน ซึ่งโครงสราง ดังกลาวมีความแตกตางอยางสิน้ เชิงกับโครงสราง GDP ของประเทศ ซึง่ ภาคการคาและการ ซอมบำรุงมีสัดสวนประมาณรอยละ 15.0 เทานั้น ดังนั้นกลาวไดวา ในภาคการคาและ การซอมบำรุงนั้น ผูประกอบการสวนใหญซึ่งมีบทบาทในการสรางมูลคาเพิ่มเปนวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม ในขณะที่ในภาคการผลิตนั้น ผูประกอบการรายใหญมีบทบาท ในการสรางมูลคาเพิ่มสูงกวา SMEs และในภาคการบริการ พบวา บทบาทของวิสาหกิจ ขนาดใหญและ SMEs มีบทบาทใกลเคียงกัน ภาพที่ 1.5 โครงสราง GDP ของ SMEs จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ป 2545 - 2550

รอยละ

โครงสราง GDP ของ SMEs จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ป 2545 - 2550 100.0 80.0 60.0 40.0 20.0 0.0

0.3

0.3

0.3

0.2

0.3

0.2

34.2

33.0

33.0

32.4

32.2

30.7

31.2 6.3 26.9 1.2 2545

30.5 6.2 28.8 1.1 2546

30.1 6.3 29.1 1.2 2547

29.9 6.5 29.5 1.4 2548

29.2 6.5 30.3 1.5 2549

29.0 6.3 30.7 1.5 2550

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 10 SMEs

ไ า แกส ไฟฟ และน้ำประปา การบริการ การคาและ การซอมบำรุง การกอสราง การผลิต การเหมืองแร

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

เมือ่ พิจารณาแนวโนมของสัดสวน และการขยายตัว GDP ของ SMEs ในกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตางๆ ในภาคการผลิตมีอัตราการขยายตัวคอนขางทรงตัวในชวง 3 ปลาสุด โดยมีอตั ราการขยายตัวเฉลีย่ ในชวง 3 ปลา สุดประมาณรอยละ 5.6 เชนเดียวกับแนวโนมของ สัดสวนตอมูลคา GDP รวมซึง่ เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยมีสดั สวนตอ GDP รวมเฉลีย่ ในชวง 3 ปลาสุดประมาณรอยละ 30.5 ในภาคการบริการ มีแนวโนมอัตราการขยายตัวลดลงอยางตอเนือ่ งในชวง 3 ปลา สุด ซึ่งสงผลใหสัดสวน GDP ของภาคการบริการตอมูลคา GDP ของ SMEs รวมอยูที่ ประมาณรอยละ 30.0 - 31.0 ในชวง 3 ปลา สุด ในภาคการคาและการซอมบำรุง มีแนวโนม ของการชะลอตัวมาโดยตลอดเชนเดียวกัน เมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัว พบวา ภาคการคาและการซอมบำรุงมีอัตราการขยายตัวลดลงอยางตอเนื่องเชนเดียวกัน ซึ่งเมื่อ เทียบกับอัตราการขยายตัวของภาคการผลิตและภาคการบริการจะนอยกวาอยางตอเนื่อง จึ ง ทำให บ ทบาทของภาคการค า และการซ อ มบำรุ ง ในด า นมู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวม ในประเทศลดนอยลงโดยตลอด จากภาพที่ 1.6 เห็นไดวา แนวโนมสัดสวนของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจทีส่ ำคัญในชวง 2 ปลา สุดนัน้ (ป 2549 และ 2550) บทบาทของภาคการคาและการ ซอมบำรุงเริ่มถดถอยลง ซึ่งสวนทางกับบทบาทของภาคการผลิตที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และมีแนวโนมที่ภาคการผลิตจะเพิ่มบทบาทไปใกลเคียงกับภาคการบริการในอนาคต เชนเดียวกัน ดังนัน้ หากภาครัฐสามารถสนับสนุนให SMEs ในภาคการคาและการซอมบำรุง สามารถรักษาระดับการเติบโตไดอยางตอเนื่องนั้น จะสงผลบวกตอการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศเปนอันมาก

สัดสวนมูลคา GDP (รอยละ)

ภาพที่ 1.6 แนวโนมสัดสวนมูลคา GDP ของ SMEs จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่สำคัญ ป 2545 - 2550 35.0 34.0 33.0 32.0 31.0 30.0 29.0 28.0 27.0 26.0

การบริการ การคาและ การซอมบำรุง การผลิต 2545

2546

2547

2548

2549

2550

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 11

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

1.2 ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศจำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่สำคัญ 1.2.1 ภาคการผลิต ภาพรวมของประเทศ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศในภาคการผลิตในป 2550 มีมูลคารวมเทากับ 2,960,136.0 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 34.9 ของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมใน ประเทศซึ่งลดลงเล็กนอยจากรอยละ 35.1 ในป 2549 เมื่อพิจารณามูลคา GDP ตามขนาด วิสาหกิจ พบวา มูลคา GDP ในภาคการผลิตเกิดจากวิสาหกิจขนาดใหญและอื่นๆ 1,963,973.3 ลานบาท คิดเปนรอยละ 66.4 ขณะที่มูลคาที่เกิดจาก SMEs เทากับ 996,162.8 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 33.7 โดยเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจขนาดยอม (SE) เทากับ 403,273.6 ลานบาท หรือรอยละ 13.6 และวิสาหกิจขนาดกลาง (ME) เทากับ 592,889.1 ลานบาทหรือสัดสวนรอยละ 20.0 โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 1.5 และภาพที่ 1.7 ตารางที่ 1.5 การกระจายตัวของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศภาคการผลิต ป 2544 - 2550 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (ลานบาท) รวมทัง้ ประเทศ ภาคการผลิต

5,133,501.0 5,450,642.0 5,928,974.0 6,503,487.0 7,104,228.0 7,816,474.0 8,485,200.0 1,715,925.0 1,836,082.0 2,063,241.0 2,243,897.0 2,467,112.0 2,739,534.0 2,960,136.0

- SMEs วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง - วิสาหกิจขนาดใหญและอืน่ ๆ

568,458.9 247,407.7 321,051.7 1,147,466.1

604,305.6 255,892.3 348,413.3 1,231,776.4

682,640.3 289,680.5 392,959.8 1,380,600.7

755,129.7 305,696.9 449,432.8 1,488,767.3

830,247.4 336,106.6 494,140.8 1,636,864.7

921,924.4 373,220.0 548,704.8 1,817,609.6

996,162.8 403,273.6 592,889.1 1,963,973.3

34.5

34.7

35.1

34.9

33.7 13.6 20.0 66.4

33.7 13.6 20.0 66.4

33.7 13.6 20.0 66.4

สัดสวน GDP สาขาการผลิตตอ GDP ประเทศ (รอยละ) 33.4

33.7

34.8

สัดสวน GDP ของวิสาหกิจขนาดตางๆ ใน GDP ภาคการผลิต (รอยละ) - SMEs วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง - วิสาหกิจขนาดใหญและอืน่ ๆ

33.1 14.4 18.7 66.9

32.9 13.9 19.0 67.1

33.1 14.0 19.1 66.9

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 1 - 12 SMEs

33.7 13.6 20.0 66.4

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ภาพที่ 1.7 โครงสราง GDP ภาคการผลิต จำแนกตามขนาดวิสาหกิจป 2550 มูลคา GDP ของภาคการผลิตเทากับ 2,960, 136.0 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 34.9 ของประเทศ SE 403,273.6 ลบ. 13.6% ME 592,889.1 ลบ. 20.0% LE 1,963,973.3 ลบ. 66.4%

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 1.8 โครงสราง GDP ภาคการผลิต จำแนกตามหมวดธุรกิจป 2550 สัดสวนอุตสาหกรรมที่มีมูลคา GDP สูงสุด 10 อันดับ มูลคา 2,221,432.1 ลบ. หรือรอยละ 75.0 ของ GDP ภาคการผลิต 9. เครื่องจักรและอุปกรณ 10. ผลิตภัณฑจากแรและอโลหะ 8. เครื่องจักรสำนักงาน 4.6% 4.4% 5.1% 7. สิ่งทอ สิ่งถัก 5.4% 1. อาหารและเครื่องดื่ม 17.2% 6. โทรทัศน และการสื่อสาร 6.3% 5. เคมี 2. รถพวงและรถกึ่งพวง 6.3% 10.3% 4. เครื่องเรือน 3. เครื อ ่ งแต ง กาย 7.6% 7.7% ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 13

