kna4

กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี ๒๕๕๕ คณะที่ ๔ การบริหารจัดการระบบสุขภา...

0 downloads 4 Views 873KB Size
กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี ๒๕๕๕

คณะที่ ๔ การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวข้อ ๔.๑ การบริหาร การเงิน การคลังระดับ จังหวัดเขต และจังหวัด (Health Care Financing)

ประเด็นการตรวจราชการ

กระบวนการที่จะตรวจราชการ (ตรวจราชการเชิงกระบวนการ)

๔.๑.๑ การพัฒนาระบบควบคุม -จังหวัดมีกระบวนการทางานตาม ภายในตามมาตรฐานระบบ ระดับความสาเร็จและการจัดวาง ราชการ ระบบการควบคุมภายใน เช่น - การจัดการความเสีย่ งด้านการ บริหารแผนรายรับ-รายจ่าย - การจัดการความเสี่ยงด้านการ บริหารคลังวัสดุและเวชภัณฑ์ ๔.๑.๒ การตรวจสอบคุณภาพ บัญชีคงค้างหน่วยบริการ

๔.๑.๓ การบริหารการเงินการ คลังที่มีประสิทธิภาพ

-จังหวัดมีกระบวนการทางานตาม ระดับความสาเร็จและมีผลคะแนน คุณภาพบัญชีของหน่วยบริการราย แต่ละไตรมาส มากกว่าร้อยละ ๙๐ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตาม เกณฑ์ที่กลุม่ ประกันสุขภาพกาหนด -จังหวัดมีกระบวนการทางานตาม ระดับความสาเร็จและมีความสาเร็จ ในการบริหารวิกฤติทางการเงิน

การวัดผลสาเร็จ หรือ ตัวชี้วัด ๐๔๐๑ ระดับความสาเร็จในการบริหารจัดการการเงิน การคลังระดับจังหวัด (Health Care Financing)

แนวทางการสนับสนุนจาก ส่วนกลาง

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ

-กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. -กลุ่มประกันสุขภาพ กาหนดแนวทาง และกลุม่ ตรวจสอบ ภายใน สป.

ระดับความสาเร็จ ๕ ระดับ ระดับที่ ๑ มี process รองรับ ที่สอดคล้องกับการ ดาเนินการในหน่วยบริการทีม่ ี FAI ระดับที่ ๒ มี insight ระบุปญ ั หาทีส่ าคัญพื้นที่ชดั เจนสอดคล้องนโยบาย โดยลาดับสาคัญ ระดับที่ ๓ มีกระบวนการ แก้ปัญหาและรูปแบบการแก้ปัญหาที่ชัดเจนในประเด็น -กลุ่มประกันสุขภาพสนับ นั้นๆ ระดับที่ ๔ มีการดาเนินการแก้ปัญหาอย่าง สนุนเครื่องมือ/โปรแกรม ต่อเนื่อง และมีรายงานผลตามระยะทุกไตรมาสระดับที่ ๕ การตรวจสอบคุณภาพบัญชี มีหลักฐานทีป่ ระเมินได้ว่าประสบความสาเร็จเป็นที่ คงค้างหน่วยบริการ ประจักษ์ ยอมรับได้ -กลุ่มประกันสนับสนุน เกณฑ์การคานวณวิกฤติ ทางการเงินการคลัง ๗ ระดับ

หัวข้อ ๔.๒ การบริหาร จัดการ บุคลากร

ประเด็นการตรวจราชการ ๔.๒.๑ แผนความต้องการและ การจัดการกาลังคนเพื่อรองรับ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan )

กระบวนการที่จะตรวจราชการ (ตรวจราชการเชิงกระบวนการ) จังหวัดมีการดาเนินการจัดทาแผน ความต้องการและการจัดการ กาลังคนเพื่อรองรับแผนการ จัดระบบบริการ ( Service Plan )

การวัดผลสาเร็จ หรือ ตัวชี้วัด

แนวทางการสนับสนุนจาก ส่วนกลาง

๐๔๐๒ ระดับความสาเร็จของการดาเนินการจัดทาแผน กาลังคนสาธารณสุข

-สบรส.จัดทาแนวทางการ จัดทาแผนความต้องการ กาลังคน

ระดับความสาเร็จ ๕ ระดับ ระดับที่ ๑ แต่งตั้งคณะกรรมการวางแผนกาลังคนระดับ จังหวัดที่มีองค์ประกอบทั้ง ๒ แผน โดย คณะกรรมการ จะต้องมีบุคคลในทุกระดับสถานบริการและผูม้ ีส่วน เกี่ยวข้อง รวมทั้งดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหาด้าน กาลังคนของหน่วยงานระดับจังหวัดในภาพรวมในประเด็น การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและการพัฒนากาลังคน สาขา วิชาชีพต่างๆ ระดับที่ ๒ จัดทาแผนกาลังคน เพือ่ รองรับแผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ระดับที่ ๓ จัดทาแผนพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับ สมรรถนะในระดับจังหวัด เป็นแผนระยะสั้น แผน๑ ปี (ใน ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) และแผน ๓ ปี (๒๕๕๖-๒๕๕๘) ระดับที่ ๔ มีการดาเนินการตามแผนกาลังคนสาธารณสุข ทั้ง ๒ แผน สู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ระดับที่ ๕ ติดตาม กากับ และประเมินผลการดาเนินการ ตามแผน และรายงานผล

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ -สานักบริหารการ สาธารณสุข (สบรส.)

หัวข้อ ๔.๒ การบริหาร จัดการ บุคลากร (ต่อ)

ประเด็นการตรวจราชการ ๔.๒.๒ แผนการพัฒนากาลังคน

กระบวนการที่จะตรวจราชการ (ตรวจราชการเชิงกระบวนการ) - จังหวัดมีคณะกรรมการพัฒนา กาลังคนระดับจังหวัด - จังหวัดมีแผนและการดาเนินตาม แผนพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะ

- จังหวัดและหน่วยบริการใน จังหวัดมีการสารวจแรงจูงใจ ขวัญ กาลังใจและความพึงพอใจในการ ทางานของบุคลากรสุขภาพสังกัด กระทรวงสาธารณสุขและนาผลของ การสารวจมาใช้ประโยชน์

การวัดผลสาเร็จ หรือ ตัวชี้วัด ๐๔๐๓ ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ การพัฒนาตามแผนการพัฒนากาลังคนที่สอดคล้องกับ สมรรถนะ หมายเหตุ ระดับความสาเร็จ ๕ ระดับใช้ร่วมกับที่ ๐๔๐๒ ๐๔๐๔ ร้อยละของแรงจูงใจขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของ บุคลากรสุขภาพสังกัดกระทรวง สาธารณสุข

แนวทางการสนับสนุนจาก หน่วยงานที่ ส่วนกลาง รับผิดชอบ ๑) สบช.จัดทาแนวทางการ -สถาบันพระบรม พัฒนาบุคลากรตาม ราชชนก สมรรถนะ บทบาทหน้าที่ ของบุคลากร และเป้าหมาย ขององค์กร

๒) สานักการพยาบาลจัดทา - สานักการพยาบาล - แนวทางการส่งเสริม แรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและ ความพึงพอใจในการทางาน ของบุคลากรสุขภาพสังกัด กระทรวงสาธารณสุข - แบบสารวจแรงจูงใจ ขวัญ กาลังใจและความพึงพอใจ ในการทางานของบุคลากร สุขภาพสังกัดกระทรวง สาธารณสุข - แนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลตามผลกาสารวจ

หัวข้อ

ประเด็นการตรวจราชการ

กระบวนการที่จะตรวจราชการ (ตรวจราชการเชิงกระบวนการ)

การวัดผลสาเร็จ หรือ ตัวชี้วัด

๔.๓ ระบบควบคุม ภายใน

ระบบการควบคุมภายในของ จังหวัด

๑. จังหวัดมีการกาหนดผู้รับผิดชอบ ในการจัดวางระบบการควบคุม ภายในของหน่วยงาน ๒. จังหวัดดาเนินการจัดวางระบบ การควบคุมภายในตามมาตรฐานที่ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กาหนด ๓. จังหวัดมีการนาระบบควบคุม ภายในที่กาหนดไปสู่การปฏิบตั ิ ๔. จังหวัดดาเนินการจัดทารายงาน ระดับองค์กร แบบ ปอ.๑ , แบบ ปอ.๒ แบบ ปอ.๓ กรณีหน่วยงาน ย่อย แบบ ปย.๑ แบบ ปย.๒ และ แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ ระเบียบกาหนด ๕. จังหวัดมีการประเมินผลระบบ การควบคุมภายในและการปรับปรุง ระบบควบคุมภายในให้เป็นปัจจุบนั อยู่เสมอ

๐๔๐๕ ระดับความสาเร็จตามระบบควบคุมภายใน

แนวทางการสนับสนุนจาก ส่วนกลาง

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ

-กลุ่มตรวจสอบภายใน -กลุ่มตรวจสอบภายใน ระดับ ระดับกระทรวง ระดับความสาเร็จ ๕ ระดับ กระทรวงดาเนินการ คือ ระดับที่ ๑ มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการจัดวางระบบ ๑. จัดประชุมชี้แจงแนวทาง ตรวจประเมินระบบควบคุม ควบคุมภายในของหน่วยงาน ระดับที่ ๒ ดาเนินการจัดวางระบบควบคุมภายในตามมาตรฐานการ ให้แก่ผู้นิเทศ ๒. จัดทา " แบบการตรวจ ควบคุมภายในสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน นิเทศงานระบบการควบคุม ระดับที่ ๓ มีการนาระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไปสู่ ภายใน ” การปฏิบัติ ระดับที่ ๔ การ ๓. สนับสนุนคู่มือแนวทาง จัดทารายงานระดับองค์กร แบบ ปอ.๑ แบบ ปอ. ๒ แบบ การจัดวางระบบการควบคุม ปอ. ๓ กรณี หน่วยงานย่อย แบบ ปย.๑ แบบ ปย.๒และ ภายในและการประเมินผล การควบคุมภายในให้แก่ผู้ แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด นิเทศ ระดับที่ ๕ มีการประเมินผลการควบคุมภายในและการ ปรับปรุงการควบคุมภายในให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

หัวข้อ ๔.๔ การพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม

ประเด็นการตรวจราชการ จังหวัดมีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทางการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

กระบวนการที่จะตรวจราชการ (ตรวจราชการเชิงกระบวนการ) จังหวัดมีการประเมินผลการ ดาเนินงานการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ในภาพรวมของจังหวัด ทั้ง ๔ ด้าน คือ (๑)ด้านนโยบายและแผน (๒)ด้านส่งเสริมการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม (๓)ด้านส่งเสริมวัฒนธรรม องค์การที่ดี (๔)ด้านคุณภาพของผลงาน

การวัดผลสาเร็จ หรือ ตัวชี้วัด ๐๔๐๖ ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างวัฒนธรรม องค์กรที่ดี ด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

แนวทางการสนับสนุนจาก ส่วนกลาง

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ

-แก้วกัลยาฯ ดาเนินการ -แก้วกัลยาสิกขาลัย ๑.จัดประชุมชี้แจงเรื่องแนว สถาบันพระบรมราช ทางการนิเทศและตัวชี้วัดให้ ชนก ระดับความสาเร็จ ๕ ระดับ แก่ประธานชมรมพัฒนา ระดับที่ ๑ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมระดับเขต คุณธรรมจริยธรรม ระดับจังหวัด และมีการจัดทาแผนงาน ๒.สนับสนุนแบบแนวทาง พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ระดับที่ ๒ มีการ ประเมินตนเองให้แก่จังหวัด กาหนดหัวข้อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของจังหวัด ๓.จัดทารายละเอียดตัวชี้วัด และเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) และเกณฑ์วัดระดับความ ระดับที่ ๓ มีการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรด้านคุณธรรม สาเร็จ จริยธรรม โดยมีรูปแบบกิจกรรมทีห่ ลากหลายหรือเป็น นวัตกรรมและมีกระบวนการติดตามให้สอดคล้องตาม แผนที่กาหนด ระดับที่ ๔ มีตัวอย่าง/ผลงานการสร้างเสริมวัฒนธรรม องค์กรที่ดีอย่างเป็นรูปธรรม ระดับที่ ๕ มีการ ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรูผ้ ลงาน / ตัวอย่างทั้ง ภายในและภายนอกหน่วยงาน

ภารกิจที่ ๒ การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ ๔ การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวข้อที่ ๔.๑ การบริหารการเงินการคลังระดับเขตและจังหวัด (Health Care Financing) ประเด็นสาคัญ (Issue) 1. การพัฒนาระบบควบคุมภายในตามมาตรฐานระบบราชการ 2. การตรวจสอบคุณภาพบัญชีเกณฑ์คงค้างหน่วยบริการ 3. การบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ สถานการณ์และสภาพปัญหา จากข้อมูลการรายงานทางการเงินของหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งกลุ่มประกัน สุขภาพ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้รวบรวมเป็นรายไตรมาส และนาข้อมูลที่ได้เหล่านี้มากาหนดเกณฑ์การ วิเคราะห์ภาวะวิกฤติทางการเงินโดยเปรียบเทียบจากผลประกอบการ ดัชนีวิเคราะห์ทางการเงิน จัดแบ่งภาวะวิกฤติ ออกเป็น ๗ ระดับ ผลการดาเนินงานในไตรมาสที่ ๓ /๒๕๕๔ พบว่ามีจานวนโรงพยาบาลที่ประสบปัญหาวิกฤติทางการเงินมาก ถึง ๕๘๐ แห่ง จากจานวนโรงพยาบาลทั้งสิ้น ๘๓๔ แห่ง ในจานวนนี้มี ๑๕๔ แห่ง อยู่ในภาวะวิกฤติระดับ ๗ (รุนแรง ที่สุด) ประกอบกับมีโรงพยาบาลจานวน ๓๐๔ แห่ง กาลังประสบปัญหาทางการเงิน และขอสนับสนุนงบประมาณมาที่ ส่วนกลางเป็นจานวนถึง ๓๐๔ แห่ง คิดเป็นวงเงิน ๔,๑๔๐,๖๒๑,๕๑๗.๙๓ บาท (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๔) เพื่อให้การประเมินกากับติดตามการพัฒนาระบบการบริหารจัดการการเงินการคลัง ของหน่วยงานภายใต้ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีมาตรฐานอย่างยั่งยืน จึงได้กาหนดให้มีการมาตรฐานการตรวจประเมิน ภายใต้ ตัวชี้วัด FAI (Financial Administration Index)

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กระบวนการควบคุมภายใน เป็นเครื่องมือสนับสนุนการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้หน่วยงานมีการพัฒนาระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างให้มีคุณภาพ 3. เพื่อให้มีการบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ แนวทางการดาเนินงาน แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานตามประเด็น Financial Administration Index (FAI) เป็นเครื่องมือ สนับสนุนในการบริหารการเงินการคลังระดับเขตและระดับจังหวัดดังนี้

6

ประเด็นพัฒนา ทางการเงินการคลัง การควบคุมภายใน

หน่วยงานดาเนินการ

เครื่องมือสนับสนุน

หน่วยสนับสนุน

หน่วยบริการ, สสจ, เขต ตรวจราชการ

แนวทางการจัดวาง ระบบการควบคุม ภายในของหน่วย ราชการ โปรแกรมประเมิน คุณภาพบัญชี อิเลคทรอนิคส์ของกลุ่ม ประกันสุขภาพ หรือ โดย Auditor จังหวัด ดัชนีแสดงสถานะทาง การเงินตามภาวะวิกฤติ ของกลุ่มประกันสุขภาพ หรือของ CFO จังหวัด

กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานปลัด กระทรวงฯ

การพัฒนาระบบบัญชีเกณฑ์คง หน่วยบริการ, สสจ, เขต ค้างให้มีคุณภาพ ตรวจราชการ

การบริหารการเงินการคลังมี ประสิทธิภาพ

หน่วยบริการ, สสจ, เขต ตรวจราชการ

กลุ่มประกันสุขภาพ สานักงานปลัด กระทรวงฯ กลุ่มประกันสุขภาพ สานักงานปลัด กระทรวงฯ

ผลลัพธ์ที่ต้องการ หน่วยบริการแต่ละแห่งมีการวางระบบควบคุมภายในตามมาตรฐานการควบคุมภายใน การปฏิบัติงานบรรลุผล สาเร็จ เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ส่งผลให้รายงานการเงินและระบบบัญชีมีความน่าเชื่อถือ และใช้เป็น เครื่องมือในการบริหารจัดการ แก้ไขปัญหาได้ทั้งในระดับหน่วยงานย่อยจนถึงระดับจังหวัด ระดับเขต ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด Financial Administration Index (FAI) เป็นการวัดระดับความสาเร็จ ๓ แนวทาง แบ่งเป็น ๕ ระดับ โดยระดับที่ ๑ – ๔ เน้นเรื่องรูปแบบ และกระบวนการขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ระดับ ๕ เป็น ระดับที่แสดงถึงความสาเร็จ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ - ความสาเร็จของระบบการควบคุมภายใน คือ ผ่านการประเมินถึงความเพียงพอและความมีประสิทธิผลของ ระบบการควบคุมภายในระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๖ - ความสาเร็จของการพัฒนาคุณภาพบัญชี คือ รายงานการเงินได้รับคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๙๐ ตามเกณฑ์ตามที่ กลุ่มประกันสุขภาพกาหนด (ตรวจสอบทางอิเล็คทรอนิกส์) หรือตามเกณฑ์ที่ Auditor จังหวัดกาหนดขึ้น - การบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ วัดจากดัชนีความรุนแรง ๗ ระดับ ซึ่งมีการปรับปรุงพัฒนาแก้ไข ปัญหาได้สาเร็จหรือมีแนวโน้มผลประกอบการที่ดีขึ้นตามลาดับ

7

เกณฑ์ประเมินการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ( Financial Administration Index : FAI ) กิจกรรม

ระดับความสาเร็จ ๓ มีกระบวนการ พิจารณาระดับความ เสี่ยงว่าเพียงพอ ยอมรับความเสีย่ งได้ หรือเป็นความเสี่ยง ที่อยู่ในระดับยอมรับ ไม่ได้ต้องจัดทาแผน ปรับปรุงการควบคุม ภายใน

๑ มีคณะทางาน หรือกรรมการ ระบบการ ควบคุมภายใน พิจารณาความ เสี่ยงและ ประเด็นพัฒนา ระบบการ ควบคุมภายใน ของหน่วยงาน

๒ การกาหนด กระบวนการ ปฏิบัติงาน/ กิจกรรมและ วัตถุประสงค์ ของ กระบวนการ ปฏิบัติงาน/ กิจกรรมนั้นๆ ชัดเจนและ สอดคล้องกับ นโยบาย กระทรวงฯ

การพัฒนา คุณภาพบัญชี (AC)

มีทีมหรือคณะ ทางานพัฒนา ระบบบัญชีมีการ ประชุมอย่าง น้อยทุกไตรมาส

มีการกาหนด ปัญหาหรือ ประเด็นที่สาคัญ ในพื้นที่ สอดคล้องกับ นโยบาย กระทรวงฯเพื่อ แก้ไขและพัฒนา

มีกระบวนการ แก้ปัญหาและ รูปแบบขับเคลื่อน การแก้ปัญหาที่ ชัดเจนในปัญหาหรือ ประเด็นนั้นๆ

มีกิจกรรมการ ขับเคลื่อนการ แก้ปัญหาและ การพัฒนา ปัญหาตามที่ กาหนดอย่าง ต่อเนื่องและ รายงานทุกไตร มาส

ประสิทธิภาพ การบริหาร การเงินการคลัง (FM)

มีคณะทางาน บริหารการเงิน การคลังทาการ ประชุมวิเคราะห์ สถานการณ์ทาง การเงินอย่าง น้อยทุกไตรมาส

มีการกาหนด ปัญหาหรือ ประเด็นที่สาคัญ ในพื้นที่ สอดคล้องกับ นโยบาย กระทรวงฯเพื่อ แก้ไขและพัฒนา

มีกระบวนการ แก้ปัญหาและ รูปแบบขับเคลื่อน การแก้ปัญหาที่ ชัดเจนในปัญหาหรือ ประเด็นนั้นๆ

มีกิจกรรมการ ขับเคลื่อนการ แก้ปัญหาและ การพัฒนา ปัญหาตามที่ กาหนดอย่าง ต่อเนื่องและ รายงานทุกไตร มาส

การควบคุม ภายใน (IC)

๔ มีการกาหนด วิธีการปรับปรุง การควบคุม ภายใน สอดคล้องตาม ความเสีย่ งที่ยัง เหลืออยู่ และ รายงานติดตาม ความก้าวหน้า ทุกไตรมาส

๕ มีผลงานหรือ หลักฐานเชิง ประจักษ์ถึง ความสาเร็จหรือ เป็นที่ยอมรับ (ตามที่กาหนดไว้ ในรายงาน แผนการ ปรับปรุงการ ควบคุมภายใน (ปอ.๓)หรือ รายงานการ ประเมินผลและ การปรับปรุงการ ควบคุมภายใน (ปย.๒) มีผลงานหรือ หลักฐานเชิง ประจักษ์ถึง ความสาเร็จหรือ เป็นที่ยอมรับ (ผ่านเกณฑ์ ประเมินการ ตรวจสอบ คุณภาพบัญชี ทางอีเล็คโทร นิกส์ ๙๐%) มีผลงานหรือ หลักฐานเชิง ประจักษ์ถึง ความสาเร็จหรือ เป็นที่ยอมรับ (ผ่านเกณฑ์ดัชนี การเงิน๗ระดับ ของกรรมการ ประเมินระดับ กระทรวง)

คะแนนเต็ม ๕ คะแนน

๕ คะแนน

๕ คะแนน

8

ปัญหาสาคัญที่กาหนดเพื่อการแก้ไข หรือพัฒนาในเกณฑ์ระดับที่ ๒ ประกอบด้วย 1. ปัญหาหลักตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นกรอบขับเคลื่อนให้ทุกจังหวัดดาเนินการในทุกประเด็นให้ เป็นไปในทิศทางการแก้ปัญหาระดับประเทศ ประกอบด้วย 1.1 ด้านควบคุมภายใน 1.1.1 การจัดการความเสี่ยงด้านการบริหารแผนรายรับ-รายจ่าย 1.1.2 การจัดการความเสี่ยงด้านการบริหารคลังวัสดุและเวชภัณฑ์ 1.2 ด้านการพัฒนาบัญชี 1.2.1 การพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลรองรับความถูกต้องของบัญชีเกณฑ์คงค้างและต้นทุนในโรงพยาบาล 1.2.2 การพัฒนาการตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลการเงินโดยการตรวจสอบโดย Account Auditor 1.3 ด้านการบริหารการเงิน 1.3.1 การบริหารการจัดสรรงบหลักประกันสุขภาพเพื่อให้เกิดความมั่นคงทางการเงินในหน่วยบริการ 1.3.2 การพัฒนาการบริหารการเงินการคลังในหน่วยบริการ 1.3.3 การพัฒนาศูนย์ต้นทุนจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนการจัดทาต้นทุนในหน่วยบริการ 2. ปัญหาสาคัญที่ประเมินโดยผู้บริหารหรือคณะกรรมการระดับจังหวัด เป็นประเด็นที่จังหวัดพิจารณาว่ามี ความสาคัญจาเป็นต้องแก้ปัญหาในพื้นที่ สามารถกาหนดเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและตามความสาคัญ เร่งด่วนในการดาเนินการ รูปแบบการประเมิน 1. CFO จังหวัด หรือผู้ได้รับมอบหมายจากจังหวัดเป็นผู้ประเมิน FAI ระดับโรงพยาบาล โดยส่งผลการ ประเมินทางเว็บไซต์ของกลุ่มประกันสุขภาพ http://hfo.cfo.in.th รอบ ๖, ๙ และ ๑๒ เดือน ภายในวันที่ ๑๐ ของ เดือนถัดไป 2. เขตตรวจราชการกระทรวง รวบรวมผลการประเมินของจังหวัดภายในเขตที่รับผิดชอบ 3. กลุ่มประกันสุขภาพรวบรวมผลการประเมินในระดับเขต กลุ่มประกันสุขภาพ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข -ผู้รับผิดชอบ : นางอมรรัตน์ พีระพล ตาแหน่ง หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาระบบการเงินการคลัง โทร. 02-590-1797 E-mail address : [email protected] ประเด็นการติดตาม ตามแบบรายงานผลระดับความสาเร็จบริหารการเงินการคลัง ตามเอกสารแนบ

9

ภารกิจที่ ๒

การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค

ประเด็นหลักที่ ๔

การบริหารจัดการระบบสุขภาพ

หัวข้อที่ ๔.๒

การบริหารจัดการบุคลากร

ประเด็นสาคัญ

แผนกาลังคนสาธารณสุข ได้แก่ ๑. แผนความต้องการกาลังคนเพื่อรองรับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) ๒. แผนพัฒนากาลังคน

สถานการณ์และสภาพปัญหา ด้วยนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข ที่เน้นความเท่าเทียมการ เข้าถึงบริการ ความครอบคลุมของผู้รับบริการ และคุณภาพการให้บริการสุขภาพของสถานบริการทุกระดับ โดยเฉพาะ การจัดระบบบริการสุขภาพที่แบ่งออกเป็นหลายระดับ ได้แก่บริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) โดยมุ่งหวังให้บริการแต่ละระดับมีบทบาทหน้าที่ที่ แตกต่างกัน และเชื่อมโยงกันด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) รวมทั้งการพัฒนาความเชี่ยวชาญแต่ละระดับเพื่อให้สามารถ จัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และเกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป็นระบบบริการ สุขภาพที่มีศักยภาพรองรับปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีความซับซ้อนในระดับพื้นที่ได้ จากเหตุผ ลดังกล่ าวกระทรวงสาธารณสุขจาเป็นต้องพัฒ นากาลั งคนเพื่อรองรับแผนพัฒ นาระบบ บริการสุขภาพ (Service plan) พัฒนาศักยภาพบุคลากรทั้งในเรื่องของการศึกษาต่อ และการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญในงาน สามารถปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ สอดรับกับการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และตาม นโยบายการพัฒ นาคุณภาพการบริ ห ารจั ดการภาครัฐ (PMQA) หมวด ๕ เน้นให้ องค์กรการพัฒ นาการเรียนรู้ของ บุคลากรในหน่วยงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็มศักยภาพ มีประสิทธิภาพ ประกอบกับ พรบ.พัฒนาข้าราชการพล เรือนของสานักงาน กพ. ได้กาหนดให้ส่วนราชการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพั ฒนาข้าราชการระดับกรม ที่สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ กพ. โดยกาหนดสมรรถนะหลักภาคบังคับ (Core Competency) ที่ข้าราชการทุกคนต้องมีและต้อง พัฒนา รวมถึงสมรรถนะในงาน (Functional Competency) ตามบทบาทหน้าที่ของบุคคลและเป้าหมายองค์กร และ ขาดระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล การวิเคราะห์ และวางแผนที่มีความเชื่อมโยงกันเชิงระบบทั้งในส่วนของ นโยบาย แผน 10

และการนาสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม

สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขเล็งเห็นความสาคัญในการวางแผน

กาลังคนสาธารณาสุขในส่วนภูมิภาค เนื่องจากเป็นหน่วยบริการสุขภาพที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุ ด หากมีการ บริหารจัดการบุคลากรที่เป็นระบบ จะส่งผลถึงคุณภาพการให้บริการสุขภาพ ก่อให้เกิดสุขภาวะที่ดีกับของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

จุดประสงค์ ๑.เพื่อให้หน่วยงานระดับจังหวัดสามารถบริหารจัดการบุคลากรที่ครอบคลุมทุกระดับสถานบริการ ที่มี ความเชื่อมโยงกันเชิงระบบ ทั้งในส่วนของการจัดทาแผนกาลังคนเพื่อรองรับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) และแผนพัฒนากาลังคน ๒.เพื่อให้เกิดความเสมอภาค ความสมดุลด้านบุคลากรกับภารกิจของสถานบริการใน แต่ละระดับของจังหวัด ๓.บุ คลากรมีความพึงพอใจในการทางาน มีขวัญกาลั งใจในการปฏิบัติงานและมีคุณภาพชีวิตการ ทางานที่ดี

แนวทางการดาเนินการ ๑. แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการวางแผนก าลั ง คนระดั บ จั ง หวั ด ที่ มี อ งค์ ป ระกอบทั้ ง ๒ แผน โดย คณะกรรมการจะต้องมีบุคคลในทุกระดับสถานบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ด้านกาลังคนของหน่วยงานระดับจังหวัดในภาพรวมในประเด็นการพัฒนาระบบบริการสุขภาพและการพั ฒนากาลังคน สาขา วิช าชีพ ต่า งๆ รวมทั้ง ส ารวจแรงจู งใจ ขวัญ กาลั ง ใจและความพึง พอใจในการทางานของบุ คลากรสุ ข ภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒. จัดทาแผนความต้องการกาลังคน เพื่อรองรับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) และ จัดทาแผนพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับสมรรถนะในระดับจังหวัด เป็นแผนระยะสั้น แผน๑ ปี (ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕) และแผน ๓ ปี (๒๕๕๖-๒๕๕๘) รวมทั้งจัดทาแผนการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และ 11

ความพึงพอใจในการทางานโดยใช้ข้อมูล

(แบบสอบถาม)

จัดลาดับจากประเด็นที่มีคะแนนสูงของผลต่างระหว่างความเห็นใน

ความสาคัญด้านแรงจูงใจฯ กับความพึงพอใจฯ และใช้แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ

ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในงานของ

บุคลากรสุขภาพ

๓. มีการดาเนินการตามแผนกาลังคน และดาเนินการตามแนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ๔. ติดตาม กากับ และประเมินผลการดาเนินการตามแผน ๕.. สรุปและรายงานผล

ผลลัพธ์ที่ต้องการ ๑. แผนความต้องการกาลังคนเพื่อรองรับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ๒. แผนพัฒนากาลังคน ๓. การดาเนินการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของ บุคลากรสุขภาพ

ประเด็นการติดตาม ๑. แผนกาลังคนสาธารณสุข ระดับจังหวัด ๒. การดาเนินการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางาน

12

ของบุคลากรสุขภาพ

ตัวชี้วัด

๑. ระดับความสาเร็จของการดาเนินการจัดทาแผนกาลังคนสาธารณสุข ๒. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนการพัฒนากาลังคนที่สอดคล้องกับ สมรรถนะ ๓. ร้อยละของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานของบุคลากร สุขภาพสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

เกณฑ์คะแนน ๑. ระดับความสาเร็จในการจัดทาแผนกาลังคนสาธารณสุข (ทั้ง ๒ แผน) ของระดับจังหวัดแบ่งตาม การดาเนินการ ๕ ขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ ๑.

กิจกรรมการดาเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการวางแผนกาลังคนระดับจังหวัดทีม่ ีองค์ประกอบทั้ง ๒ แผน โดย

ระดับคะแนน ๑

คณะกรรมการจะต้องมีบุคคลในทุกระดับสถานบริการและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งดาเนินการ วิเคราะห์สภาพปัญหาด้านกาลังคนของหน่วยงานระดับจังหวัดในภาพรวมในประเด็นการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพและการพัฒนากาลังคน สาขา วิชาชีพต่างๆ รวมทั้งสารวจแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒.

*จัดทาแผนความต้องการกาลังคน เพื่อรองรับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ



* เป็นแผนระยะสั้น แผน๑ ปี (ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕) และแผน ๓ ปี (๒๕๕๖-๒๕๕๘) รวมทั้งจัดทาแผนการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานโดยใช้ ข้อมูล (แบบสอบถาม) จัดลาดับจากประเด็นที่มีคะแนนสูงของผลต่างระหว่างความเห็นใน ความสาคัญด้านแรงจูงใจฯ กับความพึงพอใจฯ และใช้แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญ กาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ

13

๓.

มีการดาเนินการตามแผนกาลังคนสาธารณสุข อย่างน้อย ๑ แผน (แผนพัฒนากาลังคนตาม



สมรรถนะ) และดาเนินการตามแนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจ ในการทางานของบุคลากรสุขภาพ สู่การปฏิบตั ิที่เป็นรูปธรรม ๔.

ติดตาม กากับ และประเมินผลการดาเนินการตามแผน



๕.

สรุปและรายงานผล



๒. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนการพัฒนากาลังคนที่สอดคล้องกับสมรรถนะ สูตรในการคานวณ ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา = จานวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา X ๑๐๐ ที่สอดคล้องกับสมรรถนะ

บุคลากรที่ต้องพัฒนาตามค่าเป้าหมายของแผน

๓. ร้อยละของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพสังกัด กระทรวงสาธารณสุข หมายถึง สูตรในการคานวณ ๓.๑ ร้อยละของระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ = ผลรวมคะแนนระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจฯ ที่ได้จากการประเมิน x ๑๐๐ ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมินด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจฯ

๓.๒ ร้อยละของความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ = ผลรวมคะแนนความพึงพอใจในการทางานฯ ที่ได้จากการประเมิน x ๑๐๐ ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมินด้านความพึงพอใจฯ 14

หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๑. สานักการพยาบาล ผู้รับผิดชอบ นางสาวสมจิตต์ วงศ์สุวรรณสิริ นักวิชาการพยาบาลชานาญการ โทร. ๐๒ – ๕๙๐-๖๒๙๑ โทรสาร. ๐๒ – ๕๙๐-๖๒๙๕ Mobile ๐๘๙-๙๙๒-๓๐๙๐ e-mail address : [email protected] นางสาวโศภิษฐ์ สุวรรณเกษาวงษ์ นักวิชาการพยาบาลชานาญการ โทร. ๐๒ – ๕๙๐-๖๒๙๑ โทรสาร. ๐๒ – ๕๙๐-๖๒๙๕ Mobile ๐๘๙-๘๓๒-๖๗๙๔ e-mail address : [email protected] ๒. สถาบันพระบรมราชชนก ผู้รับผิดชอบ นางชลธี หาญเบญจพงศ์ ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาบุคลากร นางกัลยา เนติประวัติ นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ โทร. ๐ ๒๕๙๐ ๑๘๐๘ โทรสาร ๐ ๒๕๙๐ ๑๘๑๗ ๓. สานักบริหารการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบ นายวัฒน์ชัย จรูญวรรธนะ นายแพทย์ชานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานสาธารณสุข โทร ๐-๒๕๙๐-๑๗๔๖ โทรสาร. ๐-๒๕๙๐-๑๗๔๐ มือถือ ๐๘๑-๖๘๒ -๑๓๐๕ e-mail address : [email protected]

**********************************

15

รายละเอียดตัวชี้วัด (KPI template) ของรหัสตัวชี้วัด ๐๔๐๒ ๑. คณะที่ ๔ ๒. ภารกิจที่ ๒ ๓. ประเด็นหลักที่ ๔ ๔. หัวข้อที่ ๔.๒.๓ ๕. ยุทธศาสตร์กระทรวง ๖. ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง ๗. รหัสตัวชี้วัด ๘. ชื่อตัวชี้วัด

๙. เกณฑ์ (ระดับความสาเร็จ)

การบริหารจัดการระบบสุขภาพ การติดตามผลการปฏิบตั ิราชการสาธารณสุขในส่วนภูมภิ าค การบริหารจัดการระบบสุขภาพ การบริหารจัดการบุคลากร เรื่อง แผนกาลังคนสาธารณสุข ได้แก่ แผนความต้องการกาลังคนเพื่อรองรับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) และแผนพัฒนากาลังคน ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสุขภาพไทย ๑. การสร้างเอกภาพและธรรมมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ ๓. การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ทผี่ ู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข ๐๔๐๒ ระดับความสาเร็จของการดาเนินการจัดทาแผนกาลังคนสาธารณสุข (แผนความต้องการกาลังคนฯ แผนพัฒนากาลังคน และการดาเนินการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของ บุคลากรสุขภาพ) ระดับ ๑ แต่งตั้งคณะกรรมการวางแผนกาลังคนระดับจังหวัดที่มีองค์ประกอบทั้ง ๒ แผน โดย คณะกรรมการจะต้องมีบุคคลในทุกระดับสถานบริการและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้ง ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหาด้านกาลังคนของหน่วยงานระดับจังหวัดในภาพรวม ในประเด็นการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และการพัฒนากาลังคน สาขาวิชาชีพต่างๆ รวมทั้งสารวจแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากร สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ระดับ ๒ จัดทาแผนความต้องการกาลังคน เพื่อรองรับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพและ จัดทาแผนพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับสมรรถนะในระดับจังหวัด เป็นแผนระยะสั้น แผน ๑ ปี (ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕) และแผน ๓ ปี (๒๕๕๖-๒๕๕๘) รวมทั้งจัดทา แผนการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานโดยใช้ข้อมูล (แบบสอบถาม) จัดลาดับจากประเด็นที่มีคะแนนสูงของผลต่างระหว่างความเห็นใน ความสาคัญด้านแรงจูงใจฯ กับความพึงพอใจฯ และใช้แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ 16

๑๐. ผลงาน ๑๐.๑ รายการข้อมูล

๑๐.๒ นิยาม ๑๐.๓ วิธีรายงาน ๑๐.๔ แหล่งข้อมูล ๑๑. กลุ่มเป้าหมาย

ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ ระดับ ๓ มีการดาเนินการตามแผนกาลังคนสาธารณสุข สู่การปฏิบตั ิที่เป็นรูปธรรม (อย่างน้อย ๑ แผน ได้แก่ แผนพัฒนากาลังคน) และแนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ ระดับ ๔ ติดตาม กากับ และประเมินผลการดาเนินการตามแผน ระดับ ๕ สรุป วิเคราะห์ รายงานผล ระดับความสาเร็จของการดาเนินการจัดทาแผนกาลังคนสาธารณสุข ๑. รายงานระดับความสาเร็จของการดาเนินการจัดทาแผนกาลังคนสาธารณสุข (แผนความ ต้องการกาลังคนฯ และแผนพัฒนากาลังคน) ๒. รายงานผลบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนากาลังคนที่สอดคล้องกับสมรรถนะ ๓. รายงานผลการสารวจแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากร สุขภาพ และดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม รายงานเป็นราย ๖ เดือน สานักงานสาธารณสุขจังหวัด / โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชน /เครือข่ายบริการสุขภาพ บุคลากรด้านสาธารณสุข ทั้งที่เป็นข้าราชการและลูกจ้าง ทั้งหน่วยบริการและงานสนับสนุนทุกสายงาน

17

๑๑.๑ รายการข้อมูล ๑๑.๒ นิยาม ๑๑.๓ วิธีการรายงาน

(ตัวชี้วัดที่ ๓) รอบแรก ๑. รายงานผลการสารวจร้อยละของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ สังกัดกระทรวง สาธารณสุข หมายถึง ๑.๑ ร้อยละของระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ ในการ ทางานของบุคลากรสุขภาพ ๑.๒ ร้อยละของความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ ๒. แผนการดาเนินงานตามแนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ รอบที่ ๒ รายงานผลการดาเนินงานตามแผนการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ

๑๑.๔ แหล่งข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด / โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชน /เครือข่ายบริการสุขภาพ

๑๒.การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคานวณ)

๓.ร้อยละของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข หมายถึง ๓.๑ ร้อยละของระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ = ผลรวมคะแนนระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจฯ ทีไ่ ด้จากการประเมิน x ๑๐๐ ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมินด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจฯ

๓.๒ ร้อยละของความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ = ผลรวมคะแนนความพึงพอใจในการทางานฯ ที่ได้จากการประเมิน x ๑๐๐ ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมินด้านความพึงพอใจฯ

๑๓.เกณฑ์การให้คะแนน

ระดับความสาเร็จ

18

๑๔.ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ๑๔.๑ สานักการพยาบาล นางสาวสมจิตต์ วงศ์สุวรรณสิริ นักวิชาการพยาบาลชานาญการ โทร. ๐-๒๕๙๐-๖๒๙๑ โทรสาร. ๐-๒๕๙๐ -๖๒๙๕ มือถือ ๐๘๙-๙๙๒-๓๐๙๐ e-mail address : [email protected] นางสาวโศภิษฐ์ สุวรรณเกษาวงษ์ นักวิชาการพยาบาลชานาญการ โทร. ๐-๒๕๙๐-๖๒๙๑ โทรสาร. ๐-๒๕๙๐-๖๒๙๕ มือถือ ๐๘๙-๘๓๒ -๖๗๙๔ e-mail address : [email protected] ๑๔.๒ สถาบันพระบรมราชชนก นางชลธี หาญเบญจพงศ์ ผู้อานวยการกลุม่ พัฒนาบุคลากร โทร. ๐-๒๕๙๐-๑๘๐๘ โทรสาร ๐-๒๕๙๐-๑๘๑๗ ประวัติ นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ โทร. ๐-๒๕๙๐-๑๘๐๘ โทรสาร ๐-๒๕๙๐-๑๘๑๗ ๑๔.๓ สานักบริหารการสาธารณสุข นายวัฒน์ชัย จรูญวรรธนะ นายแพทย์ชานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานสาธารณสุข โทร ๐-๒๕๙๐-๑๗๔๖ โทรสาร. ๐-๒๕๙๐-๑๗๔๐ มือถือ ๐๘๑-๖๘๒ -๑๓๐๕ e-mail address : [email protected] คุณมาลีรตั น์ อ่าทอง หัวหน้างานบริหารทรัพยากรบุคคล โทร ๐-๒๕๙๐-๑๗๔๘ มือถือ ๐๘๖-๐๕๐-๙๖๖๐ โทรสาร. ๐-๒๕๙๐-๑๗๔๐ e-mail address : [email protected]

นางกัลยา เนติ

19

21 เอกสารแนบท้ายตัวชี้วัด 0402.3 เอกสารหมายเลข 1 ตัวชี้วัด 0402.3 ร้อยละของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข หมายถึง 1) ร้อยละของระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจในการทางานของ บุคลากรสุขภาพ 2) ร้อยละของความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพ และประเมินผลลัพธ์ของกระบวนการบริหารจัดการ ด้านบุคลากร ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ แรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางาน ซึ่ง มีผลต่อประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ผู้ป่วยและผู้ใช้บริการ เกณฑ์ ร้อยละ 70 นิยาม แรงจู ง ใจ ขวั ญ ก าลั ง ใจในการท างานของบุ ค ลากรสุ ข ภาพ หมายถึ ง ความคิ ด เห็ น ในระดั บ ความสาคัญของประเด็นต่าง ๆ 14 ประเด็น ที่ส่งผลให้บุคลากรสุขภาพมีแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจใน การทางาน ความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจของบุคลากรสุขภาพ ในประเด็นต่าง ๆ 14 ประเด็น ที่ส่งผลให้บุคลากรสุขภาพทางานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากร สุขภาพ หมายถึง 14 ประเด็น ดังนี้ ความสาเร็จในงานที่ปฏิบัติ การได้รับความยอมรับนับถือ ความก้าวหน้าในตาแหน่งการงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ ภาระงานที่เหมาะสม นโยบายการ พัฒนาบุคลากร/งาน การบริหารงานที่เป็นธรรม การมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ร่วมงาน/ผู้บริหาร รายได้/ค่าตอบแทนต่าง ๆ สวัสดิการที่นอกเหนือจากรายได้/ค่าตอบแทน ความมั่นคงของหน้าที่ การงาน โอกาสความก้าวหน้าในงาน สภาพแวดล้ อม อุป กรณ์เ ครื่อ งมือ เครื่อ งใช้ ที่เพี ยงพอ เหมาะสม/ปลอดภัย ความสมดุลระหว่างงานและชีวิตส่วนตัว บุคลากรสุขภาพ หมายถึง บุคลากรที่ให้บริการด้านสุขภาพโดยตรงแก่ผู้ป่วยและประชาชน ทั้งที่ เป็ น ข้าราชการ พนั กงานของรัฐ และลู กจ้าง ซึ่งปฏิบัติงานที่ห น่ว ยงานในระบบสุ ขภาพ สั งกัด กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล และบุคลากรสุขภาพอื่น ๆ

สูตรคานวณ

1)

ร้อยละของระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจฯ =

ผลรวมคะแนนระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจฯ ที่ได้จากการประเมิน X 100 ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมินด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ ตัวตั้ง : ผลรวมคะแนนระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจที่ได้จากการ ประเมิ น หมายถึ ง ผลรวมของคะแนนความคิ ด เห็ น ฯ ของบุ ค ลากรสุ ข ภาพทั้ ง หมดที่ ต อบ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

22 แบบสอบถามแรงจู ง ใจ ขวั ญ ก าลั ง ใจ และความพึ ง พอใจในการท างานของบุ ค ลากรสุ ข ภาพ กระทรวงสาธารณสุข ตัวหาร : ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมินด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ (โดยมีคะแนนเต็ม = 56 คะแนน/ฉบับ) คูณด้วยจานวนแบบสอบถามที่บุคลากรสุขภาพตอบสมบูรณ์ทุกฉบับ 2) ร้อยละความพึงพอใจในการทางาน = ผลรวมคะแนนความพึงพอใจในการทางานฯ ที่ได้จากการประเมิน ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมินด้านความพึงพอใจ X 100 ตัวตั้ง : ผลรวมคะแนนความพึงพอใจในการทางานฯ ที่ได้จากการประเมิน หมายถึง ผลรวมของ คะแนนความพึงพอใจในการทางานงานฯ ของบุคลากรสุขภาพทั้งหมดที่ตอบแบบสอบถามแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ตัวหาร : ผลรวมคะแนนเต็มของแบบประเมิน ด้านความพึงพอใจ (คะแนนเต็ม = 56 คะแนน/ ฉบับ) คูณด้วยจานวนแบบสอบถามที่บุคลากรสุขภาพตอบสมบูรณ์ทุกฉบับ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรสุขภาพสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับในจังหวัด 2. แหล่งรวบรวมข้อมูล สานักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. เครื่องมือ 3.1 แบบสอบถามแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของ บุคลากรสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข 3.2 แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในงานของ บุคลากรสุขภาพ การเก็บข้อมูล ขอความร่วมมือและแจกแบบสอบถามแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของ บุคลากรสุ ขภาพ (ตามที่กาหนดสายงานในแบบสอบถาม) ที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสุ ขภาพสั งกัดกระทรวง สาธารณสุข ตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์แบบสอบถามที่ได้รับคืน แยกเป็นกลุ่มตามประเภทของบุคลากร สุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์แบบสอบถามแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ตามวิธีการดังนี้ 1. ระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจในการทางาน 1.1 แจงนับจานวนแบบประเมินความคิดเห็นในความสาคัญของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจในแต่ ละข้อ (14 ข้อ) และคูณด้วยค่าคะแนน 4 หรือ 3 หรือ 2 หรือ 1 ตามการตอบของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยที่ มาก มีค่าคะแนนเท่ากับ 4 ปานกลาง มีค่าคะแนนเท่ากับ 3 เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