1 - 14 SMEs

ขนาดกลาง (ME)

13.6 403,273.6 100.0

20.0 592,889.1 100.0

340,755.7 297,739.5 148,116.3 96,971.8 64,222.6 165,591.7 110,450.9 142,528.1 74,060.7 95,010.9 71,490.6 69,589.5 49,007.0 48,906.0 40,662.8 50,673.3 22,145.2 27,199.8 14,682.8 25,482.6 4,866.2 3,819.2

มูลคา (ลานบาท)

สัดสวน ตอทัง้ หมด (รอยละ) 17.4 15.2 7.5 4.9 3.3 8.4 5.6 7.3 3.8 4.8 3.6 3.5 2.5 2.5 2.1 2.6 1.1 1.4 0.7 1.3 0.2 0.2

ขนาดใหญ (LE) วน มูลคา ตอสัทัดง้สหมด (ลานบาท) (รอยละ) 510,281.5 17.2 306,094.0 10.3 226,562.4 7.7 226,390.8 7.6 186,631.7 6.3 186,594.8 6.3 160,710.8 5.4 151,330.1 5.1 136,067.0 4.6 130,769.1 4.4 125,683.6 4.2 124,996.3 4.2 93,731.4 3.2 88,386.0 3.0 53,129.2 1.8 51,204.5 1.7 50,417.0 1.7 45,725.9 1.5 36,346.4 1.2 31,746.4 1.1 24,171.6 0.8 13,165.6 0.4

รวม

66.3 1,963,973.2 100.0 2,960,136.0 100.0

วน สัดสวน มูลคา ตอสัทัดง้สหมด (ลานบาท) (รอยละ) ต(รออสาขา ยละ) 169,525.8 17.0 66.8 8,354.4 0.8 97.3 78,446.0 7.9 65.4 129,419.0 13.0 42.8 122,409.1 12.3 34.4 21,003.0 2.1 88.7 50,259.9 5.0 68.7 8,802.0 0.9 94.2 62,006.2 6.2 54.4 35,758.2 3.6 72.7 54,193.0 5.4 56.9 55,406.8 5.6 55.7 44,724.4 4.5 52.3 39,480.1 4.0 55.3 12,466.5 1.3 76.5 531.2 0.1 99.0 28,271.8 2.8 43.9 18,526.1 1.9 59.5 21,663.6 2.2 40.4 6,263.8 0.6 80.3 19,305.4 1.9 20.1 9,346.3 0.9 29.0

SMEs

33.7 996,162.8 100.0

วน สัดสวน มูลคา สัดสวน สัดสวน มูลคา ตอสัทัดง้สหมด ตอทัง้ หมด ตอสาขา (ลานบาท) (รอยละ) ต(รออสาขา ยละ) (ลานบาท) (รอยละ) (รอยละ) 72,081.6 17.9 19.1 97,444.1 16.4 33.2 2,628.6 0.7 1.9 5,725.8 1.0 2.7 28,209.7 7.0 22.2 50,236.3 8.5 34.6 37,256.4 9.2 40.7 92,162.6 15.5 57.2 23,724.5 5.9 52.9 98,684.6 16.6 65.6 7,655.2 1.9 7.2 13,347.9 2.3 11.3 15,306.9 3.8 21.7 34,953.0 5.9 31.3 3,351.4 0.8 3.6 5,450.6 0.9 5.8 43,041.3 10.7 13.9 18,965.0 3.2 45.6 19,827.5 4.9 12.2 15,930.7 2.7 27.3 48,948.5 12.1 4.2 5,244.5 0.9 43.1 16,702.2 4.1 31.0 38,704.6 6.5 44.3 17,051.3 4.2 29.5 27,673.1 4.7 47.7 20,055.7 5.0 22.0 19,424.4 3.3 44.7 6,091.9 1.5 12.0 6,374.6 1.1 23.5 182.1 0.0 0.7 349.1 0.1 1.0 10,418.1 2.6 35.4 17,853.7 3.0 56.1 5,533.0 1.4 28.4 12,993.1 2.2 40.5 5,184.1 1.3 45.3 16,479.5 2.8 59.6 3,329.9 0.8 9.2 2,933.9 0.5 19.7 12,943.3 3.2 26.3 6,362.1 1.1 79.9 3,750.4 0.9 42.5 5,595.9 0.9 71.0

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม

สัดสวน ISIC สาขาอุตสาหกรรม ตอสาขา (รอยละ) 15 อาหารและเครือ่ งดืม่ 14.1 34 รถพวงและรถกึง่ พวง 0.9 18 เครือ่ งแตงกาย 12.5 36 เครือ่ งเรือนทีม่ ไิ ดจดั ไวในประเภทอืน่ 16.5 24 เคมี 12.7 32 โทรทัศนและการสือ่ สาร 4.1 17 สิง่ ทอ สิง่ ถัก 9.5 30 เครือ่ งจักรสำนักงาน 2.2 29 เครือ่ งจักรและอุปกรณ 31.6 26 ผลิตภัณฑจากแรอโลหะ 15.2 23 ปโตรเลียมและเชือ้ เพลิง 38.9 25 ยางและพลาสติก 13.4 19 ฟอกและตกแตงหนังสัตว 18.2 28 โลหะประดิษฐ 22.7 21 กระดาษและผลิตภัณฑ 11.5 16 ยาสูบ 0.4 31 เครือ่ งจักรและอุปกรณไฟฟา 20.7 35 อุปกรณการขนสง 12.1 27 โลหะขัน้ มูลฐาน 14.3 33 เครือ่ งมือทีใ่ ชทางการแพทย 10.5 22 การพิมพโฆษณา 53.5 20 ไมและผลิตภัณฑจากไม 28.5

ขนาดยอม (SE)

ตารางที่ 1.6 โครงสรางการกระจายตัวของ GDP ภาคการผลิต จำแนกตามสาขาอุตสาหกรรม (ISIC 2 หลัก) และขนาดวิสาหกิจ ป 2550 รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ตารางที่ 1.6 และภาพที่ 1.8 แสดงถึงมูลคา GDP ในภาคการผลิต จำแนกตามสาขา การผลิต (ISIC 2 หลัก) โดยเมื่อพิจารณาสาขาการผลิตพบวา สาขาการผลิตที่มีมูลคา การผลิตสูงสุด 5 ลำดับแรกไดแก สาขาอาหารและเครื่องดื่ม (ISIC 15) มีมูลคา 510,281.5 ลานบาท มีสดั สวนคิดเปนรอยละ 17.2 ของมูลคา GDP ในภาคการผลิตทัง้ หมด เมือ่ พิจารณา ตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาทีเ่ กิดจากวิสาหกิจขนาดใหญรอ ยละ 66.8 และเปน มูลคาที่เกิดจาก SMEs คิดเปนรอยละ 33.2 สาขาอุตสาหกรรมทีม่ คี วามสำคัญรองลงมา ไดแก สาขารถพวงและรถกึง่ พวง (ISIC 34) มีมูลคา 306,094.0 ลานบาท มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 10.3 ของมูลคา GDP ในภาค การผลิตทั้งหมด เมื่อพิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจ ขนาดใหญรอยละ 97.3 และเปนมูลคาที่เกิดจาก SMEs คิดเปนรอยละ 2.7 เทานั้น สาขาอุตสาหกรรมทีม่ คี วามสำคัญเปนอันดับสาม ไดแก สาขาเครือ่ งแตงกาย (ISIC 18) มีมูลคา 226,562.4 ลานบาท มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 7.7 ของมูลคา GDP ในภาค การผลิตทั้งหมด เมื่อพิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจ ขนาดใหญรอยละ 65.4 และเปนมูลคาที่เกิดจาก SMEs คิดเปนรอยละ 34.6 สาขาอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญลำดับสี่ ไดแก สาขาการผลิตเครื่องเรือนซึ่งมิได จัดไวในประเภทอื่น (ISIC 36) มีมูลคา 226,390.8 ลานบาท คิดเปนรอยละ 7.6 ของมูลคา GDP ในภาคการผลิตทั้งหมด เมื่อพิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาที่เกิด จากวิสาหกิจขนาดใหญรอยละ 42.8 และเปนมูลคาที่เกิดจาก SMEs คิดเปนรอยละ 57.2 และสาขาอุตสากรรมซึ่งมีมูลคาสูงเปนลำดับที่หา ไดแก สาขาเคมี มีมูลคา 186,631.7 ลานบาท เปนมูลคาซึง่ เกิดจากวิสาหกิจขนาดใหญรอ ยละ 34.4 เทานัน้ ขณะทีเ่ ปนมูลคาจาก SMEs ถึงรอยละ 65.6

SMEs 1 - 15

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพรวมของ SMEs จากภาพรวมของภาคการผลิตในตารางที่ 1.7 แสดงสาขาการผลิตที่ SMEs มีบทบาทสูง พบวา ในสาขาที่ SMEs มีบทบาทสูงมาก สวนมากเปนสาขาการผลิตที่ ใชแรงงาน หรือเปนสาขาการผลิต Resource based เชน สาขาการพิมพโฆษณา สาขา การผลิตไมและผลิตภัณฑจากไม อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาจากมูลคา GDP ในสาขา ดังกลาว เห็นไดวา มีสัดสวนตอมูลคา GDP รวมต่ำมาก โดยในสาขาการพิมพโฆษณานั้น SMEs มี สั ด ส ว นในสาขาสู ง ถึ ง ร อ ยละ 79.9 ต อ สาขา แต มี มู ล ค า GDP เพี ย ง 24,171.6 ลานบาทเทานั้น หรือในสาขาการผลิตไมและผลิตภัณฑจากไมซึ่ง SMEs มีบทบาทตอสาขานี้สูงถึงรอยละ 71.0 ขณะที่มูลคา GDP รวมของสาขานี้มีเพียง 13,165.6 ลานบาทเทานั้น ขณะทีเ่ มือ่ พิจารณาดานสาขาการผลิตที่ SMEs สามารถสราง GDP สูงนัน้ สวนมาก เปน SMEs ที่อยูในสาขาการผลิตประเภทใชเทคโนโลยีปานกลาง เชน สาขาเครื่องเรือน ที่มิไดจัดไวในประเภทอื่นซึ่ง SMEs มีบทบาทคิดเปนรอยละ 57.2 ตอมูลคา GDP ในสาขา และสาขาการผลิตเคมีซึ่ง SMEs มีบทบาทคิดเปนรอยละ 65.6 ซึ่งสองสาขาดังกลาวมีมูลคา GDP สูงเปนลำดับที่สี่และหาของมูลคา GDP ในภาคการผลิตรวมทั้งประเทศ สวนบทบาทของ SMEs ในสาขาการผลิตที่สำคัญหรือสาขาการผลิตที่เปนสันหลัง ของประเทศ เชน สาขาอาหารและเครือ่ งดืม่ สาขารถพวงและรถกึง่ พวง สาขาเครือ่ งแตงกาย สาขาสิ่งทอ สิ่งถัก นั้น บทบาทของ SMEs อยูที่ประมาณรอยละ 34.0 ของมูลคา GDP ในสาขา โดยในสาขาที่ใช Resource based เปนหลักหรือสาขาที่ใชแรงงานเขมขน เชน สาขาอาหารและเครื่องดื่ม พบวา SMEs มีบทบาทที่สูงกวา SMEs ในสาขาการผลิต ที่ใชเทคโนโลยีสูง เชน สาขาการผลิตรถพวง รถกึ่งพวงซึ่ง SMEs มีบทบาทเพียงรอยละ 2.7 เทานั้น

1 - 16 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ตารางที่ 1.7 สาขาการผลิตที่ SMEs มีบทบาทสูงสุดในป 2550

สาขาการผลิต การพิมพโฆษณา ไมและผลิตภัณฑจากไม เคมี โลหะขั้นมูลฐาน เครื่องเรือนที่มิไดจัดไวในประเภทอื่น เครื่องจักรและอุปกรณไฟฟา ฟอกและตกแตงหนังสัตว เครื่องจักรและอุปกรณ โลหะประดิษฐ ยางและพลาสติก ปโตรเลียมและเชื้อเพลิง อุปกรณการขนสง เครื่องแตงกาย อาหารและเครื่องดื่ม สิ่งทอ สิ่งถัก ผลิตภัณฑจากแรอโลหะ กระดาษและผลิตภัณฑ เครื่องมือที่ใชทางการแพทย โทรทัศนและการสื่อสาร เครื่องจักรสำนักงาน รถพวงและรถกึ่งพวง ยาสูบ

รวม

ทั้งหมด มูลคา (ลานบาท)

สัดสวน ตอสาขา (รอยละ)

24,171.6 13,165.6 186,631.7 36,346.4 226,390.9 50,417.0 93,731.4 136,067.0 88,386.0 124,996.3 125,683.6 45,725.9 226,562.4 510,281.5 160,710.8 130,769.1 53,129.2 31,746.4 186,594.8 151,330.1 306,094.0 51,204.5

2,960,136.0

79.9 71.0 65.6 59.6 57.2 56.1 47.7 45.6 44.7 44.3 43.1 40.5 34.6 33.2 31.3 27.3 23.5 19.7 11.3 5.8 2.7 1.0

SMEs วน มูลคา ตอสัทัด้งสหมด (ลานบาท) (รอยละ) 19,305.4 9,346.3 122,409.1 21,663.6 129,419.0 28,271.8 44,724.4 62,006.3 39,480.1 55,406.8 54,193.0 18,526.1 78,446.0 169,525.8 50,259.9 35,758.2 12,466.5 6,263.8 21,003.0 8,802.0 8,354.4 531.2

1.9 0.9 12.3 2.2 13.0 2.8 4.5 6.2 4.0 5.6 5.4 1.9 7.9 17.0 5.1 3.6 1.3 0.6 2.1 0.9 0.8 0.1

33.7 996,162.8

100.0

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 17

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

1.2.2 ภาคการคาและการซอมบำรุง ภาพรวมของประเทศ และ SMEs ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศในภาคการคาและการซอมบำรุงในป 2550 มีมูลคา รวมเทากับ 1,181,270.0 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 13.9 ของมูลคาผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศซึ่งลดลงเล็กนอยจากรอยละ 14.3 ในป 2549 เมื่อพิจารณามูลคา GDP ตามขนาดวิสาหกิจ พบวา มูลคา GDP ในภาคการคาและการซอมบำรุงเกิดจากวิสาหกิจ ขนาดใหญและอืน่ ๆ 238,663.1 ลานบาท คิดเปนรอยละ 20.2 ขณะทีม่ ลู คาทีเ่ กิดจาก SMEs เทากับ 942,606.9 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 79.8 โดยเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจ ขนาดยอม (SE) เทากับ 803,916.8 ลานบาท หรือรอยละ 68.1 และวิสาหกิจขนาดกลาง (ME) เทากับ 138,690.2 ลานบาท หรือสัดสวนรอยละ 11.7 โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 1.8 และภาพที่ 1.9 ตารางที่ 1.8 การกระจายตัวของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศภาคการคา และการซอมบำรุง ป 2544 - 2550 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (ลานบาท) รวมทัง้ ประเทศ 5,133,501.0 5,450,642.0 5,928,974.0 6,503,487.0 7,104,228.0 7,816,474.0 8,485,200.0 ภาคการคาและการซอมบำรุง 856,098.0 866,332.0 903,413.0 981,686.0 1,054,447.0 1,114,739.0 1,181,270.0 - SMEs วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง - วิสาหกิจขนาดใหญและอืน่ ๆ