23 น้อย มีค่าคะแนนเท่ากับ 2 ไม่มีเลย มีค่าคะแนนเท่ากับ 1 1.2 คานวณหาผลรวมของคะแนนจากแบบประเมินที่ได้รับคืนทั้งหมด 1.3 นาคะแนนเต็มของแบบประเมินมาคูณด้วยจานวนแบบประเมินที่ส มบูรณ์ที่ได้รับคืน ทั้งหมด โดยที่คะแนนเต็มสาหรับแบบประเมินด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ = 56 คะแนน 1.4 คานวณคะแนนระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจในการทางาน เป็นร้อยละตามสูตรที่กาหนด ผลตามข้อ 1.2 ผลตามข้อ 1.3X 100 1.5 เปรี ยบเทีย บร้ อยละของคะแนนระดับความคิดเห็ นในความส าคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญ กาลังใจฯ กับเกณฑ์ ดังนี้ 90 – 100% หมายถึง ความคิดเห็นในความสาคัญฯ อยู่ในระดับมากที่สุด 80 – 89.99% หมายถึง ความคิดเห็นในความสาคัญฯ อยู่ในระดับมาก 70 – 79.99% หมายถึง ความคิดเห็นในความสาคัญฯ อยู่ในระดับปานกลาง ต่ากว่า 70% หมายถึง ความคิดเห็นในความสาคัญฯ อยู่ในระดับน้อย 2. ด้านความพึงพอใจในการทางาน วิเคราะห์ข้อมูลตามแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความ คิดเห็นในความสาคัญของแรงจูงใจฯ (ข้อ 1.1 - 1.5) หมายเหตุ การวิเคราะห์ข้อมูลสามารถดาเนินการในระดับสถานบริการสุขภาพ และหรือสานักงานสาธารณสุข จังหวัด ด้วยการแจงนับ หรือใช้โปรแกรม SPSS version 11.5 ขึ้นไป โดยมีคู่มือการลงรหัสวิเคราะห์ ข้อมูล และ template ตามโปรแกรม SPSS ที่แนบมาพร้อมนี้ การแปลผลและการนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ สถานบริการสุขภาพ และหรือสานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถวิเคราะห์ข้อมูล แปลผล และ นาผลการวิเคราะห์ไปพัฒนาปรับปรุงงานตามรายละเอียด ดังนี้ 1. แปลผลจาแนกตามสถานที่ปฏิบัติงาน สายงาน ประเภทการทางาน ลักษณะงาน 2. แปลผลแยกเป็นแต่ละประเด็น (14 ประเด็น) และหรือแปลผลเป็นร้อยละในภาพรวม โดย นาผลจากระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจฯ เปรียบเทียบกับความพึงพอใจใน การทางาน 3. จัดลาดับจากประเด็นที่มีคะแนนสูงของผลต่างระหว่างระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้าน แรงจูงใจฯ กับความพึงพอใจฯ และใช้แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึง พอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ นาไปกาหนดเป็นนโยบายและแผนการดาเนินการ ต่อไป 4. กรณีที่ประเด็นด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจไม่สามารถดาเนินการได้ในระดับพื้นที่ ให้รวบรวม ข้อมูล เพื่อเสนอผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขต่อไป เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

24 การรายงานผล ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดรวบรวมข้อมูลเพื่อการนาเสนอในภาพของ จังหวัด ตามรอบการตรวจราชการ รอบแรก รายงาน 1. ผลการสารวจร้อยละของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากร สุขภาพ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข หมายถึง 1.1 ร้อยละของระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ ในการทางานของ บุคลากรสุขภาพ 1.2 ร้อยละของความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ 2. แผนการดาเนินงานตามแนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการ ทางานของบุคลากรสุขภาพ รอบที่ 2 รายงานผลการดาเนินงานตามแผนการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจ ในการทางานของบุคลากรสุขภาพ หมายเหตุ

โปรดส่ ง ข้ อ มู ล แต่ ล ะรอบของการตรวจราชการมาที่ ส านั ก การพยาบาล ส านั ก งาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือ e – mail : [email protected] สมจิตต์ วงศ์สุวรรณสิริ มือถือ 089-992-3090 โทรสาร 02-590-6295

เอกสารแนบท้ายตัวชี้วัด 0402.3 เอกสารหมายเลข 3 แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

25 วิธีใช้ 1. แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ และขวัญกาลังใจนี้ใช้คู่กับแบบสอบถามแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความ พึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 2. หน่วยงานสามารถดาเนินการเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานของ บุคลากรสุขภาพ นอกเหนือจากที่กาหนดในแนวทางนี้ได้ วัตถุประสงค์และแนวคิดการพัฒนาแนวทาง เพื่อเป็นแนวทางการดาเนินการให้เกิดความพึงพอใจในการทางาน ของบุ คลากรสุ ขภาพ พัฒ นาจากแนวคิดแรงจูงใจ (Motivation Theory) แนวคิดคุณภาพชีวิตในการทางาน (Quality of Work Life) และแนวคิดโรงพยาบาลดึงดูดใจ (Magnet Hospital) โดยประยุกต์ให้เข้ากับบริบทการ ทางานของหน่วยงานภาครัฐ ให้สอดคล้องกับข้อกาหนดของสถานที่ทางานน่าอยู่ (Healthy Workplace) แนวทางการส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพตามประเด็นการ สอบถาม (เอกสารหมายเลข 2) ข้อที่ ประเด็นการสอบถาม

กิจกรรมที่ควรจัดให้มีขึ้นในองค์กร

1

ความสาเร็จในงานที่ ปฏิบัติ

2

การได้รับความยอมรับ - มีระบบการให้รางวัลแก่ผู้ที่มผี ลงาน นับถือ ดีเด่นทั้งในระดับหน่วยงาน และ ระดับองค์กร - มีการสร้างความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ของแต่ละวิชาชีพในทีม สหวิชาชีพ

3

ความก้าวหน้าใน ตาแหน่งการงาน

- จัดระบบ career path ในแต่ละ ตาแหน่งการงาน

4

หน้าที่ความรับผิดชอบ

-

ดาเนินการแล้ว

การดาเนินการ มีแผน แต่ยังไม่ได้ ดาเนินการ

ไม่มีแผนในการ ดาเนินการ

มีการส่งเสริมสนับสนุนให้บคุ ลากร ปฏิบัติงานโดยใช้ความรู้ ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ -

มีการสร้างความเข้าใจและให้ ความสาคัญในบทบาทหน้าที่ของแต่ ละวิชาชีพในทีมสหวิชาชีพ

การดาเนินการ

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

26 ข้อที่ ประเด็นการสอบถาม 5

ภาระงานที่เหมาะสม

กิจกรรมที่ควรจัดให้มีขึ้นในองค์กร

ดาเนินการแล้ว

มีแผน แต่ยังไม่ได้ ดาเนินการ

ไม่มีแผนในการ ดาเนินการ

- มีข้อกาหนดในการจัดเวลาใน

การทางานของบุคลากรให้ สมดุลกับเวลาส่วนตัว 6

นโยบายการพัฒนา บุคลากร/งาน

-

7

การบริหารงานที่เป็น ธรรม

- มีการกาหนดเกณฑ์ในการ ประเมินผลงานและพิจารณาความดี ความชอบ - มีระบบการประเมินที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ - มีการแจ้งผลการประเมินให้ทราบ เป็นรายบุคคล

8

การมีสมั พันธภาพที่ดี กับผู้ร่วมงาน/ ผู้บริหาร

-

9

10

มีระบบการพัฒนาบุคลากรที่ สอดคล้องกับความต้องการของ บุคลากรและ service plan

มีกิจกรรมการสร้างสัมพันธภาพที่ดี ระหว่าง ผู้บริหารและบุคลากร - มีการกาหนดแนวทางการสื่อสาร/ ประสานงานระหว่างสหวิชาชีพ เพื่อ สร้างความร่วมมือที่ดีและป้องกันการ เกิดความขัดแย้ง รายได้/ค่าตอบแทน - มีการทบทวนรายได้/ค่าตอบแทน ต่าง ๆ ต่างๆ และปรับให้เป็นธรรม โดย สอดคล้องกับภาวะการเงินของ โรงพยาบาลและกฎระเบียบต่าง ๆ สวัสดิการที่ - มีการจัดที่อยู่อาศัยสาหรับ นอกเหนือจากรายได้/ บุคลากรจบใหม่ และบุคลากรที่ ค่าตอบแทน ปฏิบัติงานยามวิกาล - มีการจัดสวัสดิการเยีย่ มไข้สมาชิก ในครอบครัวของบุคลากร - มีการจัดสถานที่ออกกาลังกาย (fitness หรือสนามกีฬา) - มีการจัดแข่งขันกีฬาประจาปี

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

27

ข้อที่ ประเด็นการสอบถาม

กิจกรรมที่ควรจัดให้มีขึ้นในองค์กร

10

สวัสดิการที่ - มีกิจกรรมส่งเสริม/การรณรงค์การ นอกเหนือจากรายได้/ ออกกาลังกาย เช่น แอโรบิค ฮูลาฮูบ ค่าตอบแทน (ต่อ) ปั่นจักรยาน โยคะ เป็นต้น - มีโปรแกรมการตรวจสุขภาพ ประจาปีสาหรับบุคลากรที่สอดคล้อง กับภาวะสุขภาพและลักษณะงานที่ บุคลากรปฏิบัติ - มีการฉีดวัคซีนสร้างภูมคิ ุ้มกัน ไข้หวัด หรืออื่นๆ - มีการตรวจวัดความเครียด (Stress test) - มีการจัดบริการให้คาปรึกษา สาหรับบุคลากรสุขภาพ

11

ความมั่นคงของหน้าที่ การงาน

- มีเวทีประชุม/พบปะระหว่าง ผู้บริหารและกลุม่ พนักงานของรัฐ กลุ่มลูกจ้าง เพื่อเพิ่มความมั่นใจใน ความมั่นคงของหน้าที่การงาน

12

โอกาสความ ก้าวหน้า ในงาน

- จัดระบบ Career path ในแต่ละ ตาแหน่งการงาน

13

สภาพแวดล้อม อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่เพียงพอ เหมาะสม/ปลอดภัย

- มีการประเมินและปรับปรุงสถานที่ ทางานตามเกณฑ์สถานที่ทางานน่า อยู่น่าทางานของกรมอนามัย - มีการจัดระบบให้มีอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เพื่อความ เพียงพอ เหมาะสม/ปลอดภัย

14

ความสมดุลระหว่าง งานและชีวิตส่วนตัว

-

ดาเนินการแล้ว

การดาเนินการ มีแผน แต่ยังไม่ได้ ดาเนินการ

ไม่มีแผนในการ ดาเนินการ

มีข้อกาหนดในการจัดเวลาในการ ทางานของบุคลากรให้สมดุลกับชีวิต ส่วนตัวหรือการจัดการให้การทางาน มีความสมดุลกับการพักผ่อน เป็นต้น

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

28 เอกสารแนบท้ายตัวชี้วัด 0402.3 เอกสารหมายเลข 2

แบบสอบถาม แรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

คาชี้แจง แบบสอบถามแรงจูงใจ ขวัญกาลั งใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุขนี้ สร้างจากแนวคิดของ Herzberg มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพ และ ประเมินผลลัพธ์ของกระบวนการบริหารจัดการด้านบุคลากรในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และ ความพึงพอใจในการทางาน ผู้ตอบแบบสอบถามชุดนี้ คือ บุคลากรสุขภาพที่ให้บริการแก่ผู้ป่วยและประชาชน ทั้ง ที่เป็นข้าราชการ พนักงานของรัฐและลูกจ้าง ซึ่งปฏิบัติงานที่หน่วยงานในระบบสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขได้แก่ แพทย์ ทันต แพทย์ เภสัชกร พยาบาล และบุคลากรสุขภาพอื่นๆ แบบสอบถามชุดนี้แบ่งออกเป็น 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ระดับแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ ซึง่ ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ 1) ระดับความคิดเห็นในความสาคัญด้านแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ ในแต่ละประเด็นของการ สอบถาม 2) ความคิดเห็นด้านความพึงพอใจในการทางานในแต่ละประเด็นของการสอบถาม ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะในการดาเนินงานเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจฯ ขอความร่ วมมื อท่ านในการตอบแบบสอบถามตามความเป็ นจริ งโดยข้ อมู ลนี้ จะน ามาวิ เคราะห์ ในภาพรวม ผลการวิเคราะห์ไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ต่อท่าน หากแต่นามาใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุง พัฒนากระบวนการบริหาร จัดการบุคลากรในระบบบริการสุขภาพ ส่งผลให้บริการมีคุณภาพยิ่งขึ้น หมายเหตุ ในกรณี ที่ ส ถานบริ ก ารสุ ขภาพได้น าแบบสอบถามนี้ ไปใช้แ ละมี การพัฒ นาอย่า งต่ อ เนื่ อ ง สามารถปรับแบบสอบถามในตอนที่ 2 ให้มีเฉพาะคาถามความพึงพอใจได้

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

29 ตอนที่ 1

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม  ชาย

1. เพศ

 หญิง

อายุ…………ปี

สถานทีป่ ฏิบัตงิ าน  โรงพยาบาลศูนย์  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล  โรงพยาบาลสังกัดกรมอนามัย  โรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต

2.

Health Cและวางกรอบการ

ประเมินผลการจัดบริการ ส่งเสริมป้องกันของกองทุน ทันตกรรมode …………

 โรงพยาบาลทั่วไป  โรงพยาบาลชุมชน  โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์  โรงพยาบาลสังกัดกรมควบคุมโรค  อื่นๆ...............................................

3. เขต ...................... แพทย์  พยาบาลวิชาชีพ  พยาบาลเทคนิค เจ้าหน้าที่พยาบาล  ทันตแพทย์  เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข เภสัชกร  เจ้าพนักงานเภสัชกรรม  นักโภชนาการ โภชนากร  นักจิตวิทยา  นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข  เจ้าพนักงานสาธารณสุข  นักรังสีการแพทย์ เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์  นักกายภาพบาบัด  นัก/ช่างกายอุปกรณ์  นักอาชีวบาบัด  เจ้าพนักงานอาชีวบาบัด  นักกิจกรรมบาบัด  เจ้าพนักงานเวชกรรมฟื้นฟู  นักเทคนิคการแพทย์  นักการแพทย์แผนไทย  นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย  เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์  อื่นๆ (ระบุ)....................................................

4. สายงาน

     

5. ประเภท/ระยะเวลาปฏิบัติงาน  ข้าราชการ เป็นเวลา .................... ปี  พนักงานของรัฐ เป็นเวลา .................... ปี  ลูกจ้างชั่วคราว เป็นเวลา .................... ปี  ลูกจ้างประจา เป็นเวลา .................... ปี 6. ลักษณะการให้บริการแก่ผู้ป่วยและประชาชน  ให้บริการโดยตรง

 ไม่ได้ให้บริการโดยตรง( ระบุการให้บริการ) ......................................

7. กรณีที่เป็นพยาบาลปฏิบตั ิงานในหน่วยงาน  งานบริหารกลุ่มการพยาบาล  งานผูป้ ่วยนอก  งานบริการปรึกษาด้านสุขภาพ  งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน  งานผูป้ ่วยใน  งานผูป้ ่วยหนัก  งานฝากครรภ์  งานห้องคลอด  งานวิสัญญี  งานห้องผ่าตัด  งานควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ  งานบริการพยาบาลในชุมชน  อื่นๆ(ระบุ) ...............................................