697,563.1 595,805.0 101,758.2 158,534.9

701,013.7 598,617.9 102,395.8 165,318.3

722,551.1 614,441.1 108,110.0 180,861.9

783,346.8 668,089.3 115,257.5 198,339.2

841,407.2 717,607.0 123,800.2 213,039.8

889,517.8 758,638.9 130,878.9 225,221.2

942,606.9 803,916.8 138,690.2 238,663.1

14.8

14.3

13.9

79.8 68.1 11.7 20.2

79.8 68.1 11.7 20.2

สัดสวน GDP สาขาการคาและการซอมบำรุงตอ GDP ประเทศ (รอยละ) 16.7

15.9

15.2

15.1

สัดสวน GDP ของวิสาหกิจขนาดตางๆ ใน GDP ภาคการคาและการซอมบำรุง (รอยละ) - SMEs วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง - วิสาหกิจขนาดใหญและอืน่ ๆ

81.5 69.6 11.9 18.5

80.9 69.1 11.8 19.1

80.0 68.0 12.0 20.0

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 18 SMEs

79.8 68.1 11.7 20.2

79.8 68.1 11.7 20.2

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ภาพที่ 1.9 โครงสราง GDP ภาคการคาและการซอมบำรุง จำแนกตามขนาด วิสาหกิจ ป 2550 มูลคา GDP ของภาคการคาและการซอมบำรุงเทากับ 1,181,270.0 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 13.9 ของประเทศ LE 238,663.1 ลบ.บ. 20.2% ME 138,690.2 ลบ. 11.7%

SE 803,916.8 ลบ. 68.1%

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 1.10 โครงสราง GDP ภาคการคาและการซอมบำรุง จำแนกตามหมวด ธุรกิจ ป 2550 มูลคา GDP ของภาคการคาสงและคาปลีกการซอมบำรุง 1,180,270.0 ลานบาท กา อมบำรุง การซ 933,019.3 ลบ. 93,019.3 7.9% การคาสงและคาปลีก 1,088.250.7 ลบ. 92.1%

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ ฒนาการเศรษฐกิ ฐ จและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 19

1 - 20 SMEs 89.4 10.6

68.1 803,916.8 100.0

66.1 719,030.0 91.3 84,886.8

95.2 4.8

11.7 138,690.2 100.0

12.1 132,008.5 7.2 6,681.7

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม

การคาสงและคาปลีก การซอมบำรุง

สาขาการคา 90.3 9.7

79.8 942,606.9 100.0

78.2 851,038.4 98.4 91,568.5

237,212.3 1,450.8

99.4 1,088,250.7 0.6 93,019.3

92.1 7.9

20.2 238,663.1 100.0 1,181,270.0 100.0

21.8 1.6

ขนาดกลาง (ME) SMEs ขนาดใหญ (LE) รวม สัดสวน ลคา สัดสวน สัดสวน มูลคา สัดสวน สัดสวน มูลคา สัดสวน สัดสวน มูลคา สัดสวน มูลคา สัดสวน ตอสาขา (ลามูนบาท) ตอทัง้ หมด ตอสาขา (ลานบาท) ตอทัง้ หมด ตอสาขา (ลานบาท) ตอทัง้ หมด ตอสาขา (ลานบาท) ตอทัง้ หมด (ลานบาท) ตอทัง้ หมด (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)

ขนาดยอม (SE)

ตารางที่ 1.9 โครงสรางการกระจายตัวของ GDP ภาคการคาและการซอมบำรุง ป 2550

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ตารางที่ 1.9 และภาพที่ 1.10 แสดงถึงมูลคา GDP ในภาคการคาและการซอมบำรุง จำแนกตามสาขา (ISIC 2 หลัก) โดยเมื่อพิจารณาสาขาการคาและการซอมบำรุง พบวา ในสาขานี้มีกิจกรรมที่สำคัญเพียง 2 สาขาเทานั้น คือ สาขาการคาสงและคาปลีก และสาขาการซอมบำรุง โดยสาขาการคาสงและคาปลีกมีบทบาทสูงที่สุดคือ มีมูลคา GDP 1,088,250.7 คิดเปนสัดสวนรอยละ 92.1 ของมูลคา GDP รวมในสาขานี้ และเมื่อ พิจารณาตามขนาดวิสาหกิจ พบวา SMEs มีบทบาทสูงมากในสาขานี้ คิดเปนรอยละ 78.2 มีมูลคาเทากับ 851,038.4 ลานบาท ขณะที่วิสาหกิจขนาดใหญมีสัดสวนเพียงรอยละ 21.8 มีมูลคาเทากับ 237,212.3 ลานบาท สวนภาคการซอมบำรุงมีมลู คา GDP เทากับ 93,019.3 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวน รอยละ 7.9 โดยเมื่อพิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวา รอยละ 98.4 เปนมูลคา ทีเ่ กิดจาก SMEs คิดเปนมูลคาเทากับ 91,568.5 ลานบาท สวนทีเ่ หลืออีกรอยละ 1.6 หรือมี มูลคาเทากับ 1,450.8 ลานบาท ดังนั้นสามารถสรุปไดวา SMEs มีบทบาทสูงมากในภาคการคาและการซอมบำรุง ในทุกสาขากิจกรรม โดยมีบทบาทคิดเปนรอยละ 79.8 ของมูลคา GDP ในสาขาการคา และการซอมบำรุง อยางไรก็ตามหากพิจารณาในดานการเจริญเติบโตของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจนี้ พบวา อัตราการขยายตัวมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องมาโดยตลอด ดังนั้น การรักษาอัตราการเจริญเติบโตในสาขานี้ใหไมลดลงกวาเดิม และแสวงหาแนวทางเพื่อ พัฒนาภาคการคาและการซอมบำรุงใหเปนอีกหนึ่ง Engine of Growth ของประเทศ จะชวยสงผลดีตอ ภาพรวมของประเทศ รวมทัง้ สงผลดีตอ SMEs ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจนี้ ดวย

SMEs 1 - 21

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

1.2.3 ภาคการบริการ ภาพรวมของประเทศ ผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมในประเทศในภาคการบริ ก าร (เอกชน) ในป 2550 มี มู ล ค า รวมเท า กั บ 2,224,957.0 ล า นบาท หรื อ คิ ด เป น สั ด ส ว นร อ ยละ 26.2 ของ มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมในประเทศ ซึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น จากร อ ยละ 26.0 ในป 2549 เมื่อพิจารณามูลคา GDP ตามขนาดวิสาหกิจ พบวา มูลคา GDP ในภาคการบริการ (เอกชน) จากวิสาหกิจขนาดใหญและอื่นๆ 1,181,765.8 ลานบาท คิดเปนรอยละ 53.1 ขณะที่มูลคาที่เกิดจาก SMEs เทากับ 1,043,191.2 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 46.9 โดยเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจขนาดยอม (SE) เทากับ 811,831.4 ลานบาท หรือ รอยละ 36.5 และวิสาหกิจขนาดกลาง (ME) เทากับ 231,359.8 ลานบาท หรือสัดสวนรอยละ 10.4 โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 1.10 และภาพที่ 1.11 ตารางที่ 1.10 การกระจายตัวของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ภาคการบริการเอกชน ป 2544 - 2550 2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (ลานบาท) รวมทัง้ ประเทศ ภาคการบริการเอกชน - SMEs วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง - วิสาหกิจขนาดใหญและอืน่ ๆ

5,133,501.0 5,450,642.0 5,928,974.0 6,503,487.0 7,104,228.0 7,816,474.0 8,485,200.0 1,423,004.0 1,512,023.0 1,571,715.0 1,743,003.0 1,890,878.0 2,028,774.0 2,224,957.0 732,549.2 554,578.9 177,970.4 690,454.8

768,854.7 590,388.0 178,466.7 743,168.3

781,905.2 603,537.8 178,367.3 789,809.8

857,892.0 668,756.5 189,135.5 885,111.0

913,893.5 710,886.4 203,007.1 976,984.5

978,561.1 761,905.4 216,655.7 1,050,212.9

1,043,191.2 811,831.4 231,359.8 1,181,765.8

26.8

26.6

26.0

26.2

48.3 37.6 10.7 51.7

48.2 37.6 10.7 51.8

46.9 36.5 10.4 53.1

สัดสวน GDP สาขาการบริการตอ GDP ประเทศ (รอยละ) 27.7

27.7

26.5

สัดสวน GDP ของวิสาหกิจขนาดตางๆ ใน GDP ภาคการบริการ (รอยละ) - SMEs วิสาหกิจขนาดยอม วิสาหกิจขนาดกลาง - วิสาหกิจขนาดใหญและอืน่ ๆ

51.5 39.0 12.5 48.5

50.9 39.1 11.8 49.2

49.8 38.4 11.4 50.3

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 22 SMEs

49.2 38.4 10.9 50.8

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ภาพที่ 1.11 โครงสราง GDP ภาคการบริการ จำแนกตามขนาดวิสาหกิจ ป 2550 มูลคา GDP ของภาคบริการเทากับ 2,224,957.0 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 26.2 ของประเทศ

SE 811,831.4 ลบ. 36.5%

LE 1,181,765.8 ลบ. 53.1%

MEE 231 231,359.8 ลบ. 10.4% ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 1.12 โครงสราง GDP ภาคการบริการ จำแนกตามหมวดธุรกิจ ป 2550 มูลคา GDP ของภาคการบริการ 2,224,957.0 ลานบาท ข 5. อสังหาริมทรัพย 6. บริการสาธารณสุ 7.6% 7. ธุรกิจสันทนาการ 9.6% 5.5% 4. บริการการเงิน 8. บริการแมบาน 13.8% 0.4% 1. สือ่ สาร และการขนสง 27.7%

3. บริการการศึกษา 16.6% 2. โรงแรมและภัตตาคาร 18.7% ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 23

1 - 24 SMEs

36.5 811,831.4 100.0

15.8 43.4 3.0 6.4 21.4 1.3 7.6 1.1

43.7 15.1 3.8 8.1 14.3 4.0 11.1 -

10.4 231,359.8 100.0

16.4 101,177.2 8.4 34,856.0 2.4 8,669.0 6.1 18,687.3 15.4 32,971.7 5.5 9,354.7 20.9 25,643.9 -

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม

สื่อสารและการขนสง 20.8 128,465.2 โรงแรมและภัตตาคาร 84.6 352,385.7 บริการการศึกษา 6.5 23,912.8 บริการการเงิน 16.9 51,547.5 อสังหาริมทรัพย 81.1 173,799.9 บริการสาธารณสุข 6.2 10,480.4 ธุรกิจสันทนาการ 50.5 62,022.8 บริการแมบาน 100.0 9,217.0

22.0 37.1 3.1 6.7 19.8 1.9 8.4 0.9

46.9 1,043,191.2 100.0

37.3 229,642.5 93.0 387,241.7 8.8 32,581.8 23.0 70,234.8 96.5 206,771.6 11.7 19,835.1 71.4 87,666.7 100.0 9,217.0

386,866.5 29,308.3 336,956.2 235,772.2 7,537.4 150,276.9 35,048.3 -

32.7 2.5 28.5 20.0 0.6 12.7 3.0 -

616,509.0 416,550.0 369,538.0 306,007.0 214,309.0 170,112.0 122,715.0 9,217.0

27.7 18.7 16.6 13.8 9.6 7.7 5.5 0.4

53.1 1,181,765.8 100.0 2,224,957.0 100.0

62.8 7.0 91.2 77.1 3.5 88.3 28.6 -

ขนาดยอม (SE) ขนาดกลาง (ME) SMEs ขนาดใหญ (LE) รวม สวน มูลคา สัดสวน สัดสวน มูลคา สัดสวน สัดสวน มูลคา สัดสวน สัดสวน มูลคา สัดสวน มูลคา สัดสวน สาขาการบริการ ตสัอดสาขา ตอทัง้ หมด ตอสาขา ตอทัง้ หมด ตอสาขา ตอทัง้ หมด ตอสาขา ตอทัง้ หมด ตอทัง้ หมด (รอยละ) (ลานบาท) (รอยละ) (รอยละ) (ลานบาท) (รอยละ) (รอยละ) (ลานบาท) (รอยละ) (รอยละ) (ลานบาท) (รอยละ) (ลานบาท) (รอยละ)

ตารางที่ 1.11 โครงสรางการกระจายตัวของ GDP ภาคการบริการ ป 2550

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ตารางที่ 1.11 และภาพที่ 1.12 แสดงถึงมูลคา GDP ในภาคการบริการ จำแนกตาม สาขาการผลิต (ISIC 2 หลัก) โดยเมื่อพิจารณาสาขาการบริการ พบวา สาขาการบริการ ที่มีมูลคาการผลิตสูงสุด 5 ลำดับแรกไดแก สื่อสารและการขนสง มีมูลคา 616,509.0 ลานบาท มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 27.7 ของมูลคา GDP ในภาคการบริการทั้งหมด เมื่อพิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจขนาดใหญรอยละ 62.8 และเปนมูลคาที่เกิดจาก SMEs คิดเปนรอยละ 37.3 สาขาการบริการทีม่ คี วามสำคัญรองลงมา ไดแก สาขาโรงแรมและภัตตาคาร มีมลู คา 416,550.0 ลานบาท มีสดั สวนคิดเปนรอยละ 18.7 ของมูลคา GDP ในภาคการบริการทัง้ หมด เมื่อพิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจขนาดใหญเพียง รอยละ 7.0 และเปนมูลคาที่เกิดจาก SMEs สูงถึงรอยละ 93.0 สาขาการบริการที่มีความสำคัญเปนอันดับสาม ไดแก สาขาบริการการศึกษา มีมูลคา 369,538.0 ลานบาท มีสัดสวนคิดเปนรอยละ 16.6 ของมูลคา GDP ในภาค การบริการทัง้ หมด เมือ่ พิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาทีเ่ กิดจากวิสาหกิจ ขนาดใหญสูงถึงรอยละ 91.2 และเปนมูลคาที่เกิดจาก SMEs คิดเปนรอยละ 8.8 สาขาการบริการที่มีความสำคัญลำดับสี่ ไดแก สาขาบริการการเงิน มีมูลคา 306,007.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 13.8 ของมูลคา GDP ในภาคการบริการทั้งหมด เมื่อพิจารณาตามขนาดของวิสาหกิจ พบวาเปนมูลคาที่เกิดจากวิสาหกิจขนาดใหญรอยละ 77.1 และเปนมูลคาที่เกิดจาก SMEs คิดเปนรอยละ 23.0 และสาขาการบริการซึ่งมีมูลคา สูงเปนลำดับที่หา ไดแก สาขาอสังหาริมทรัพย มีมูลคา 214,309.0 ลานบาท เปนมูลคา ซึ่งเกิดจากวิสาหกิจขนาดใหญรอยละ 3.5 เทานั้น ขณะที่เปนมูลคาจาก SMEs ถึง รอยละ 96.5

SMEs 1 - 25

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพรวมของ SMEs จากตารางที่ 1.12 แสดงสาขาการบริการที่ SMEs มีบทบาทสูงสุดในป 2550 พบวา SMEs มีบทบาทคิดเปนรอยละ 100.0 ในสาขาการบริการแมบาน อยางไรก็ตามในสาขานี้ มีมูลคา GDP เพียง 9,217.0 ลานบาท หรือรอยละ 0.9 ของมูลคา GDP ทั้งหมดเทานั้น ในสาขาการบริการซึ่งเปนสาขาที่สำคัญหรือแหลงรายไดสำคัญของประเทศ เชน ธุรกิจโรงแรมและภัตตาคาร และธุรกิจสันทนาการ พบวา SMEs มีบทบาทสูงมากใน 2 ธุรกิจดังกลาว โดยในธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารนั้น SMEs มีบทบาทสูงรอยละ 93.0 ขณะที่ในธุรกิจสันทนาการ SMEs มีบทบาทสูงเชนเดียวกัน โดยมีสัดสวนคิดเปนรอยละ 71.4 ขณะที่ ใ นสาขาสื่ อ สารและการขนส ง ซึ่ ง เป น สาขาที่ มี มู ล ค า GDP สู ง สุ ด ในภาคการบริการนั้น SMEs มีบทบาทคิดเปนรอยละ 37.3 มีมูลคา 229,642.5 ลานบาท อยางไรก็ตามแมวาในสาขานี้ SMEs จะมีบทบาทนอยแตเมื่อพิจารณาในโครงสราง GDP ของ SMEs ในภาคการบริการเองแลว พบวา มูลคา GDP ของ SMEs ในธุรกิจสื่อสารและ การขนสงมีสัดสวนสูงเปนลำดับสองรองจากธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารเทานั้น เปนที่ นาสังเกตวาในธุรกิจการสื่อสารและการขนสง บทบาทหลักของ SMEs เปนการใหบริการ ขนสงสินคาหรือขนสงคนเทานั้น ขณะที่การใหบริการประเภทสื่อสารเปนบทบาทของ วิสาหกิจรายใหญซึ่งมีจำนวนเพียงไมกี่รายเทานั้น