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

17 ตอนที่ 2 ระดับแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจในการทางานของบุคลากรสุขภาพ คาชี้แจง โปรดอ่านข้อความและทาเครื่องหมาย  ลงช่องระดับความสาคัญของแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจและระดับความพึง พอใจ ระดับความสาคัญ ข้อ ที่

ประเด็นการ สอบถาม

คาถามแรงจูงใจ ขวัญ กาลังใจ

ไม่มี เลย

น้อย

ปาน กลาง

ระดับความพึงพอใจ มาก

คาถามความพึงพอใจ

1 ความสาเร็จในงานที่ ปฏิบัติ

ข้าพเจ้าเห็นว่าความสาเร็จใน งานที่ปฏิบัติ จูงใจให้ ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน ความสาเร็จของงานที่ ข้าพเจ้าปฏิบัติ

2 การได้รับความ ยอมรับนับถือ

ข้าพเจ้าเห็นว่าการได้รับความ ยอมรับนับถือจากผู้ร่วมงาน ผู้บริหาร จูงใจให้ข้าพเจ้า เกิดขวัญกาลังใจในการ ทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน การได้รับความยอมรับ นับถือจากผู้ร่วมงาน ผู้บริหาร

3 ความก้าวหน้าใน ตาแหน่งการงาน

ข้าพเจ้าเห็นว่าการได้รับ ความก้าวหน้าในตาแหน่ง การงาน จูงใจให้ข้าพเจ้า เกิดขวัญกาลังใจในการ ทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน ความก้าวหน้าใน ตาแหน่งการงานของ ข้าพเจ้า

4 หน้าที่ความ รับผิดชอบ

ข้าพเจ้าเห็นว่าหน้าที่ความ รับผิดชอบ จูงใจให้ข้าพเจ้า เกิดขวัญกาลังใจในการ ทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน หน้าที่ความรับผิดชอบ ของข้าพเจ้า

5 ภาระงานที่เหมาะ

ข้าพเจ้าเห็นว่าภาระงานที่ เหมาะสม จูงใจให้ข้าพเจ้า เกิดขวัญกาลังใจในการ ทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน ภาระงานที่เหมาะสม ของข้าพเจ้า

สม

ไม่พอใจ

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

น้อย

ปาน กลาง

มาก

18 6 นโยบายการพัฒนา บุคลากร/งาน

ข้าพเจ้าเห็นว่านโยบายการ พัฒนาบุคลากร/งาน จูงใจ ให้ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน นโยบายการพัฒนา บุคลากร/งานของ ผู้บริหาร

7 การบริหารงานที่ เป็นธรรม

ข้าพเจ้าเห็นว่าการบริหาร งานที่เป็นธรรม จูงใจให้ ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน การบริหารงานที่เป็น ธรรม

ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุดเพียงช่องเดียว

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

19

ระดับความสาคัญ ข้อ ที่

ประเด็นการ สอบถาม

คาถามแรงจูงใจ ขวัญ กาลังใจ

ไม่มี เลย

น้อย

ปาน กลาง

ระดับความพึงพอใจ มาก

คาถามความพึงพอใจ

8 การมีสมั พันธภาพที่ ดีกับผู้ร่วมงาน/ ผู้บริหาร

ข้าพเจ้าเห็นว่าการมี สัมพันธภาพที่ดีกับผู้ร่วมงาน/ ผู้บริหาร จูงใจให้ข้าพเจ้า เกิดขวัญกาลังใจในการ ทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน สัมพันธภาพที่ดีกับ ผู้ร่วมงาน/ผู้บริหาร

9 รายได้/ค่าตอบแทน ต่างๆ

ข้าพเจ้าเห็นว่ารายได้/ ค่าตอบแทนต่างๆ จูงใจให้ ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจในรายได้/ ค่าตอบแทนต่าง ๆ ที่ ข้าพเจ้าได้รับในปัจจุบัน

10 สวัสดิการที่ นอกเหนือจาก รายได้/ค่าตอบแทน

ข้าพเจ้าเห็นว่าสวัสดิการที่ นอกเหนือจากรายได้/ ค่าตอบแทน จูงใจให้ ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน สวัสดิการ นอกเหนือจาก รายได้/ค่าตอบแทนที่ ข้าพเจ้าได้รับในปัจจุบัน

11 ความมั่นคงของ หน้าที่การงาน

ข้าพเจ้าเห็นว่าความมั่นคง ของหน้าที่การงาน จูงใจให้ ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจในความ มั่นคงของหน้าที่การงานที่ ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติในปัจจุบัน

12 โอกาสความ ก้าวหน้าในงาน

ข้าพเจ้าเห็นว่าโอกาส ความก้าวหน้าในงาน จูงใจ ให้ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจในโอกาส ความก้าวหน้าในงานของ ข้าพเจ้า

13 สภาพแวดล้อม อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่เพียงพอ เหมาะสม/ปลอดภัย

ข้าพเจ้าเห็นว่าสภาพแวดล้อม อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ เพียงพอ เหมาะสม จูงใจให้ ข้าพเจ้าเกิดขวัญกาลังใจใน การทางาน

ข้าพเจ้าพึงพอใจใน สภาพแวดล้อม อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่เพียงพอ เหมาะสม/ปลอดภัย

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

ไม่ พอใจ

น้อย

ปาน กลาง

มาก

20 14 ความสมดุลระหว่าง ข้าพเจ้าเห็นว่าความสมดุล งานและชีวิตส่วนตัว ระหว่างงานและชีวิตส่วนตัว จูงใจให้ข้าพเจ้าเกิดขวัญ กาลังใจในการทางาน

ตอนที่ 3

ข้าพเจ้าพึงพอใจในความ สมดุลระหว่างงานและชีวิต ส่วนตัวของข้าพเจ้า

ข้อเสนอแนะในการดาเนินงานเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และความพึงพอใจฯ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

21

ภารกิจที่ 2 : การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 4 : การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวข้อที่ 4.3 : ระบบการควบคุมภายใน สถานการณ์และสภาพปัญหา ส านั กงานการตรวจเงิน แผ่ น ดิ น มี ความมุ่ง มั่น ที่จ ะพิ ทัก ษ์รั กษาเงิน ของแผ่ น ดิน ไทยที่ มาจากภาษี อากรของ ประชาชนไทย สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหวงแหนทรัพย์สมบัติของประเทศชาติที่ได้รับจากบรรพบุรุษผู้แลกมาด้วยเลือด เนื้อ ชีวิต และถ่ายโอนมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งจะสืบทอดไปยังรุ่นลูก หลาน เหลนต่อไป การบริหารราชการแผ่นดินที่มีระบบ ระเบียบ และ คุณธรรม องค์ประกอบเหล่านี้ต้องมีการค้นหาและพบให้ได้ ด้วยวิธีปฏิบัติที่เป็นไปโดยธรรมชาติและยั่งยืน ระบบการควบคุม ภายในที่มีมาตรฐาน ไม่ใช่สิ่งที่เป็นวิชาการด้านเดียว หากแต่เป็นการปฏิบัติที่สามารถตรวจสอบได้ถึงอุดมคติและจริยธรรมที่ซ่อน เร้นในตัวบุคลากรทุกระดับขององค์กรตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง จนถึงพนักงานผู้ปฏิบัติระดับล่าง สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตระหนักถึงความจาเป็นของการสนับสนุนและส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจซึ่งเป็นองค์กรต่าง ๆ ทั้งส่วนราชการ รัฐวิ สาหกิจ และ หน่วยงานท้องถิ่น มีระบบการควบคุมภายในที่ดี ซึ่งนอกจากจะทาให้การดาเนินงานบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์แล้ว ยัง ส่งเสริมให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีอีกด้วย เพื่อให้หน่วยงานในจังหวัดมีการจัดทาระบบควบคุมภายในตามระเบียบของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่า ด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2554 ซึ่งได้กาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้ อมของการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมิน ความเสี่ ยง (Risk Assessment) 3. กิจ กรรมการควบคุม (Control Activities) 4. สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communications) 5. การติดตามประเมิน ผล (Monitoring) ทั้งนี้การจัดทาระบบควบคุมภายในด้วยวิธีการจัดทาที่ถูกต้องตามระเบียบ มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการควบคุม ภายในที่กาหนดไว้พร้อมทั้งปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้ และสามารถจัดส่งรายงานให้สานักงานคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินได้ทันตามกาหนดเวลาที่ระเบียบกาหนดไว้

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินงาน (operation Objective) ได้แก่การปฏิบัติงาน และการใช้ทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิ ทธิผล รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความ ผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลืองหรือการทุจริตในหน่วยงาน เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

22 2. เพื่อให้เกิดความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน (Financial Report Objective) ได้แก่ การจัดทารายงาน ทางการเงินที่ใช้ภายในและภายนอกหน่วยงานให้เป็นไปอย่างถูกต้อง เชื่อถือได้ และทันเวลา 3. เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง (Compliance Objectives) ได้แก่ การ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมิติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของหน่วยงาน รวมทั้งการปฏิบัติตาม นโยบาย และวิธีการปฏิบัติงานที่หน่วยงานได้กาหนดขึ้น แนวทางการตรวจติดตาม จังหวัดและเครื อข่ายบริ การสุขภาพ (CUP) ต้องมีระบบการควบคุมภายในที่ว างไว้เพียงพอ เหมาะสม มี ประสิทธิภาพและมีการปฏิบัติจริง การควบคุมภายในดาเนินไปอย่างมีประสิทธิผล ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบและสอบทานอื่น ๆ ได้ รั บ การแก้ ไ ขอย่ า งเหมาะสมและทั น เวลา การควบคุ ม ภายในได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ที่ เปลี่ยนแปลงไป ผลลัพธ์ที่ต้องการ จังหวัดและเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) สามารถดาเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในที่ดี ตัวชี้วัด 1 มีการกาหนดผู้รับผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน 2 ดาเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานการควบคุมภายในสานักงาน การตรวจ เงินแผ่นดิน 3 มีการนาระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไปสู่การปฏิบัติ 4 การจัดทารายงานระดับองค์กร แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3 กรณีหน่วยงานย่อย แบบ ปย.1 แบบ ปย.2 และแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ระเบียบกาหนด 5 มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในและการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แบบการจัดทารายละเอียดตัวชี้วัด (KPI template) 1. คณะที่ 4 2. ภารกิจที่ 2 3. ประเด็นหลักที่ 4 4. หัวข้อที่..... 5. ยุทธศาสตร์กระทรวง 6. ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง 7. รหัสตัวชี้วัด 8. ชื่อตัวชี้วัด

การบริหารจัดการระบบสุขภาพ การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค การบริหารจัดการระบบสุขภาพ ระบบการควบคุมภายใน พัฒนาระบบบริหารและระบบบริการทางการแพทย์สาธารณสุขและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน ระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ เสริมสร้างให้ประชาชนไทยมีสุขภาพและจิตสานึก ที่ดีด้านสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน รหัส.......... ระดับความสาเร็จตามระบบการควบคุมภายใน

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

23 9. เกณฑ์

10. ผลงาน 10.1 รายการข้อมูล 10.2 นิยาม

ระดับความสาเร็จของการให้คะแนน แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ของหน่วยงาน ระดับที่ 2 ดาเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐาน การควบคุมภายในสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ระดับที่ 3 มีการนาระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไปสู่การปฏิบตั ิ ระดับที่ 4 การจัดทารายงานระดับองค์กร แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3 กรณีหน่วยงานย่อย แบบ ปย.1 แบบ ปย.2 และแล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่ระเบียบกาหนด ระดับที่ 5 มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในและการปรับปรุง ระบบการควบคุมภายในให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ การผ่านเกณฑ์ประเมินจังหวัดต้องดาเนินการตามระบบควบคุมภายใน ตั้งแต่ระดับที่ 1 – 4 จึงจะถือว่าผ่าน - ระดับความสาเร็จระดับที่ 1 – 4 (ระดับที่ 4 ตรวจผลการรายงานของ ปี 2554 ระดับที่ 1 – 3 ตรวจการดาเนินงานปี 2555) ในการติดตามรอบ ที่ 1 (รอบ 6 เดือน) - ระดับความสาเร็จระดับที่ 3 และ 5 ตรวจการดาเนินงานในปี 2555 ในการติดตามรอบที่ 2 (รอบ 12 เดือน) จังหวัดและ CUP ส่งหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในให้สานักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน ความหมายและวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการที่ผู้กากับดูแลฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับ ของหน่วยรับตรวจ กาหนดให้มีขึ้นเพื่อให้มีความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดาเนินงานจะ บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) การดาเนินงาน (Operation : O) หมายถึง การบริหารจัดการ การใช้ทรัพยากรให้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลด ความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลืองหรือการทุจริตของหน่วยรับตรวจ 2) การรายงานทางการเงิน (Financial : F) หมายถึง รายงานทางการเงินที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้ ภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ เป็นไปอย่างถูกต้อง เชื่อถือได้ และทันเวลา 3) การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง (Compliance : C) ได้แก่การ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของ หน่วยรับตรวจ รวมทั้งการปฏิบัติตามนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานที่องค์กรได้กาหนดขึ้น แนวคิดของการควบคุมภายใน 1) การควบคุม ภายในเป็ นกระบวนการที่ รวมไว้หรื อเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบั ติงาน ตามปกติก ารควบคุ มภายในมิใช่ เหตุก ารณ์ใดเหตุ การณ์ หนึ่ง และมิใช่ผลสุ ดท้ ายของกร กระท าแต่ เป็ นกระบวนการ (Process) ที่ มี ก ารปฏิ บั ติอ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง ก าหนดไว้ใน กระบวนการปฏิบัติงาน (Built in) ประจาวันตามปกติของหน่วยรับตรวจ ดังนั้นฝ่ายบริหาร จึงควรนาการควบคุมภายในมาใช้โดยรวมเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารงาน ซึ่งได้แก่ การวางแผน (Planning) การดาเนินการ (Executing) และการติดตามผล (Monitoring)

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

24 (ระดับที่ 3) 2) การควบคุมภายในเกิดขึ้นได้โดยบุคลากรของหน่วยรับตรวจ บุคลากรทุกระดับเป็นผู้ มีบทบาทสาคัญในการให้ความสนับสนุนระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจให้ มี ประสิทธิผล ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการกาหนดและจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิผลด้วยการสร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อมการควบคุม กาหนดทิศทาง กลไกการ ควบคุมและกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งการติดตามผลการควบคุมภายใน ส่วนบุคลากรอื่นของ หน่วยรับตรวจมีหน้าที่รับผิดชอบโดยการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ฝ่ายบริหาร กาหนดขึ้น (ระดับที่ 1) 3) การควบคุมภายในให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการปฏิบัติงานจะบรรลุผลสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดถึงแม้ว่าการควบคุมภายในจะออกแบบไว้ให้มีประสิทธิผลเพียงใดก็ ตามก็ไม่สามารถให้ความมั่ นใจว่าจะทาให้การดาเนินงานบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ อย่ างสมบู ร ณ์ต ามที่ ตั้งใจไว้ ทั้ งนี้ เ พราะการควบคุ มภายในมีข้ อจ ากัด เช่ น โอกาสที่ จ ะเกิ ด ข้อผิดพลาดจากบุคลากร เนื่องจากความไม่ระมัดระวัง ไม่เข้าใจคาสั่ง หรือการใช้ ดุลย พินิจผิดพลาด การสมรู้ร่ว มคิด การปฏิบัติผิดกฎหมายระเบียบและกฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ที่ สาคัญที่สุด คือ การที่ผู้บริหารหลีกเลี่ยงขั้นตอนของระบบการควบคุมภายในหรือใช้อานาจ ในทางที่ผิด นอกจากนี้การวางระบบการควบคุมภายในจะต้องคานึงถึงต้นทุนและผลประโยชน์ที่ เกี่ยวข้องกันว่าผลประโยชน์ที่ได้รับจากการควบคุมภายในจะคุ้มค่ากับต้นทุนที่เกิดขึ้น ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน “การควบคุมภายในเป็นเครื่องมือที่ผู้บริหารนามาใช้เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดาเนินงานจะบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด” คาว่า “การควบคุมภายใน” หรือ “ระบบการควบคุมภายใน” เป็นสิ่งที่ผู้บริหารระดับสูง ของหน่วยรับตรวจทุกคนควรให้ความสาคัญเพราะเป็นพันธกรณีที่สาคัญ ซึ่งจะช่วยให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างสาเร็จลุล่วงตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ ดังนั้นการ ออกแบบการควบคุมภายในอย่างเหมาะสม และการติดตามผลการปฏิบัติตามระบบการควบคุม ภายในที่ฝ่ายบริหารกาหนด รวมทั้งการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ผู้บริหารได้รับทราบ จุดอ่อนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขให้หน่วยรับตรวจสามารถปฏิบัติงานได้สาเร็จ ตามนโยบายและวัตถุประสงค์อย่างต่อเนื่อง มาตรฐานการควบคุมภายใน มาตรฐานการควบคุ ม ภายในที่ ค ณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนด มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) 5. การติดตามประเมินผล (Monitoring) (ระดับที่ 2) องค์ประกอบทั้ง 5 ประการ มีความเนื่องสัมพันธ์กันโดยมีสภาพแวดล้อมของการควบคุม เป็นรากฐานที่สาคัญขององค์ประกอบอื่น ๆ องค์ประกอบทั้ง 5 นี้ เป็นสิ่งจาเป็นที่มีอยู่ในการ ดาเนินงานตามภารกิจของหน่วยรับตรวจเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ของหน่วยรับตรวจ 3 ประการ คือ - การดาเนินงานเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ - รายงานทางการเงินน่าเชื่อถือ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