1 - 26 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ตารางที่ 1.12 สาขาการบริการที่ SMEs มีบทบาทสูงสุดในป 2550

สาขาการบริการ

วิสาหกิจ ทั้งหมด มูลคา (ลานบาท)

บริการแมบาน อสังหาริมทรัพย โรงแรมและภัตตาคาร ธุรกิจสันทนาการ สื่อสารและการขนสง บริการการเงิน บริการสาธารณสุข บริการการศึกษา

9,217.0 214,309.0 416,550.0 122,715.0 616,509.0 306,007.0 170,112.0 369,538.0

รวม

2,224,957.0

SMEs สัดสวน ตอสาขา (รอยละ) 100.0 96.5 93.0 71.4 37.3 23.0 11.7 8.8

วน มูลคา ตอสัทัด้งสหมด (ลานบาท) (รอยละ) 9,217.0 206,771.6 387,241.7 87,666.7 229,642.5 70,234.8 19,835.1 32,581.8

0.9 19.8 37.1 8.4 22.0 6.7 1.9 3.1

46.9 1,043,191.2

100.0

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 27

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

1.3 ความสัมพันธระหวางผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ จำนวนวิสาหกิจ และการจางงาน ของ SMEs ในสวนนี้จะวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ จำนวนวิสาหกิจ และการจางงานของ SMEs ตัง้ แตป 2547 - 2550 พบวา แนวโนมการขยายตัว ของจำนวนและการจางงานของ SMEs มีอัตราการขยายตัวในระดับที่ใกลเคียงกันนับตั้งแต ป 2547 เปนตนมา แตอตั ราการขยายตัวของจำนวนวิสาหกิจ SMEs อยูใ นระดับทีส่ งู กวาอัตรา การเพิ่มขึ้นของจำนวนการจางงานตลอดชวงเวลาที่พิจารณา สวนอัตราการขยายตัว ของมูลคา GDP นั้น พบวา อัตราการขยายตัวของมูลคา GDP ณ ราคาตลาด และราคาป 1988 นัน้ อัตราการขยายตัวยังคงเพิม่ ขึน้ แตมแี นวโนมชะลอตัวลง (ตารางที่ 1.13 และภาพที่ 1.13) ตารางที่ 1.13 เปรียบเทียบจำนวน การจางงาน และ GDP ของ SMEs ป 2547 - 2550

จำนวน (ราย) การจางงาน (คน) GDP (ราคาตลาด) GDP (1988)

2547

2548

2549

2550

2,199,132 8,357,493 2,598,657 1,486,269

2,239,069 8,458,160 2,816,641 1,558,479

2,289,796 8,637,126 3,041,896 1,643,672

2,366,227 8,900,567 3,244,974 1,712,419

2.3 2.1 8.0 5.5

3.3 3.1 6.7 4.2

104.1 103.4 117.1 110.6

107.6 106.5 124.9 115.2

อัตราการขยายตัว (รอยละ) จำนวน (ราย) การจางงาน (คน) GDP ณ ราคาตลาด GDP ณ ราคาป 1988

-

1.8 1.2 8.4 4.9

ดัชนี (ปฐาน = 2547) จำนวน (ราย) การจางงาน (คน) GDP ณ ราคาตลาด GDP ณ ราคาป 1988

100.0 100.0 100.0 100.0

101.8 101.2 108.4 104.9

ที่มา : สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, สำนักงานประกันสังคม และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 28 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ภาพที่ 1.13 เปรียบเทียบจำนวน การจางงาน และ GDP ของ SMEs ป 2547 - 2550 เปรียบเทียบจำนวนการจางงาน และ GDP ของ SMEs ราย, คน

ลานบาท

10,000,000

3,500,000 3,000,000 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 -

3,244,974

3,041,896 2,816,641

8,000,000 2,598,657

8,900,567

2,366,227

8,637,126

2,289,796

8,458,160

2,239,069

8,357,493

4,000,000

2,199,132

6,000,000

2,000,000 -

2547

2548 จำนวน

2549 การจางงาน

2550 GDP

ที่มา : สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, สำนักงานประกันสังคมและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหวางอัตราการขยายตัวของ จำนวน การจางงานและ มูลคา GDP ของ SMEs โดยจัดทำเปนดัชนีเปรียบเทียบซึ่งกำหนดใหปฐาน คือ ป 2547 เพื่อเปรียบเทียบทิศทางและขนาดการขยายตัว พบวา แมการขยายตัวของจำนวนและการ จางงานจะมีขนาดการขยายตัวอยางไมหวือหวา แตทวามีทิศทางการขยายตัวแบบเรง ตัวสูงขึ้น ซึ่งแตกตางจากการขยายตัวของมูลคา GDP ที่มีขนาดการขยายตัวมาก แตใน ป 2550 เริ่มมีสัญญาณของการชะลอตัวลงบางทั้งรูปของ GDP ณ ราคาตลาด และ GDP ณ ราคาป 1988 (ภาพที่ 1.14)

SMEs 1 - 29

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ดังนั้น การนำมูลคา GDP จำนวนวิสาหกิจ และการจางงาน มาวิเคราะหรวมกัน นอกจากจะสะทอนทิศทางและแนวโนมแลว ยังสามารถนำมาวิเคราะหเปรียบเทียบใน เชิงมูลคา GDP ตอจำนวนวิสาหกิจ และมูลคา GDP ตอจำนวนการจางงาน ไดเชนกัน ภาพที่ 1.14 ดัชนีเปรียบเทียบ จำนวน การจางงาน GDP ของ SMEs (ปฐาน = 2547) 130 125 120 115 110 105 100 95 จำนวน (ราย)

2547

2548 การจางงาน (คน)

2549 GDP ณ ราคาตลาด

2550 GDP ณ ราคาป 1988

ที่มา : สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, สำนักงานประกันสังคมและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1.3.1 ความสัมพันธระหวาง GDP กับจำนวนวิสาหกิจ และการจางงานของ SMEs เมื่อนำมูลคา GDP ของ SMEs มาวิเคราะหเปรียบเทียบกับจำนวนวิสาหกิจ และการจางงานที่เกิดจาก SMEs พบวา มูลคา GDP ของ SMEs มีความสัมพันธในทิศทาง เดียวกันกับทั้งจำนวนวิสาหกิจและการจางงานของ SMEs กลาวคือ เมื่อจำนวนวิสาหกิจ และจำนวนการจางงานเพิม่ ขึน้ จะสงผลใหมลู คา GDP เพิม่ ขึน้ ดวย แตมแี นวโนมชะลอตัวลง (ภาพที่ 1.15)

1 - 30 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

ภาพที่ 1.15 ความสัมพันธระหวางมูลคา GDP ของ SMEs กับจำนวนวิสาหกิจ และการจางงาน ป 2547 - 2550

ลานบาท

ความสัมพันธระหวางจำนวนและ GDP ของ SMEs ป 2547 - 2550 3,300,000 3,200,000 3,100,000 2549 3,000,000 2,900,000 2548 2,800,000 2,700,000 2547 2,600,000 2,500,000 2,150,000 2,200,000 2,250,000 2,300,000

2550

2,350,000

2,400,000

ราย

ลานบาท

ความสัมพันธระหวางการจางงานและ GDP ของ SMEs ป 2547 - 2550 3,300,000 3,200,000 2550 3,100,000 3,000,000 2549 2,900,000 2,800,000 2548 2,700,000 2,600,000 2547 2,500,000 8,300,000 8,400,000 8,500,000 8,600,000 8,700,000 8,800,000 8,900,000 9,000,000

คน ที่มา : สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, สำนักงานประกันสังคมและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 1 - 31

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

จากตารางที่ 1.14 แสดงการเปลีย่ นแปลงของมูลคา GDP จำนวน และการจางงาน ระหวางปที่พิจารณาและปกอนหนา และนำการเปลี่ยนแปลงดังกลาวมาคำนวณหาการ เปลี่ยนแปลงหนวยสุดทายของมูลคา GDP กับจำนวนสถานประกอบการ (a มูลคา GDP/ a จำนวน) และมูลคา GDP กับจำนวนการจางงาน (a มูลคา GDP/ a จำนวนการจางงาน) ซึง่ พบวา การเปลีย่ นแปลงหนวยสุดทายของมูลคา GDP ตอจำนวนสถานประกอบการสูงกวา การเปลี่ยนแปลงหนวยสุดทายของมูลคา GDP ตอจำนวนการจางงาน อยางไรก็ตามการ เปลี่ยนแปลงหนวยสุดทายของมูลคา GDP ตอจำนวนวิสาหกิจและการจางงานลดลง อยางตอเนือ่ ง อยางไรก็ตาม การเพิม่ ขึน้ ดังกลาวมีแนวโนมชะลอตัวลงอยางตอเนือ่ ง เนือ่ งจาก การเปลี่ยนแปลงของจำนวนวิสาหกิจหรือการจางงานมีขนาดที่สูงกวาการเปลี่ยนแปลง ของมูลคา GDP นั่นเอง การเปลีย่ นแปลงตอหนวยของมูลคา GDP เทียบกับจำนวนและการจางงานสามารถ สะทอนถึงผลิตภาพหนวยสุดทายของสถานประกอบการและผลิตภาพแรงงานไดเชนกัน ตารางที่ 1.14 อัตราการเปลี่ยนแปลงตอหนวยระหวางมูลคา GDP กับจำนวนวิสาหกิจ และการจางงาน 2548 จำนวน การจางงาน มูลคา GDP มูลคา GDP / มูลคา GDP /

จำนวน การจางงาน

39,937 100,667 217,984 5.46 2.17

2549 50,727 178,966 225,255 4.44 1.26

2550 76,431 263,441 203,079 2.66 0.77

ที่มา : สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, สำนักงานประกันสังคม และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 32 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

จากตารางที่ 1.15 และภาพที่ 1.16 แสดงมูลคา GDP และจำนวนวิสาหกิจของ SMEs และ มูลคา GDP ตอหนึ่งหนวยวิสาหกิจ จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ พบวา ในภาคการผลิตและภาคการบริการมีลักษณะคลายคลึงกัน คือ หนึ่งหนวยวิสาหกิจ สามารถสรางมูลคาเพิ่มไดมากกวา 1 เทา นับตั้งแตชวงที่พิจารณาเปนตนมา โดยในภาพ รวมภาคการบริการมีผลิตภาพตอหนวยวิสาหกิจสูงกวาภาคการผลิต ยกเวนในป 2550 ซึ่ง ภาคการผลิตมีคาดังกลาวสูงกวาเล็กนอย อยางไรก็ตามสถานการณในภาคการคาและการซอมบำรุงแตกตางไปจาก 2 ภาคเศรษฐกิจขางตน แมวาแนวโนมของผลิตภาพตอวิสาหกิจในภาคการคาจะเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องนับตั้งแตป 2547 เปนตนมา แตเมื่อพิจารณาในสัดสวนดังกลาว เห็นไดวา ผลิตภาพตอวิสาหกิจมีคา นอยกวา 1 แสดงใหเห็นถึงการทีป่ ระสิทธิภาพของวิสาหกิจในภาค การคาและการซอมบำรุงดอยกวาวิสาหกิจในภาคการผลิตและภาคการบริการโดยเปรียบเทียบ ซึง่ เมือ่ พิจารณาดานจำนวนวิสาหกิจนัน้ เห็นไดชดั เจนวา มีจำนวน SMEs อยูใ นภาคการคา และการซอมบำรุงสูงที่สุดเมื่อเทียบกับอีก 2 ภาคเศรษฐกิจที่เหลือ ดังนั้น การมีนโยบาย เรงดวนในการเพิ่มประสิทธิภาพและสรางโอกาสในการดำเนินธุรกิจใหกับวิสาหกิจในภาค การคาและการซอมบำรุงใหสงู ขึน้ ไมวา จะเปนดานการลดตนทุนหรือเพิม่ โอกาสในการแขงขัน เพือ่ ยกระดับและประสิทธิภาพของ SMEs ในภาคการคาและการซอมบำรุงใหมคี วามใกลเคียง กับ SMEs ในภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ไดนั้น จะสงผลใหภาคการคาและการซอมบำรุงเปนอีก หนึ่งภาคที่สำคัญซึ่งชวยสรางมูลคาเพิ่มใหกับระบบเศรษฐกิจของประเทศไดเพิ่มมากขึ้น

SMEs 1 - 33

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 1.15 เปรียบเทียบมูลคา GDP และจำนวนวิสาหกิจของ SMEs จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ป 2547 - 2550 ภาคการผลิต ป จำนวนวิสาหกิจ (ราย) มูลคา GDP (ลานบาท) มูลคา GDP ตอวิสาหกิจ (รอยละ)

2547 691,926 755,130 1.09

2548

2549

2550

696,816 830,247 1.19

661,055 921,924 1.39

668,185 996,163 1.49

2548

2549

2550

878,020 841,407 0.96

938,057 889,518 0.95

973,248 942,607 0.97

2548

2549

2550

644,032 913,893 1.42

673,120 978,561 1.45

708,841 1,043,191 1.47

ภาคการคาและการซอมบำรุง ป จำนวนวิสาหกิจ (ราย) มูลคา GDP (ลานบาท) มูลคา GDP ตอวิสาหกิจ (รอยละ)

2547 865,906 783,347 0.90

ภาคการบริการ ป จำนวนวิสาหกิจ (ราย) มูลคา GDP (ลานบาท) มูลคา GDP ตอวิสาหกิจ (รอยละ)

2547 621,242 857,892 1.38

ที่มา : สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, สำนักงานประกันสังคม และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 1.16 มูลคา GDP ตอสถานประกอบการของ SMEs ตามกิจกรรมาทางเศรษฐกิจ

เทา

มูลคา GDP ตอสถานประกอบการของ SMEs จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 1.60 1.50 1.40 1.30 1.20 1.10 1.00 0.90 0.80 ภาคการผลิต

ภาคการคาและการซอมบำรุง

ภาคการบริการ

ที่มา : สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, สำนักงานประกันสังคม และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