25 - มีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง การรายงานต่ อ คณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ นและคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผล ประจาประทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) หรือคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผลประจาจังหวัด (ส่วนภูมิภาค) ภายในวันที่ 30 ธันวาคม โดยให้หน่วยรับตรวจ จัดส่งเฉพาะหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในเพียงฉบับเดียว สาหรับรายงาน อื่นให้จัดเก็บไว้ที่หน่วยรับตรวจเพื่อให้หัวหน้าส่วนราชการและเจ้าหน้าที่สานักงานการตรวจ เงินแผ่นดินและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องเรียกดูและสอบทานต่อไป (ระดับที่ 4)

10.3

10.4 แหล่งข้อมูล

การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผล เป็นวิธีการที่ช่วยให้ฝ่ายบริหารมีความมั่นใจว่าระบบการควบคุม ภายในมีการปฏิบัติตาม ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผล โดยการติดตามผลใน ระหว่างการปฏิบัติงานและการประเมินผลเป็นรายครั้ง อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อให้ ความมั่ นใจว่า ระบบการควบคุม ภายในที่ก าหนดหรือ ออกแบบไว้เพีย งพอ เหมาะสม มี ประสิทธิผลหรือต้องปรับปรุง การติดตามประเมินผล หมายถึง การะบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและ ประเมินประสิทธิผลของกาควบคุมภายในที่กาหนดไว้อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อให้เกิด ความมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไว้มีความเพียงพอและเหมาะสม มี การ ปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในจริง ข้อบกพร่องที่พบได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสมและ ทันเวลา (ระดับที่ 5) ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อการติดตามประเมินผล ผู้บริหารต้องกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบการติดตามประเมินผลเกี่ยวกับความเพียงพอและ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง และกาหนดให้การติดตามประเมินผลเป็น ส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานและจัดทารายงานเสนอต่อผู้บริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ หรือคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการโดยตรง ผู้บริหารได้รับรายงานการ ติดตามการประเมินผล ควรดาเนินการดังนี้ - พิจารณาวิธีการปรับปรุงแก้ไขการควบคุมจากผลการประเมินฯ - กาหนดมาตรการที่เหมาะสมสาหรับการดาเนินการตามข้อเสนอแนะ - สั่งการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง - ชี้แจงถึงเหตุผลที่ไม่จาเป็นต้องดาเนินการใด ๆ ตามข้อเสนอแนะ(ระดับที่ 1,5) รายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ประจา ประทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) หรือคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจาจังหวัด (ส่วนภูมิภาค) ภายในวันที่ 30 ธันวาคม โดยให้หน่วยรับตรวจจัดส่งเฉพาะหนังสือรับรองการ ประเมินผลการควบคุมภายในเพีย งฉบับเดียว สาหรับรายงานอื่นให้จัดเก็บไว้ที่หน่วยรับตรวจ เพื่ อ ให้ หั ว หน้ า ส่ ว นราชการและเจ้ า หน้ า ที่ ส านั ก งานการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น และบุ ค คลอื่ น ที่ เกี่ยวข้องเรียกดูและสอบทานต่อไป สานักงานสาธารณสุขจังหวัด / CUP

11. กลุ่มเป้าหมาย 11.1 รายการข้อมูล

เหมือน 10.1

11.2 นิยาม

เหมือน 10.2

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

26 11.3 วิธีรายงาน

เหมือน 10.3

11.4 แหล่งข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด / CUP

12. การประมวลผลตัวชี้วัด 13. เกณฑ์การให้คะแนน

ไม่มี การผ่านเกณฑ์จังหวัดต้องดาเนินการตามระบบควบคุมภายในตั้งแต่ระดับที่ 1 – 4 จึงจะถือว่า ผ่าน เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 2 3 4

5

กิจกรรม

ได้คะแนน

มีการกาหนดผู้รบั ผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ของหน่วยงาน ดาเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานการ ควบคุมภายในสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน มีการนาระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไปสู่การปฏิบัติ

1

การจัดทารายงานระดับองค์กร แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ. 3 กรณีหน่วยงานย่อย แบบ ปย.1 แบบ ปย.2 และแล้ว เสร็จภายในระยะเวลาทีร่ ะเบียบกาหนด มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในและการปรับปรุงระบบการ ควบคุมภายในให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

4

14. ผู้รับผิดชอบ / ผู้ประสานงานตัวชี้วัด กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. นางพรทิพย์ วงศ์รัตนพงษ์ นักวิชาการตรวจสอบภายในระดับเชี่ยวชาญ โทรศัพท์ 02-590-2345 โทรสาร 02-590-2337 2. นางธัญชนก เสาวรัจ นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-590-2344 โทรสาร 02-590-2337 e - mail : [email protected]

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

2 3

5

27 คณะที่ 4 การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวข้อที่ 3 : ระบบการควบคุมภายใน แบบการจัดทารายละเอียดตัวชี้วัด (KPI template) ของรหัสตัวชี้วัด ........ 1. คณะที่ 4 2. ภารกิจที่ 2 3. ประเด็นหลักที่ 4 4. หัวข้อที่..... 5. ยุทธศาสตร์กระทรวง 6. ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง 7. รหัสตัวชี้วัด 8. ชื่อตัวชี้วัด 9. เกณฑ์

การบริหารจัดการระบบสุขภาพ การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค การบริหารจัดการระบบสุขภาพ ระบบการควบคุมภายใน พัฒนาระบบบริหารและระบบบริการทางการแพทย์สาธารณสุขและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน ระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ เสริมสร้างให้ประชาชนไทยมีสุขภาพและจิตสานึก ที่ดีด้านสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน รหัส.......... ระดับความสาเร็จตามระบบการควบคุมภายใน ระดับความสาเร็จของการให้คะแนน แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 มีการกาหนดผู้รับผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ของหน่วยงาน ระดับที่ 2 ดาเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐาน การควบคุมภายในสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ระดับที่ 3 มีการนาระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไปสู่การปฏิบัติ ระดับที่ 4 การจัดทารายงานระดับองค์กร แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3 กรณีหน่วยงานย่อย แบบ ปย.1 แบบ ปย.2 และแล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่ระเบียบกาหนด ระดับที่ 5 มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในและการปรับปรุง ระบบการควบคุมภายในให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ การผ่านเกณฑ์ประเมินจังหวัดต้องดาเนินการตามระบบควบคุมภายใน ตั้งแต่ระดับที่ 1 – 4 จึงจะถือว่าผ่าน - ระดับความสาเร็จระดับที่ 1 – 4 (ระดับที่ 4 ตรวจผลการรายงานของ ปี 2554 ระดับที่ 1 – 3 ตรวจการดาเนินงานปี 2555) ในการติดตามรอบ ที่ 1 (รอบ 6 เดือน) - ระดับความสาเร็จระดับที่ 3 และ 5 ตรวจการดาเนินงานในปี 2555 ในการติดตามรอบที่ 2 (รอบ 12 เดือน)

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

28 10. ผลงาน 10.1 รายการข้อมูล 10.2 นิยาม

จังหวัดและ CUP ส่งหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในให้ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ความหมายและวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการที่ผู้กากับดูแลฝ่ายบริหารและ บุคลากรทุกระดับของหน่วยรับตรวจ กาหนดให้มีขึ้นเพื่อให้มีความมั่นใจอย่าง สมเหตุสมผลว่าการดาเนินงานจะบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) การดาเนินงาน (Operation : O) หมายถึง การบริหารจัดการ การใช้ ทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการดูแลรักษา ทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การ สิ้นเปลืองหรือการทุจริตของหน่วยรับตรวจ 2) การรายงานทางการเงิน (Financial : F) หมายถึง รายงานทางการเงิน ที่จั ดท าขึ้น เพื่ อ ใช้ ภ ายในและภายนอกหน่ ว ยรั บตรวจ เป็ นไปอย่ างถู กต้ อ ง เชื่อถือได้ และทันเวลา 3) การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง (Compliance : C) ได้แก่การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติ คณะรั ฐ มนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของหน่ว ยรับตรวจ รวมทั้ง การ ปฏิบัติตามนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานที่องค์กรได้กาหนดขึ้น แนวคิดของการควบคุมภายใน 1) การควบคุมภายในเป็นกระบวนการที่รวมไว้หรือเป็นส่วนหนึ่งในการ ปฏิบัติงานตามปกติการควบคุมภายในมิใช่เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง และ มิใช่ผลสุดท้ายของกรกระทาแต่เป็นกระบวนการ (Process) ที่มีการปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งกาหนดไว้ในกระบวนการปฏิบัติงาน (Built in) ประจาวัน ตามปกติของหน่วยรับตรวจ ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงควรนาการควบคุมภายใน มาใช้ โ ดยรวมเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกระบวนการบริ ห ารงาน ซึ่ ง ได้ แ ก่ การ วางแผน (Planning) การดาเนินการ (Executing) และการติดตามผล (Monitoring) (ระดับที่ 3) 2) การควบคุมภายในเกิดขึ้น ได้ โ ดยบุค ลากรของหน่ วยรั บตรวจ บุคลากรทุกระดับเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการให้ความสนับสนุนระบบการ ควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจให้มีประสิทธิผล ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบ ในการกาหนดและจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลด้วยการ สร้ า งบรรยากาศ สภาพแวดล้อ มการควบคุ ม ก าหนดทิศ ทาง กลไกการ ควบคุมและกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งการติดตามผลการควบคุมภายใน ส่วน บุคลากรอื่นของหน่วยรับตรวจมีหน้าที่รับผิดชอบโดยการปฏิบัติตามระบบ การควบคุมภายในที่ฝ่ายบริหารกาหนดขึ้น (ระดับที่ 1) 3) การควบคุมภายในให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการปฏิบัติงาน จะบรรลุผ ลส าเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดถึงแม้ว่าการควบคุมภายในจะ

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

29 ออกแบบไว้ให้มีประสิทธิผลเพียงใดก็ตามก็ไม่สามารถให้ความมั่นใจว่าจะทาให้ การดาเนินงานบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ไ ด้อย่างสมบูรณ์ตามที่ตั้งใจไว้ ทั้งนี้เพราะการควบคุมภายในมีข้อจากัด เช่น โอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดจาก บุ ค ลากร เนื่ อ งจากความไม่ ร ะมั ด ระวั ง ไม่ เ ข้ า ใจค าสั่ ง หรื อ การใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ผิ ด พลาด การสมรู้ ร่ ว มคิ ด การปฏิ บั ติ ผิ ด กฎหมายระเบี ย บและ กฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ที่ สาคัญที่สุด คือ การที่ผู้บริหารหลีกเลี่ยงขั้นตอนของ ระบบการควบคุมภายในหรือใช้อานาจในทางที่ผิด นอกจากนี้การวางระบบ การควบคุมภายในจะต้องคานึงถึงต้นทุนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกันว่า ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการควบคุมภายในจะคุ้มค่ากับต้นทุนที่เกิดขึ้น ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน “การควบคุมภายในเป็นเครื่องมือที่ผู้บริห ารนามาใช้เพื่อให้ความมั่นใจ อย่ า งสมเหตุ ส มผลว่า การดาเนินงานจะบรรลุ ผ ลส าเร็จ ตามวัตถุ ประสงค์ ที่ กาหนด” คาว่า “การควบคุมภายใน” หรือ “ระบบการควบคุมภายใน” เป็นสิ่งที่ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของหน่ ว ยรั บ ตรวจทุ ก คนควรให้ ค วามส าคั ญ เพราะเป็ น พัน ธกรณีที่ส าคัญ ซึ่งจะช่ว ยให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างส าเร็จลุล่ ว งตาม นโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ ดังนั้นการออกแบบการควบคุม ภายในอย่างเหมาะสม และการติดตามผลการปฏิบัติตามระบบการควบคุม ภายในที่ฝ่ายบริหารกาหนด รวมทั้งการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ ผู้บริหารได้รับทราบจุดอ่อนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขให้หน่วยรับ ตรวจสามารถปฏิบัติงานได้สาเร็จตามนโยบายและวัตถุประสงค์อย่างต่อเนื่อง มาตรฐานการควบคุมภายใน มาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) 5. การติดตามประเมิน ผล (Monitoring) (ระดับที่ 2) องค์ประกอบทั้ง 5 ประการ มีความเนื่องสัมพันธ์กันโดยมีสภาพแวดล้อม ของการควบคุมเป็นรากฐานที่สาคัญขององค์ประกอบอื่น ๆ องค์ประกอบทั้ง 5 นี้ เป็นสิ่งจาเป็นที่มีอยู่ในการดาเนินงานตามภารกิจของหน่วยรับตรวจเพื่อให้ การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ 3 ประการ คือ - การดาเนินงานเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ - รายงานทางการเงินน่าเชื่อถือ - มีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

30

การรายงานต่อ คณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น และคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผล ประจาประทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) หรือ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมิ น ผลประจ าจั ง หวั ด (ส่ ว นภู มิ ภ าค) ภายในวันที่ 30 ธันวาคม โดยให้ หน่วยรับตรวจจัดส่งเฉพาะหนังสือรับรอง การประเมินผลการควบคุมภายในเพียงฉบับเดียว สาหรั บรายงานอื่นให้ จั ด เก็ บ ไว้ ที่ ห น่ ว ยรั บ ตรวจเพื่ อ ให้ หั ว หน้ า ส่ ว นราชการและเจ้ า หน้ า ที่ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องเรียกดูและสอบทาน ต่อไป (ระดับที่ 4)