1 - 34 SMEs

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

1.4 คาดการณภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ป 2551 - 25521 รายงานบทวิเคราะหนี้ จัดทำขึ้นเพื่อประมาณการภาวะเศรษฐกิจของประเทศใน ชวงครึ่งหลังของป 2551 และตอเนื่องตลอดป 2552 โดยใชแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค เปนเครื่องมือในการประมาณการเศรษฐกิจ โดยผลประมาณการสรุปได ดังนี้ เศรษฐกิจไทยในป 2551 คาดวาจะขยายตัวอยูที่ประมาณรอยละ 5.5 ตอป สูงกวาการขยายตัวในป 2550 ที่อยูที่รอยละ 4.8 ตอป โดยการบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชนมีอัตราการขยายตัวสูงขึ้นในชวงไตรมาสแรกของป ประกอบกับในชวง 6 เดือน หลังรัฐบาลมีมาตรการชวยเหลือคาครองชีพ ซึ่งจะสงผลใหการบริโภคภาคเอกชนขยายตัว ในขณะที่การสงออกยังคงขยายตัวไดดีจากภาคเกษตรที่ประเทศคูแขงประสบปญหา ภัยพิบตั ิ การนำเขาสินคามีปริมาณเพิม่ มากขึน้ และขยายตัวสูงจากคาเงินบาททีแ่ ข็งคาแตมี เสถียรภาพ การนำเขาสวนใหญเปนการนำเขาสินคาทุนและเครื่องจักรซึ่งมีการขยายตัว สูงขึ้นอยางชัดเจน แตในสวนของการบริโภคและการลงทุนของภาครัฐเมื่อเทียบกับปกอน มีความลาชากวาที่คาดไว แตมาตรการในชวง 6 เดือนหลังปก็สามารถกระตุนและผลักดัน เศรษฐกิจใหขยายตัวไดอีกในระดับหนึ่ง ประมาณการเศรษฐกิจไทยในป 2552 คาดวาจะขยายตัวอยูท ปี่ ระมาณรอยละ 5.9 สูงกวาป 2551 ที่ประมาณการไวที่รอยละ 5.5 โดยปจจัยบวกจะขึ้นอยูกับการบริโภค และการลงทุนในโครงการขนาดใหญของภาครัฐ ซึ่งจะสงผลดีตอการบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชนทีน่ า จะขยายตัวตามไป ในสวนการสงออกจะยังขยายตัว แตในแนวโนมทีช่ ะลอลง เนื่องจากฐานในป 2551 สูง การนำเขาสินคาคาดวาจะยังคงขยายตัวไดดีจากการรักษา เสถียรภาพของคาเงินบาท

1 ประมาณการ ณ กรกฎาคม 2551

SMEs 1 - 35

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

1.4.1 คาดการณภาวะเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมป 2551 - 2552 ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ภาวะเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมป 2551 ประมาณการ อัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 6.1 มีสัดสวนอยูที่ 38.7 ของ GDP รวมของประเทศ ในป 2552 ประมาณการอัตราการขยายตัวของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมคาดวา ขยายตัวรอยละ 6.3 จากการขยายตัวรวมของ GDP ของประเทศทีข่ ยายตัวสูงขึน้ การขยายตัว ดังกลาวมีผลมาจากการบริโภคและการลงทุนในโครงการใหญของภาครัฐที่มีแนวโนม ชัดเจน ซึ่งสงผลดีตอวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ในไตรมาสแรกของป 2551 เศรษฐกิจรวมของประเทศขยายตัวที่รอยละ 6.0 โดยในสวนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมขยายตัวรอยละ 5.9 โดยเปนการขยายตัว ในภาคการผลิตโดยประมาณรอยละ 9.7 ภาคการคาและซอมบำรุงขยายตัวรอยละ 3.0 และ ภาคบริการคาดวาจะมีการขยายตัวประมาณรอยละ 5.6 ดานการคาระหวางประเทศ การสงออกของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมป 2551 ประมาณการ อัตราการขยายตัวการสงออกอยูท รี่ อ ยละ 12.5 การขยายตัวของการนำเขาอยูท รี่ อ ยละ 17.3 เมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัวในไตรมาส 1 / 2551 มีอัตราการขยายตัวการสงออก ประมาณรอยละ 19.5 และการนำเขามีการขยายตัว อยูที่รอยละ 27.3 จากการประมาณการแนวโนมการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกที่อยูในระดับ รอยละ 4.3 ในป 2552 ขยายตัวจากผลการคาดการณในป 2551 ที่อยูที่รอยละ 3.8 จะสง ผลดีตอ การสงออกของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เนือ่ งจากตลาดหลักในการสงออก ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมอยูในประเทศญี่ปุน สิงคโปร และสหรัฐอเมริกา ในสวนของอัตราแลกเปลีย่ นซึง่ เปนอีกปจจัยหนึง่ ทีส่ ำคัญตอการสงออกคาดวาจะมีแนวโนม ปรับตัวออนคาลงจากการที่สหรัฐอเมริกา มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่คาดวาจะดีขึ้น และมีเสถียรภาพ สวนในป 2552 การสงออกทั้งปคาดการณวาจะขยายตัวรอยละ 7.3 และการนำเขาขยายตัวประมาณรอยละ 7.7 การขยายตัวในป 2552 ปรับขึ้นเล็กนอย เนื่องจากฐานในป 2551 มีมูลคาสูง 1 - 36 SMEs

Mill Baht %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY Mill USD Mill USD Mill USD USD/Barrel Baht/USD %YoY Mill Baht

GDP Current Price Real GDP Growth (1988 price) Real Consumption(RC) - Real Private Consumption(RCp) - Real Public Consumption(RCg) Real Investment(RI) - Real Private Investment(RIp) - Real Public Investment(RIg) Export Of Goods %YoY Import Of Goods %YoY Trade Balance Dubai Crude Oil Exchange Rate World GDP Growth SMEs GDP Growth (1988 price) Growth (% YOY) SMEs GDP Current Price Agriculture Non-Agriculture LEs SMEs Trade Good And Service SMEs Export %YoY SMEs Import %YoY Trade Balance

ที่มา : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

Mill Baht Mill Baht Mill Baht Mill Baht Mill USD Mill USD Mill USD

Unit

Aggregate Demand 2,224,162 6.0 2.2 2.6 -0.1 5.4 6.5 2.0 41,385 22.9 41,494 35.1 -109 92.0 34.0 4.0 452,617 6.2 232,604 1,991,559 1,034,088 856,417 12,057 19.5 11,949 27.3 108

Q1 2,308,973 5.6 2.1 1.5 5.8 4.2 4.4 3.5 40,364 13.1 42,882 24.2 -2,517 117.0 33.0 3.8 439,162 5.8 228,743 2,080,230 1,068,268 905,849 12,109 13.9 12,436 13.9 -326

Q2

ตารางที่ 1.16 ผลการประมาณการเศรษฐกิจในป 2551 - 2552

2,376,732 5.5 2.0 2.0 2.1 2.8 3.0 2.6 42,080 9.5 41,269 15.9 811 124.0 33.0 3.5 447,763 6.0 218,090 2,158,642 1,111,452 939,519 12,624 9.3 11,968 14.0 656

2008f Q3 Q4 2,596,238 5.0 2.8 2.4 5.1 1.4 1.0 2.9 45,714 8.2 42,144 12.0 3,570 115.0 31.0 4.2 462,486 6.3 341,366 2,254,872 1,165,297 980,858 13,714 6.0 12,222 14.1 1,492

Total 9,506,105 5.5 2.3 2.1 3.2 3.4 3.7 2.7 169,543 13.0 167,788 21.2 1,755 112.0 32.8 3.8 1,802,028 6.1 1,020,803 8,485,302 4,379,105 3,682,643 50,863 12.5 48,659 17.3 2,204

Q1 2,353,164 5.8 3.0 2.5 4.0 5.8 6.0 4.0 46,393 12.1 46,971 13.2 -578 120.0 33.1 4.1 481,132 6.3 280,026 2,073,137 1,103,634 862,589 12,913 7.1 13,036 9.1 -123

Q2 2,435,967 5.5 2.3 1.9 6.2 5.4 4.2 5.2 44,494 10.2 47,256 10.2 -2,762 115.0 33.0 4.6 465,950 6.1 263,084 2,172,882 1,118,109 942,824 12,896 6.5 13,008 4.6 -111

2,519,335 6.0 2.9 2.3 4.3 6.1 3.2 4.9 46,225 9.9 44,991 9.1 1,234 112.0 32.6 4.2 476,867 6.5 249,414 2,269,921 1,166,452 989,337 13,419 6.3 12,997 8.6 422

2,754,608 6.1 2.5 2.2 6.2 5.4 1.2 3.2 48,822 6.8 46,468 10.3 2,354 120.0 33.0 4.4 491,160 6.2 355,344 2,399,264 1,264,365 1,019,550 14,962 9.1 13,279 8.7 1,683

10,063,074 5.9 2.7 2.2 5.2 5.7 3.7 4.3 185,933 9.7 185,686 10.7 248 116.8 33.0 4.3 1,915,105 6.3 1,147,870 8,915,205 4,652,560 3,814,300 54,550 7.3 52,424 7.7 2,127

ณ กรกฎาคม 2551 2009f Q3 Q4 Total

บทบาททางเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 I

SMEs 1 - 37