10.3

การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผล เป็นวิธีการที่ช่วยให้ฝ่ายบริหารมีความมั่นใจว่า ระบบการควบคุ ม ภายในมี ก ารปฏิ บั ติ ต าม ฝ่ า ยบริ ห ารต้ อ งจั ด ให้ มี ก าร ติดตามประเมินผล โดยการติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงานและการ ประเมินผลเป็นรายครั้ง อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อให้ความมั่นใจว่า ระบบการควบคุมภายในที่กาหนดหรื อออกแบบไว้เ พียงพอ เหมาะสม มี ประสิทธิผลหรือต้องปรับปรุง การติดตามประเมินผล หมายถึง การะบวนการประเมินคุณภาพการ ปฏิบัติงานและประเมินประสิทธิผลของกาควบคุมภายในที่กาหนดไว้อย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อให้เกิ ดความมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในที่ กาหนดไว้มีความเพียงพอและเหมาะสม มีการปฏิบัติตามระบบการควบคุม ภายในจริ ง ข้อบกพร่ องที่พบได้รั บการแก้ไ ขอย่า งเหมาะสมและทันเวลา (ระดับที่ 5) ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อการติดตามประเมินผล ผู้บริหารต้องกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบการติดตามประเมินผลเกี่ยวกับ ความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง และ กาหนดให้การติดตามประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานและจัดทา รายงานเสนอต่อผู้บริหารและคณะกรรมการตรวจสอบหรือคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการโดยตรง ผู้บริหารได้รั บรายงานการ ติดตามการประเมินผล ควรดาเนินการดังนี้ - พิจารณาวิธีการปรับปรุงแก้ไขการควบคุมจากผลการประเมินฯ - กาหนดมาตรการที่เหมาะสมสาหรับการดาเนินการตามข้อเสนอแนะ - สั่งการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง - ชี้แจงถึงเหตุผลที่ไ ม่จาเป็น ต้องดาเนิน การใด ๆ ตามข้อเสนอแนะ (ระดับที่ 1,5) รายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมิน ผล ประจ าประทรวงสาธารณสุ ข (ส่ ว นกลาง) หรือคณะกรรมการ

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

31 ตรวจสอบและประเมิน ผลประจาจัง หวั ด (ส่ ว นภูมิ ภ าค) ภายในวัน ที่ 30 ธันวาคม โดยให้หน่วยรับตรวจจัดส่งเฉพาะหนังสือรับรองการประเมินผลการ ควบคุมภายในเพียงฉบับเดียว สาหรับรายงานอื่นให้จัดเก็บไว้ที่หน่วยรับตรวจ เพื่อให้หัวหน้าส่วนราชการและเจ้าหน้าที่สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินและ บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องเรียกดูและสอบทานต่อไป 10.4 แหล่งข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด / CUP

11. กลุ่มเป้าหมาย 11.1 รายการข้อมูล

เหมือน 10.1

11.2 นิยาม

เหมือน 10.2

11.3 วิธีรายงาน

เหมือน 10.3

11.4 แหล่งข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด / CUP

12. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคานวณ) 13. เกณฑ์การให้คะแนน

ไม่มี การผ่านเกณฑ์จังหวัดต้องดาเนินการตามระบบควบคุมภายในตั้งแต่ระดับที่ 1 – 4 จึงจะถือว่าผ่าน เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่

กิจกรรม

ได้คะแนน

1

มีการกาหนดผู้รับผิดชอบในการจัดวางระบบการ ควบคุมภายในของหน่วยงาน ดาเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตาม มาตรฐานการควบคุมภายในสานักงานการตรวจ เงินแผ่นดิน มีการนาระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไปสู่การ ปฏิบัติ การจัดทารายงานระดับองค์กร แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3 กรณีหน่วยงานย่อย แบบ ปย.1 แบบ ปย.2 และแล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่ระเบียบกาหนด มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในและการ ปรับปรุงระบบการควบคุมภายในให้เป็นปัจจุบันอยู่ เสมอ

1

2 3 4

5

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

2 3 4

5

32

14. ผู้รับผิดชอบ / ผู้ประสานงานตัวชี้วัด กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. นางพรทิพย์ วงศ์รัตนพงษ์ นักวิชาการตรวจสอบภายในระดับเชี่ยวชาญ โทรศัพท์ 02-590-2345 โทรสาร 02-590-2337 2. นางธัญชนก เสาวรัจ นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-590-2344 โทรสาร 02-590-2337 e - mail : [email protected]

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

33 ภารกิจที่ ๒

:การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค

ประเด็นหลักที่๔ : การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวข้อที่ ๔.๔

: การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

ประเด็นสาคัญ : การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เรื่อง การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สถานการณ์และสภาพปัญหา ๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. ๒๕๕๐ กาหนดไว้ในหมวดที่ ๕ ส่วนที๓่ แนวนโยบาย ด้านการบริหารราชการแผ่นดินมาตรา ๗๘ (๔) บัญญัติว่า พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรมและ จริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทางาน เพื่อให้การบริหาราชการแผ่นดินเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ และส่งเสริม ให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ ๒. มาตรา ๒๗๙ กาหนดให้มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภทให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กาหนดขึ้น โดยจะต้องมีกลไกและระบบในการดาเนินงาน เพื่อให้การบังคับใช้เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกาหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทาการฝ่าฝื น หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม ให้ถือว่าเป็นการกระทาผิดทางวินัย ๓. ตามมาตรา ๗๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กาหนดให้ ส่วนราชการมีห น้าที่เพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้ข้าราชการพลเรือนมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ ประกอบกับสานักงาน ก.พ.ได้จัดทายุทธศาสตร์ การพัฒนาข้าราชการพลเรือนพ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๖ กาหนดทิศทางการพัฒนาข้าราชการพลเรือน ในระยะเวลา ๕ ปี โดยมุ่งเน้นใน เรื่องคุณภาพของการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะการนาการเปลี่ยนแปลง คุณภาพชีวิตที่มีพลังกายที่เข้มแข็ง พลังใจที่ พร้อมอุทิศเพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน และการเป็นคนดี ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม/จริยธรรม ของบุคลากรภาครัฐ ในการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรนั้น ควรควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณ ธรรม จริยธรรม ซึ่งนับว่ามี ความสาคัญมากในสภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน และจะทวีความสาคัญมากขึ้นในอนาคต อันเนื่องจากการ แข่งขันและการแสวงหากาไรทางธุรกิจ การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีอยู่อย่างจากัด การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนองความ ต้องการในเรื่องวัตถุนิยมและปัญหาการทุจริต คอรัปชั่น ซึ่งเป็นปัญหารุนแรงทั้งในภาคราชการและภาคเอกชน เป็นต้น ปัญหา เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

34 เหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานและการดารงชีวิตทั้งทางร่างกายและจิตใจ และยังก่อให้เกิดปัญหาใหม่ที่ซับซ้อนยากต่อ การจัดการ ควบคุม ซึ่งการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมที่ต่อเนื่องสม่าเสมอ จะเป็นเสมือนการสร้างภูมิคุ้มกันหรือภูมิต้านทาน ช่วยให้สามารถจัดการ กับปัญหาต่างๆที่จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งเรื่องหน้าที่ราชการและชีวิตส่วนตัวได้อย่างเหมาะสมภายใต้ฐานความคิดแห่ง ความดี

กระทรวงสาธารณสุ ข มีความตระหนั ก และเห็ น ความส าคัญของปั ญหาด้า นคุณ ธรรม จริยธรรม เนื่องจาก ข้าราชการสาธารณสุขเป็นกลไกสาคัญในการบริหารงานราชการ นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และจะยังคงมี ความสาคัญต่อไปใน อนาคต หากข้าราชการขาดจริยธรรมย่อมส่งผลเสียต่อประเทศชาติและประชาชน จริยธรรมของข้าราชการเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็น เพราะเป็นปัจจัยที่มีส่วนสาคัญในการกาหนดพฤติกรรม หรือการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ ซึ่งส่งผลต่อการให้บริการสาธารณะและการอานวย ความสะดวกแก่ประชาชน ในส่วนของปัญหาของข้าราชการ อาจแบ่งเป็นปัญหาที่มีสาเหตุมาจากระบบราชการและมาจากตัวข้าราชการ ปัญหา ดังกล่าวนี้จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น หากข้าราชการขาดจริยธรรมหรือขาดจิตสานึกในการเป็นข้าราชการที่ดี ดังนั้นจึงจาเป็นที่จะต้องพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม โดยหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาข้าราชการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้หน่วยงานสาธารณสุขในส่วนภูมิภาคระดับจังหวัดและเครือข่ายบริการสุขภาพ (Cup) มีการสร้างเสริม วัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ๒. เพือ่ ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนากิจกรรมด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมระหว่างหน่วยงานใน ระดับจังหวัดและระดับกลุ่มเขต กระบวนการนิเทศ ๑. จังหวัดและเครือข่ายบริการสุขภาพ (Cup) ดาเนินกิจกรรมตามขั้นตอนของเกณฑ์ตัวชี้วัดระดับความสาเร็จ ของการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม (mile stone) เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

35 ๒. หน่วยงานต่างๆในจังหวัดประเมินผลการดาเนินงานของตนเองตามแบบแนวทางการนิเทศ และส่งให้สานักงาน สาธารณสุขจังหวัดสรุปเป็นภาพรวมของจังหวัด ๓. ใช้แบบแนวทางการนิเทศเป็นแนวทางในการรายงานผลการตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน ๔. ติดตามผลการดาเนินงานจากระดับความสาเร็จของจังหวัดและเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) ในการสร้าง เสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามเกณฑ์ (mile stone) ๕. ผลการดาเนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม จะต้องผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่าน ดังนี้ - การติดตามรอบที่ ๑ (รอบ ๖ เดือน) ต้องผ่านขั้นตอนที่ ๑-๓ - การติดตามรอบที่ ๒ (รอบ ๑๒ เดือน) ต้องผ่านขั้นตอนที่ ๔-๕ ผลลัพธ์ที่ต้องการ จังหวัดมีผลการดาเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่งผลให้ข้าราชการ/ บุคลากรสาธารณสุขเป็นคนดีมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของหน่วยงาน ตัวชี้วัด

: ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ - หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ : แก้วกัลยาสิกขาลัย สถาบันพระบรมราชชนก - ผู้รับผิดชอบ ๑. นางเพียรพันธ์ อัศวพิทยา ผู้อานวยการแก้วกัลยาสิกขาลัย โทรศัพท์/โทรสาร ๐ ๒๕๙๐ ๑๘๑๖ มือถือ ๐๘๗ ๑๐๖ ๓๓๕๕ ๒. นางระวีวรรณ นุตกุล นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ โทรศัพท์/โทรสาร ๐ ๒๕๙๐ ๑๘๑๖, มือถือ ๐๘๑ ๖๙๑ ๐๔๑๘ e-mail : [email protected] เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

36 รายละเอียดตัวชี้วัด(KPI Template) ของรหัสตัวชี้วัด ๐๔๐๔ ๑. คณะที่ ๔

การบริหารจัดการระบบสุขภาพ

๒. ภารกิจที่ ๒

การติดตามผลปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค

๓. ประเด็นหลักที่ ๔

การบริหารจัดการระบบสุขภาพ

๔. หัวข้อ ๔.๔

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เรื่อง การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

๕. ยุทธศาสตร์กระทรวง

พัฒนาระบบบริหารและระบบบริการทางการแพทย์สาธารณสุขและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน

๖. ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง ระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ เสริมสร้างให้ประชาชนไทยมีสุขภาพและจิตสานึก ๗. รหัสตัวชี้วัด

๐๔๐๔

๘. ชื่อตัวชี้วัด

ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้านการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม

๙. เกณฑ์

๑. หน่วยงานจะต้องมีกิจกรรมที่ดาเนินการ ๕ ขั้นตอน (mile stone) ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ -มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ระดับจังหวัด -มีการจัดทาแผนงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ขั้นตอนที่ ๒ มีการกาหนดหัวข้อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของจังหวัด และเครือข่ายบริการสุขภาพ (Cup) ขั้นตอนที่ ๓ มีการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยมี รู ป แบบกิ จ กรรมที่ ห ลากหลายหรื อ เป็ น นวั ต กรรม และมี กระบวนการติดตามให้สอดคล้องตามแผนที่กาหนด

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

37 ขั้นตอนที่ ๔ มีตัวอย่าง/ผลงานการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดีอย่างเป็น รูปธรรม ขั้นตอนที่ ๕ มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานตัวอย่างทั้งภายใน และภายนอกหน่วยงาน ๒. จะต้องดาเนินกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่าน ดังนี้ -ขั้นตอนที่ ๑-๓ ในการติดตามรอบที่ ๑ (รอบ ๖ เดือน) -ขั้นตอนที่ ๔-๕ ในการติดตามรอบที่ ๒ (รอบ ๑๒ เดือน) ๑๐. ผลงาน ๑๐.๑ รายการข้อมูล

๑. แผนงานและแผนปฏิบัติการด้านพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ๒. ผลการดาเนินงานตามแผน

๑๐.๒ นิยาม

๑. การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี หมายถึงบุคลากรมีจิตอาสาในการให้บริการ แต่งกายสุภาพเหมาะสม ปฏิบัติงานตรงตามเวลา ละเว้นการนาเวลาราชการไป ประกอบภารกิจส่วนตัว ปฏิบัติหน้าที่ด้วยใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส สุภาพ อ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ ๒. การพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การดาเนินงานโครงการอบรม/ สัมมนา/หลักสูตรการอบรมหรือกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยมีผลการดาเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ๓. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หมายถึง การมีปฏิสมั พันธ์เพื่อการเรียนรูร้ ่วมกัน ทั้งในและ นอกหน่วยงาน เช่น จัดประชุมหรือจัดเวทีวิชาการ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้นาเสนอ ผลงานด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

๑๐.๓ วิธีรายงาน

รายงานปีละ ๒ ครั้ง (๖ เดือน/ครั้ง)

๑๐.๔ แหล่งข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

38 ๑๑. กลุ่มเป้าหมาย ๑๑.๑ รายการข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน สานักงานสาธารณสุขอาเภอ

๑๑.๒ นิยาม

เหมือนข้อ ๑๐.๒

๑๑.๓ วิธีรายงาน

รายงานปีละ ๒ ครั้ง (๖ เดือน/ครั้ง)

๑๑.๔ แหล่งข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด

๑๒. การประมวลผลตัวชี้วัด

ไม่มี

๑๓. เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น ๕ ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑.

กิจกรรม - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ระดับ

ได้คะแนน ๑

จังหวัด - มีการจัดทาแผนงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ๒.

มีการกาหนดหัวข้อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของจังหวัดและเครือข่าย



บริการสุขภาพ (Cup) ๓.

มีการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยมีรูปแบบกิจกรรม



ที่หลากหลายหรือเป็นนวัตกรรม และมีกระบวนการติดตามให้สอดคล้อง ตามแผนที่กาหนด ๔.

มีตัวอย่าง/ผลงานการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดีอย่างเป็นรูปธรรม



๕.

มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานตัวอย่างทั้งภายในและภายนอก



หน่วยงาน

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

39 ๑๔. ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ๑๔.๑ หน่วยงาน แก้วกัลยาสิกขาลัย สถาบันพระบรมราชชนก โทรศัพท์/โทรสาร ๐ ๒๕๙๐ ๑๘๑๖ ชื่อ-สกุล นางเพียรพันธ์ อัศวพิทยา ผู้อานวยการแก้วกัลยาสิกขาลัย มือถือ ๐๘๗ ๑๐๖ ๓๓๕๕ นางระวีวรรณ นุตกุล นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ มือถือ ๐๘๑ ๖๙๑ ๐๔๑๘ e-mail : [email protected]

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

40 คาชี้แจงแนวทางการนิเทศงานตามแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ คณะที่ ๔ : การบริหารจัดการระบบสุขภาพ หัวข้อ ๔ : การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สถานการณ์และสภาพปัญหา ๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ. ๒๕๕๐ กาหนดไว้ในหมวดที่๕ ส่วนที่๓ แนวนโยบายด้านการบริหาร ราชการแผ่นดินมาตรา ๗๘ (๔) บัญญัติว่า พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรมของ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ควบคู่ ไ ปกั บ การปรั บ ปรุ ง รู ป แบบและวิ ธี ก ารท างาน เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห าราชการแผ่ น ดิ น เป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ และส่งเสริม ให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ ๒. มาตรา ๒๗๙ กาหนดให้มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐแต่ละประเภทให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กาหนดขึ้น โดยจะต้องมีกลไกและระบบในการดาเนินงาน เพื่อให้การ บังคับใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกาหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทาการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานทางจริยธรรม ให้ถือว่าเป็นการกระทาผิดทางวินัย ๓. มาตรา ๗๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กาหนดให้ ส่วนราชการมีห น้าที่เพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้ข้าราชการพลเรือนมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ ประกอบกับสานักงาน ก.พ.ได้จัดทายุทธศาสตร์ การพัฒนาข้าราชการพลเรือนพ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๖ กาหนดทิศทางการพัฒนาข้าราชการพลเรือน ในระยะเวลา ๕ ปี โดยมุ่งเน้นใน เรื่องคุณภาพของการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะการนาการเปลี่ยนแปลง คุณภาพชีวิตที่มีพลังกายที่เข้มแข็ง พลังใจที่ พร้อมอุทิศเพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน และการเป็นคนดี ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม/จริยธรรม ของบุคลากรภาครัฐ ในการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรนั้น ควรควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งนับว่ามีความสาคัญมากในสภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน และจะทวีความสาคัญมากขึ้นในอนาคต อันเนื่องจากการแข่งขันและการแสวงหากาไรทางธุรกิจ การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมีอยู่อย่างจากัด การพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสนองความต้องการในเรื่องวัตถุนิยม และปัญหาการทุจริต คอรัปชั่น ซึ่งเป็นปัญหารุนแรงทั้งในภาคราชการและภาคเอกชน เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานและการดารงชีวิตทั้งทางร่างกายและจิตใจ และยังก่อให้เกิดปัญหาใหม่ ที่ซับซ้อนยากต่อการจัดการ ควบคุม ซึ่งการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมที่ต่อเนื่องสม่าเสมอ จะเป็นเสมือนการสร้างภูมิคุ้มกันหรือภูมิต้านทาน ช่วยให้สามารถจัดการ กับปัญหาต่างๆที่จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งเรื่องหน้าที่ราชการและชีวิตส่วนตัวได้อย่างเหมาะสมภายใต้ฐานความคิดแห่ง ความดี เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

41 กระทรวงสาธารณสุขมีความตระหนักและเห็นความสาคัญของปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรม เนื่องจากข้าราชการสาธารณสุขเป็นกลไกสาคัญในการบริหารงานราชการ นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และจะยังคงมีความสาคัญ ต่อไปในอนาคต หากข้าราชการขาดจริยธรรมย่อมส่งผลเสียต่อประเทศชาติและประชาชน จริยธรรมของข้าราชการเป็นสิ่งสาคัญ และจาเป็น เพราะเป็นปัจจัยที่มีส่วนสาคัญในการกาหนดพฤติกรรม หรือการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ ซึ่งส่งผลต่อการให้บริการสาธารณะและการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ในส่วนของ ปัญหาของข้าราชการ อาจแบ่งเป็นปัญหาที่มีสาเหตุมาจากระบบราชการและมาจากตัวข้าราชการ ปัญหาดังกล่าวนี้จะยิ่งเพิ่ม มากขึ้น หากข้าราชการขาดจริ ยธรรมหรื อขาดจิ ตสานึ กในการเป็นข้าราชการที่ดี ดังนั้นจึงจาเป็นที่จะต้องพัฒ นาคุณธรรม จริยธรรม โดยหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาข้าราชการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้หน่วยงานสาธารณสุขในส่วนภูมิภาคระดับจังหวั ดและเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) มีผลงานการ สร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ๒. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนากิจกรรมด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมระหว่างหน่วยงานใน ระดับจังหวัดและระดับกลุ่มเขต แนวทางการตรวจติดตาม จากระดับความสาเร็จของจังหวัดและเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) ในการสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดีด้าน การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามเกณฑ์ (mile stone) ผลลัพธ์ที่ต้องการ จังหวัดมีผลการดาเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่งผลให้ข้าราชการ/ บุคลากรสาธารณสุขเป็นคนดีมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญกาลังใจ ในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของหน่วยงาน คาชี้แจง ๑. แนวทางการนิเทศงานตามแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. ให้หน่วยงานต่างๆในจังหวัดประเมินผลการดาเนินงานของตนเองตามแบบแนวทางการนิเทศ ๒. ใช้เป็นแนวทางในการรายงานผลการตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน ๒. ในการประเมินตนเอง ขอความกรุณาให้ประเมินครบทุกรายการ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

42 ๓. ขอให้หน่วยงานส่งผลการประเมินตนเองตามแบบแนวทางการนิเทศ ให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อสรุปเป็น ภาพรวมของจังหวัด สาหรับเป็นข้อมูลนาเสนอต่อคณะกรรมการตรวจราชการและนิเทศงาน ๔. แบบแนวทางการนิเทศ ประกอบด้วย ๒ ตอนคือ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน ตอนที่ ๒ แนวทางการประเมินตนเองของหน่วยงาน ๕. ผลการดาเนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม จะต้องผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่าน ดังนี้ - การติดตามรอบที่ ๑ (รอบ ๖ เดือน) ต้องผ่านขั้นตอนที่ ๑-๓ - การติดตามรอบที่ ๒ (รอบ ๑๒ เดือน) ต้องผ่านขั้นตอนที่ ๔-๕ หมายเหตุ ๑. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอาจปรับแบบแนวทางการประเมินตนเอง ให้สอดคล้องกับสถานภาพและบริบทของ หน่วยงานภายในจังหวัด ๒. ควรจัดให้มีการประชุมชี้แจงตัวชี้วัดและแบบแนวทางการนิเทศ ให้แก่หน่วยงานภายในจังหวัดทราบและเข้าใจ ในเบื้องต้น

แบบแนวทางการนิเทศ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงานที่รับการตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน คาชี้แจง โปรดเติมข้อความที่สอดคล้องกับสถานภาพของหน่วยงาน ๑. เขตตรวจราชการที่...............ชื่อจังหวัด............................................................................................................... ๒. การประเมินตนเองรอบที่...............เมื่อวันที่...............เดือน........................................พ.ศ.................................. ๓. หน่วยงานที่รับการตรวจเยี่ยมและนิเทศ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด...................................................................................................................... โรงพยาบาลศูนย์........................................................................................................................................ โรงพยาบาลทั่วไป……………………………………………………………………………………………………………………….. เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

43 โรงพยาบาลชุมชน...................................................................................................................................... สานักงานสาธารณสุขอาเภอ...................................................................................................................... หน่วยงานอื่นๆ............................................................................................................................................ ๔. ชื่อผู้ประสานการตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน...............................................ตาแหน่ง............................................. สถานที่ปฏิบัติงาน................................................................................................................................................ โทรศัพท์สานักงาน.........................................................โทรศัพ ท์มือถือ............................................................... E-mail.................................................................................................................................................................

ตอนที่ ๒ แนวทางการประเมินตนเองของหน่วยงาน คาชี้แจง ๑. โปรดทาเครื่องหมาย  ให้สอดคล้องกับสถานภาพของหน่วยงาน ๒. กรณีที่มีกิจกรรม/โครงการเชิงประจักษ์อย่างเป็นรูปธรรม นอกเหนือจากเกณฑ์ที่ระบุไว้ โปรดให้รายละเอียดเพื่อ ประกอบการพิจารณา ลาดับ

กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ

ผลการดาเนินงาน มี

ไม่มี

กาลังดาเนินการ

๑.นโยบายและแผน ๑.๑

มีนโยบายการพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม เป็นลายลักษณ์อักษร

๑.๒

มีการประกาศนโยบายการพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นที่รับทราบอย่างกว้างขวางภายในหน่วยงาน

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

44 ลาดับ

กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ

ผลการดาเนินงาน มี

๑.๓

มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ระดับหน่วยงาน

๑.๔

มีการจัดทาแผนงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมระดับหน่วยงาน

๑.๕

มีการกาหนดหัวข้อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของ หน่วยงานและเครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP)

ลาดับ

กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ

ไม่มี

กาลังดาเนินการ

ผลการดาเนินงาน มี

ไม่มี

กาลังดาเนินการ

๒.การส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ๒.๑

หน่วยงานได้ให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรม การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

๒.๒

มีงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานตามนโยบาย

๒.๓

มีการส่งเสริมบรรยากาศการทางานที่เอื้อต่อการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม ทั้งภายในและภายนอกองค์กร

๒.๔

มีการจัดอบรมให้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรมแก่บุคลากร ในหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

45 ลาดับ

กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ

ผลการดาเนินงาน มี

๒.๕

ไม่มี

กาลังดาเนินการ

บุคลากรในหน่วยงานได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม อย่างน้อยร้อยละ ๕๐

๓.การส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี ๓.๑

มีการส่งเสริมและยกย่องเชิดชูผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ในหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับรู้

๓.๒

บุคลากรมีการศึกษาหาความรู้ทางวิชาการจากแหล่งความรู้ ต่างๆ ในหน้าทีที่ตนปฏิบัติและวิชาชีพของตนอยู่เสมออย่างมี คุณธรรม จริยธรรม

๓.๓

หน่วยงานมีการส่งเสริมกิจกรรมการให้บริการด้วยหัวใจ ความเป็นมนุษย์ การให้เวลา ให้ข้อมูล ให้กาลังใจ เอื้ออาทร มีการทางานเป็นทีมและปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ

๓.๔

หน่วยงานมีการส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี เช่น ส่งเสริมใน เรื่องความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ แต่งกายสุภาพเหมาะสม ปฏิบัติงานตรงตามเวลา ละเว้นการนาเวลาราชการไป ประกอบภารกิจส่วนตัว ยึดถือระบบคุณธรรม ๔.คุณภาพของผลงาน

๔.๑

หน่วยงานมีผลงานวิชาการ หรือนวัตกรรมในด้านคุณธรรม จริยธรรม

๔.๒

มีผลงานที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ได้มีการถ่ายทอดและ

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

46 ลาดับ

กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ

ผลการดาเนินงาน มี

ไม่มี

กาลังดาเนินการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ๔.๓

ผลงานมีประโยชน์ต่อการพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม มีคุณค่าต่อการปฏิบัติงานและส่งผลต่อหน่วยงาน และชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม

รายละเอียดกิจกรรม/โครงการเชิงประจักษ์อย่างเป็นรูปธรรม ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................... ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในภาพรวม ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................... ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (.........................................) ตาแหน่ง..................................... ลงชื่อ........................................ผู้รับรองการประเมิน (.........................................) ตาแหน่ง ........................................ (หัวหน้าหน่วยงาน) วันที่..............เดือน....................พ.ศ. .................

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

47 เอกสารแนบท้าย หัวข้อที่ ๔.๔ การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม แบบแนวทางการนิเทศ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงานที่รับการตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน คาชี้แจง โปรดเติมข้อความทีส่ อดคล้องกับสถานภาพของหน่วยงาน ๑. เขตตรวจราชการที่...............ชือ่ จังหวัด............................................................................................................... ๒. การประเมินตนเองรอบที่...............เมื่อวันที่...............เดือน........................................พ.ศ.................................. ๓. หน่วยงานที่รับการตรวจเยี่ยมและนิเทศ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด...................................................................................................................... โรงพยาบาลศูนย์........................................................................................................................................ โรงพยาบาลทั่วไป……………………………………………………………………………………………………………………….. โรงพยาบาลชุมชน...................................................................................................................................... สานักงานสาธารณสุขอาเภอ...................................................................................................................... หน่วยงานอื่นๆ............................................................................................................................................ ๔. ชื่อผู้ประสานการตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน...............................................ตาแหน่ง............................................. สถานที่ปฏิบัติงาน................................................................................................................................................ โทรศัพท์สานักงาน.........................................................โทรศัพท์มอื ถือ............................................................... E-mail................................................................................................................................................................. ตอนที่ ๒ แนวทางการประเมินตนเองของหน่วยงาน คาชี้แจง ๑. โปรดทาเครื่องหมาย  ให้สอดคล้องกับสถานภาพของหน่วยงาน ๒. กรณีที่มีกิจกรรม/โครงการเชิงประจักษ์อย่างเป็นรูปธรรม นอกเหนือจากเกณฑ์ที่ระบุไว้ โปรดให้รายละเอียดเพื่อประกอบการ พิจารณา ลาดับ

กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ มี

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๑.๕ ๒.๑

ผลการดาเนินงาน ไม่มี กาลังดาเนินการ

๑.นโยบายและแผน มีนโยบายการพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม เป็นลายลักษณ์อักษร มีการประกาศนโยบายการพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ เป็นที่รับทราบอย่างกว้างขวางภายในหน่วยงาน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ระดับ หน่วยงาน มีการจัดทาแผนงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมระดับหน่วยงาน มีการกาหนดหัวข้อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของหน่วยงานและ เครือข่ายบริการสุขภาพ (CUP) ๒.การส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม หน่วยงานได้ให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการกาหนดกิจกรรม การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

48 ลาดับ ๒.๒ ๒.๓ ลาดับ ๒.๔ ๒.๕ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔

๔.๑ ๔.๒ ๔.๓

กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ มี

ผลการดาเนินงาน ไม่มี กาลังดาเนินการ

มี

ผลการดาเนินงาน ไม่มี กาลังดาเนินการ

มีงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานตามนโยบาย มีการส่งเสริมบรรยากาศการทางานที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ทั้งภายในและภายนอกองค์กร กิจกรรมการตรวจเยี่ยมและนิเทศ มีการจัดอบรมให้ความรู้ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมแก่บุคลากรใน หน่วยงานอย่างต่อเนื่อง บุคลากรในหน่วยงานได้รับการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม อย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ๓.การส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี มีการส่งเสริมและยกย่องเชิดชูผมู้ คี ุณธรรม จริยธรรม ในหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับรู้ บุคลากรมีการศึกษาหาความรู้ทางวิชาการจากแหล่งความรู้ต่างๆ ใน หน้าทีที่ตนปฏิบัติและวิชาชีพของตนอยู่เสมออย่างมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม หน่วยงานมีการส่งเสริมกิจกรรมการให้บริการด้วยหัวใจ ความเป็นมนุษย์ การให้เวลา ให้ข้อมูล ให้กาลังใจ เอื้ออาทร มีการทางานเป็นทีมและปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ หน่วยงานมีการส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี เช่น ส่งเสริมในเรื่อง ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ แต่งกายสุภาพเหมาะสม ปฏิบัติงานตรงตาม เวลา ละเว้นการนาเวลาราชการไปประกอบภารกิจส่วนตัว ยึดถือ ระบบคุณธรรม ๔.คุณภาพของผลงาน หน่วยงานมีผลงานวิชาการ หรือนวัตกรรมในด้านคุณธรรม จริยธรรม มีผลงานที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ได้มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ผลงานมีประโยชน์ต่อการพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม มี คุณค่าต่อการปฏิบตั ิงานและส่งผลต่อหน่วยงานและชุมชนอย่างเป็น รูปธรรม

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

49 รายละเอียดกิจกรรม/โครงการเชิงประจักษ์อย่างเป็นรูปธรรม .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในภาพรวม .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................... ลงชื่อ.........................................ผู้ประเมิน (......................................) ตาแหน่ง................................. ลงชื่อ........................................ผู้รับรองการประเมิน (.......................................) ตาแหน่ง................................. (หัวหน้าหน่วยงาน) วันที่..............เดือน....................พ.ศ. .................

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร