kna3

กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี 2555 คณะที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน...

0 downloads 7 Views 922KB Size
กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี 2555 คณะที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อ

ประเด็นการตรวจ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ราชการ หัวข้อ การจัดทําแผน 1.จังหวัดมีการจัดทําแผนบูรณาการงานส่งเสริม 3.1 การ บูรณาการงาน ป้องกันเชิงรุกระดับจังหวัดซึ่งประกอบด้วย จัดทําแผน ส่งเสริมป้องกันเชิง 1.1งานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันควบคุมโรค บูรณาการ รุกระดับจังหวัด เช่น มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ งาน และหลอดเลือดสมอง ส่งเสริม 1.2สุขภาพช่องปากภายใต้แผนงานของกองทุน ป้องกันเชิง ทันตกรรม รุกระดับ 2.มีการนําแผนบูรณาการงานส่งเสริมป้องกันเชิง จังหวัด รุกเชิงรุกระดับจังหวัดไปสู่การปฏิบัติและสามารถ ดําเนินการให้บรรลุผลตามเป้าหมายของแผน

ผลสาเร็จ/ตัวชี้วัด

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ ร้อยละของการ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.จัดทําคู่มือแนว 1.สํานักนโยบาย บรรลุผลตามแผนที่ ทางการจัดทําแผนบูรณาการงานส่งเสริมป้องกันเชิงรุก และยุทธศาสตร์ สป. กําหนด ระดับจังหวัด 2.กรมอนามัย เรื่องสุขภาพช่องปากภายใต้แผนงานของกองทุนทัน ตกรรม สนับสนุนดังนี้ 1. จัดประชุมถ่ายทอดนโยบายและแนวทาง ดําเนินการ 3. จัดทําคู่มือแนวทางการปฏิบัติงานให้จังหวัด 4. จัดประชุมวิชาการทันตสาธารณสุข เพื่อให้จังหวัด ได้นําเสนอผลงานจัดบริการบูรณาการ/เชิงรุก/ นวัตกรรม/โครงการพัฒนา 5.พัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุขและวางกรอบ การประเมินผลการจัดบริการส่งเสริมป้องกันของ กองทุนทันตกรรม

หัวข้อ หัวข้อ 3.2 การ ป้องกัน และ ควบคุม โรคติดต่อ

ประเด็นการตรวจ ราชการ กระบวนการ ดําเนินงาน ขับเคลื่อน ให้เกิด อําเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ

ผลสาเร็จ/ตัวชี้วัด

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง

จังหวัดมีกระบวนการขับเคลื่อนและอําเภอมีการ ดําเนินงานตามคุณลักษณะที่กําหนดในแต่ละด้าน เพื่อขับเคลื่อนให้เป็น "อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน" โดยมีเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะ อําเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ดังนี้ 1.มีคณะกรรมการการป้องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพ 2.มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอําเภอ 3.มีการวางแผน ติดตามและประเมินผลการ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4.มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุน งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็น รูปธรรม

มีผลสําเร็จของการ ควบคุมป้องกันโรค ที่สําคัญตาม นโยบายกระทรวง สาธารณสุข และที่ เป็นปัญหาในพื้นที่

พัฒนาศักยภาพทีม SRRT เพื่ออําเภอควบคุมโรค เข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดย 1. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติถอดบทเรียนการเฝ้าระวัง เหตุการณ์ของทีม SRRT เครือข่ายระดับตําบล โดย การสุ่มคัดเลือกผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย รพสต อปท อสม อําเภอ จังหวัด เขต แห่งละ 1-2 คน 2. การอบรมระบาดวิทยาสําหรับแพทย์หัวหน้าทีม และผู้สอบสวนหลัก ผู้อบรมเบิกจ่ายจากต้นสังกัด 3. การอบรมระบาดวิทยาก่อนปฏิบัติการสําหรับ เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาระดับเขตและจังหวัดที่ ปฏิบัติงานใหม่ 4. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลทีม SRRT เครือข่าย ระดับตําบล โดยสุ่มตรวจรพสต บางแห่ง 5. โอนเงินสนับสนุนจังหวัดดําเนินการอบรมหลักสูตร SRRT ระดับตําบล 6 จัดการประกวด เชิดชูและให้รางวัล

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ กรมควบคุมโรค

หัวข้อ หัวข้อ 3.3 การดูแล ปัญหา สุขภาพจิต

ประเด็นการตรวจ ราชการ ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันการฆ่าตัวตาย และติดตามดูแลผู้ พยายามฆ่าตัวตาย

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ

ผลสาเร็จ/ ตัวชี้วัด ๑. การวิเคราะห์สถานการณ์ผู้มีปัญหาการฆ่าตัวตาย อัตราการฆ่าตัว เพื่อสู่การวางแผนในระดับจังหวัด อําเภอ หมู่บ้าน ตายลดลง ตามบริบทของแต่ละพื้นที่ ๒. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการฆ่าตัวตายของ ประชาชนในพื้นที่เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง ปัจจัยกระตุ้นที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหาการ ฆ่าตัวตายในแต่ละพื้นที่ ๓. การทบทวนกระบวนการดําเนินงานช่วงปีที่ผ่าน มา เพื่อกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จของจังหวัด วางแผนปฏิบัติการตามความรุนแรง ความถี่ที่เกิด ปัญหาในพื้นที่ ๔. ระบบการค้นหา คัดกรอง บริการการเข้าถึง บริการของผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เฝ้าระวัง ช่วยเหลือ บําบัดรักษา และติดตามดูแลอย่าง ต่อเนื่อง ตามมาตรฐานที่กําหนด ๕. ปัจจัยที่ทําให้เกิดความสําเร็จและ/ หรือการแก้ไข ปัญหาในการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง - มีการสนับสนุนงบประมาณให้แก่จังหวัด พื้นที่สีแดง - มีข้อมูลผู้ที่ฆ่าตัวตายสาเร็จรายจังหวัดเพื่อ สะท้อนให้เห็นถึงอัตราการฆ่าตัวตายมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือลดลง - มีการทอดองค์ความรู้ของพื้นที่ที่ได้ ดาเนินการ เพื่อได้วิเคราะห์ตนเอง และ ป้องกันได้ตามบริบท - การพัฒนาองค์ความรู้แก่บุคลากรเครือข่าย - มีมาตรฐานการบริการผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัว ตายระดับ รพศ./รพท./รพช. -ชุดความรู้เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายและการ ดูแลรักษาผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายที่ผลิต โดยกรมสุขภาพจิต -สามารถค้นหาข้อมูลความรู้ต่างๆและรับ ข้อแนะนาเพิ่มเติมได้ทาง www.suicidethai.com , www.dmh.or.th

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ กรมสุขภาพจิต

หัวข้อ หัวข้อ 3.4 การดูแล สุขภาพแม่ และเด็ก และ ผู้สูงอายุ

ประเด็นการตรวจ ราชการ ระบบและ กระบวนการพัฒนา โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ มาตรฐานโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทอง

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ติดตามการดําเนินงานของจังหวัด ในการวางแผน เพื่อการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กอย่างเป็นระบบที่ เชื่อมโยงระหว่างสถานบริการฯ ครอบครัว และ ท้องถิ่นโดยมีกระบวนการดังนี้ 1. มีการวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค ต่อการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กที่เป็นปัจจุบัน 2.มีการวางแผนงาน/ โครงการ /กิจกรรมเพื่อ แก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็กอย่างบูรณาการ 3.แผนงานมีความเชื่อมโยง ต่อเนื่องในการดูแล สุขภาพแม่และเด็กที่ครบวงจรสู่ ครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น 4.มีการชี้แจงรายละเอียดโครงการฯการพัฒนา ความรู้การดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด – 5 ปี 5.มีการศึกษาวิจัย หรือนวัตกรรมเพื่อสร้างองค์ ความรู้ในการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก

ผลสาเร็จ/ ตัวชี้วัด จํานวน โรงพยาบาล สายใยรักแห่ง ครอบครัวที่ผ่าน เกณฑ์ระดับทอง ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 90

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง 1.โครงการตาบลนมแม่เพือ่ สายใยรักแห่ง ครอบครัว 1.1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ตําบลนมแม่ฯ จัดโดยศูนย์ อนามัยเขต1-12 1.2 มีคู่มือตําบลนมแม่ฯ ตัวอย่างVDO ผลงานและ รายงานผลการดําเนินงานตําบลนมแม่ของ 5 ตําบล 2.โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 2.1 ประกาศเกียรติคุณโรงพยาบาลสายใยรักระดับ ทองและสัมมนาวิชาการอนามัยแม่และเด็กครั้งที่ 4 2.2 โปรมแกรมประเมินมาตรฐานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตําบลสายใยรักแห่งครอบครัว 2.3 โปรมแกรมประเมินมาตรฐานโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว 2.4 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลสตรีตั้งครรภ์ แนวใหม่ในบริบทประเทศไทยและคลินิกเด็กดี คุณภาพ

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ กรมอนามัย

หัวข้อ

ประเด็นการตรวจ ราชการ

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ

ผลสาเร็จ/ ตัวชี้วัด

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ

2.5 การประเมินและรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัวและโรพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลสายใยรักแห่งครอบครัว 2.6 โล่โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับ ทองใหม่และประกาศเกียรติคณ ุ โรงพยาบาลสายใย รักแห่งครอบครัวทีผ่ ่านการประเมินซ้ํา 2.7 โล่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลสายใยรัก แห่งครอบครัว

หัวข้อ หัวข้อ 3.4 การดูแล สุขภาพแม่ และเด็ก และ ผู้สูงอายุ

ประเด็นการตรวจ ราชการ การจัดตั้งและ พัฒนาชมรม ผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ชมรมผู้สูงอายุ คุณภาพ

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ

ผลสาเร็จ/ แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง หน่วยงานที่ ตัวชี้วัด รับผิดชอบ จังหวัดมีกระบวนการขับเคลื่อนตําบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ ๑.พัฒนาบุคลากร มีชมรม กรมอนามัย ผู้สูงอายุระยะยาว ผู้สูงอายุผ่าน -อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร “การ ๑.มีสถานการณ์ผู้สูงอายุและมีการวิเคราะห์ข้อมูล เกณฑ์คุณภาพ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long ๒.มีแผนงานโครงการตามบริบทของพื้นที่ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น ๓.มีการนาแผนงานโครงการสู่การปฏิบัติ Term Care)(ครู ก.) ๔.มีModel หรือ good practice ที่เป็นตัวอย่างการดาเนินงาน - ศูนย์อนามัยเขต (ครู ก.) จัดอบรม เพื่อการขยายผล ถ่ายทอดเทคโนโลยีวชิ าการแก่ผู้เกี่ยวข้อง ตําบลที่มีการดําเนินงานผ่านเกณฑ์องค์ประกอบการดําเนินงานที่ใช้ใน การประเมินการดําเนินงานด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ระดับจังหวัด ท้องถิ่น (ครู ข.) (Long Term Care : LTC) จํานวน ๖ ข้อ ๒.พัฒนาหลักเกณฑ์มาตรฐานด้านการ ๑. มีข้อมูลผูส้ ูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประกอบกิจวัตรประจําวัน ( Barthel Activities of Daily Living :ADL) ๓.ผลิ ต สื่ อ เพื่ อ เผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์

และสนับสนุนการดาเนินงาน ๔.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง ตาบล ต้ น แบบด้ า นการดู แ ลสุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ ระยะยาว(LTC)...กั บ ท้ อ งถิ่ น เข้ ม แข็ ง .. ประชาชนแข็งแรง” ๕.นิเทศติดตามประเมินผล

๒. มีชมรมผูส้ ูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคณ ุ ภาพ ๓. มีอาสาสมัคร ดูแลผูส้ ูงอายุในชุมชน ๔. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) โดยบุคลากรสาธารณสุข 5 มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตําบล ๖. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๒ (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๓ (ติดเตียง) * เกณฑ์การดําเนินงานตามเอกสารแนบท้าย

หัวข้อ หัวข้อ 3.5 การคุ้มครอง ผู้บริโภคด้าน สุขภาพ

ประเด็นการตรวจ ราชการ กระบวนการกํากับ ดูแลมาตรฐานและ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ สุขภาพให้ ปราศจากการ ปนเปื้อนและ เป็นไปตาม มาตรฐาน

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ จังหวัดมีกระบวนการการตรวจสอบ กํากับดูแลคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ และสถาน ประกอบอาหาร ได้แก่ 1) สารปนเปื้อน ๖ ชนิดในอาหาร 2)น้ํามันทอดซ้ํา 3) น้ําดื่ม 4) น้ําแข็ง 5) นมโรงเรียน 6) ก๋วยเตี๋ยว 7) อื่นๆที่เป็นปัญหาของจังหวัด

ผลสาเร็จ/ ตัวชี้วัด มีผลการกํากับ ดูแลคุณภาพ มาตรฐานตาม แผนของพื้นที่

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง ข้อ 5) และ 6) อย. สนับสนุน งบประมาณค่าตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน และก๋วยเตี๋ยว โดยเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์ที่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ 1. สํานักงาน คณะกรรมการ อาหารและยา 2.กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ 3. ศูนย์ปฏิบัติการ ความปลอดภัยด้าน อาหาร

หัวข้อ หัวข้อ 3.5 การคุ้มครอง ผู้บริโภคด้าน สุขภาพ

ประเด็นการตรวจ ราชการ กระบวนการพัฒนาสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน เพื่อรองรับ พระราชบัญญัติสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพ

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ

ผลสาเร็จ/ ตัวชี้วัด จังหวัดดําเนินการ 5 ขั้นตอนตาม สถาน กระบวนการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ประกอบการเพื่อ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานเพื่อรองรับพระราชบัญญัติ สุขภาพได้ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ คุณภาพมาตรฐาน 1. มีฐานข้อมูลสถานประกอบการเพื่อสุขภาพในเขต ตามที่กฎหมาย พื้นที่รับผิดชอบ กําหนด 2. มีกระบวนการส่งเสริมพัฒนาการขอรับรอง มาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ อย่างน้อย ปีละ ๑ ครั้ง 3. มีข้อมูลสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับ การตรวจ ประเมินมาตรฐาน ๔. มีข้อมูลสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับ การขึ้นทะเบียนรับรองมาตรฐานตามที่กฎหมาย กําหนดทั้งหมดในเขตพื้นที่รับผิดชอบในปี ๒๕๕๕ ๕. สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้คุณภาพ มาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนด ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๙๕

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง ๑. คู่มือการปฏิบัติงาน(SOP) และแบบ รายงานการเก็บรวบรวมข้อมูลสถาน ประกอบการ ๒. (ร่าง) พระราชบัญญัติสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพ ๓. งบประมาณสําหรับดําเนินการ สํารวจ/ตรวจประเมินมาตรฐาน/ส่งเสริม พัฒนาสถานประกอบการและสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพ ๔. การอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร งานธุรกิจบริการสุขภาพส่วนภูมิภาค ๕. การประชุม สัมมนาเพื่อจัดทํา ยุทธศาสตร์งานธุรกิจบริการสุขภาพ

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ

หัวข้อ หัวข้อ 3.6 การส่งเสริม การใช้บริการ แพทย์แผน ไทยและ การแพทย์ ทางเลือกใน ระบบบริการ สุขภาพ

ประเด็นการตรวจ ราชการ ระบบการส่งเสริม สนับสนุนการให้บริการ ด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก เพิ่มขึ้น

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ 1.จังหวัดส่งเสริมให้โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาล ชุมชน และรพสต.มีรายการยาสมุนไพรในบัญชียา หลักแห่งชาติไม่น้อยกว่า 20 รายการ ใช้ในสถาน บริการ 2.จังหวัดส่งเสริมให้แพทย์และ/หรือบุคคลที่ เกี่ยวข้อง ได้รับการอบรมความรู้การใช้ยาสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติหรืออบรมหลักสูตรอื่นที่ เกี่ยวข้องกับการเพิ่มมาตรฐานการให้บริการ 3.จังหวัดมีการติดตามการรายงานข้อมูลอย่าง ครอบคลุม ถูกต้องและครบถ้วน

ผลสาเร็จ/ ตัวชี้วัด มีจํานวนผู้ป่วย รับบริการด้าน การแพทย์แผน ไทยเพิ่มขึ้น

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง 1.ส่งเสริมการผลิตและการกระจายยา สมุนไพรในบัญชียาหลักอย่างเพียงพอ 2.จัดอบรมและมีคู่มือการใช้ยาสมุนไพร 3.สนับสนุนโปรแกรมที่จะวิเคราะห์ ข้อมูลจากหน่วยบริการในพื้นที่

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ กรมพัฒนาการแพทย์ แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก

- 12 -

ภารกิจที่ 2 การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 3 : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อที่ 3.1 : การจัดทาแผนบูรณาการงานส่งเสริมป้องกันเชิงรุกระดับจังหวัด ประเด็นการตรวจราชการ : การจัดทาแผนบูรณาการงานส่งเสริมป้องกันเชิงรุกระดับจังหวัด (แผนงานลดโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดสมอง) 1. สถานการณ์และสภาพปัญหา การดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ของแต่ละจังหวัด เป็นภารกิจที่สําคัญของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง สาธารณสุ ข แต่มีห น่ ว ยงานที่ เกี่ย วข้องทั้ง ภาครัฐ และเอกชน รวมทั้ง องค์กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่นทุ กระดั บ มี บ ทบาทและมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า งมากในการดู แ ลสุ ข ภาพของประชาชนทั้ ง ในด้ า นแผนงาน/โครงการ และ งบประมาณ ปัญหาสําคัญที่เกิดขึ้นคือ หน่วยงานหลักและหน่วยงานภาคีเครือข่ายดังกล่าว ต่างทําหน้าที่และ ภารกิจในการดูแลสุขภาพประชาชน โดยมิได้มีการบูรณาการกิจกรรมและงบประมาณด้วยกัน จากการตรวจราชการระดับจังหวัดของกระทรวงสาธารณสุขในปีที่ผ่านมา พบว่า ภาพรวมประเทศส่วน ใหญ่มีความก้าวหน้าในการจัดทําแผนบูรณาการ กล่าวคือ การจัดทําแผนมีหลายภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมมาก ขึ้นจากเดิมที่มีพียงเฉพาะในส่วนของสาธารณสุข โดยดําเนินการในรูปของคณะกรรมการ วิเคราะห์สภาพปัญหา สุขภาพและจัดลําดับความสําคัญของปัญหาในภาพรวมจังหวัด โดยส่ วนใหญ่จะวิเคราะห์จากข้อมูลเชิงระบาด วิทยาเป็นหลัก แต่ยังไม่มีการกล่าวถึงข้อมูลอื่นๆเช่น การวิเคราะห์มาตรการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา หรือข้อมูล เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพเป็นต้น ในส่วนของการจัดทําแผน บู ร ณาการส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น การบู ร ณาการทรัพ ยากร แต่ยั งขาดการบู รณาการแผนร่ ว มกับ ภาคีเ ครื อข่ ายที่ เกี่ยวข้องหรือแม้แต่ในส่วนของสาธารณสุขจังหวัดก็ตาม พบว่า มีการจัดทําแผนบูรณาการร่วมกันแต่ปฏิบัติการ แยกส่วนกัน ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งพบว่า ส่วนใหญ่จังหวัดจะกล่าวถึงกระบวนการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ระดับจังหวัด 3- 5 ปี แผนพัฒนาสาธารณสุขจังหวัด และแผนปฏิบัติการประจําปี เพื่อขับเคลื่อนแผนจังหวัดสู่ การปฏิบัติระดับอําเภอและตําบล โดยไม่ได้กล่าวถึงแผนการแก้ไขปัญหาที่สําคัญๆในภาพรวมจังหวัด ซึ่งเป็น แผนสําคัญที่จะกําหนดมาตรการแก้ไขปัญหาเพื่อเป็นแนวทางที่ชัดเจน ให้พื้นที่สามารถนําไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งจะ เห็นได้จากแผนปฏิบัติการประจําปี และโครงการแก้ปัญหาต่างๆในระดับอําเภอและตําบล ส่วนใหญ่จะเป็น กิจกรรมที่ดําเนินการที่เคยปฏิบัติมาจากปีก่อนๆ และหลายกิจกรรมมีความซ้ําซ้อนกัน เห็นได้จากโครงการมี จํานวนมากทั้งที่เป็นกลุ่มปัญหา/เป้าหมายเดี ยวกัน แสดงถึงการจัดทําแผนที่ยังไม่ได้นําปัญหามาเป็นตัวตั้งเพื่อ บูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างแท้จริง การจั ดทําแผนพัฒ นาสุขภาพระดับจังหวัด เป็นการจัดทําแผนบูรณาการงานส่ งเสริม สุ ขภาพและ ป้องกันโรคเชิงรุกของจังหวัด มิใช่เฉพาะของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเท่านั้น ดังนั้น หน่วยงานหลัก หรือภาคี เครื อ ข่ า ยที่ มี ภ ารกิ จ ดู แ ลสุ ข ภาพทุ ก หน่ ว ยงาน จะต้ อ งมี ทิ ศ ทาง เป้ า หมายการดํ า เนิ น งานร่ ว มกั น ภายใต้ แผนพัฒนาสุขภาพระดับจังหวัด นอกจากนี้ กองทุนสุขภาพตําบล โดยคณะกรรมการสามารถจัดทําแผนปฏิบัติ การให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนดั งกล่าว ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการมีแผนพัฒนาสุขภาพระดับจังหวัด คือ ประชาชนทุกพื้นที่จะได้รับการดูแลสุขภาพด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเชิงรุกมากขึ้น และทั่วถึง ทําให้มีสุขภาพดี นอกจากการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพระดับจังหวัดแล้ว สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด จะต้ องติดตาม การบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตําบลให้มีการจัดทําแผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาสุขภาพจังหวัด รวมทั้งมี การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของกองทุนดังกล่าวด้วย เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม พ.ศ.2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

- 13 -

2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้จังหวัดมีแผนบูรณาการระดับจังหวัดโดยให้ครอบคลุมงานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันและ ควบคุมโรค (มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง) 2.2 เพื่อให้มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดทําแผนบูรณาการในรูปของคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 2.3 เพื่อให้จังหวัดมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุนสุขภาพตําบล

3. แนวทางการดาเนินงาน 3.1 จังหวัดมีการจัดทําแผนบูรณาการเชิงรุกระดับจังหวัด ซึ่งประกอบด้วย งานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกัน และควบคุม 5 โรคที่สําคัญ ได้แก่ มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง โดยใช้ปัญหาสุขภาพใน พื้นที่เป็นตัวกําหนดกลยุทธ์/มาตรการการแก้ปัญหาสุขภาพจากการมีส่วนร่วมและบูรณาการงาน / ทรัพยากรของทุก ภาคส่วน และมีกลไกการขับเคลื่อนแผนบูรณาการเชิงรุกระดับจังหวัด เช่นมีคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล ระดับจังหวัด (กวป.) MCH Board CD & NCD Board เป็นต้น 3.2 มีการนําแผนบูรณาการเชิงรุกระดับจังหวัดไปสู่การปฏิบัติและสามารถดําเนินงานให้บรรลุผลตาม เป้าหมายที่กําหนด และมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุนสุขภาพตําบลให้สอดคล้องกับ แผนบูรณาการเชิงรุก โดยใช้กลไกของคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพสาขาจังหวัด (อปสจ.) 3.2 มีข้อมูลผลการดําเนินงานตามแผน

4. นิยามคาสาคัญ แผนบูรณาการเชิงรุก หมายถึง หมายถึงแผนใดๆซึ่งได้กําหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ อย่างบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ โดยไม่จําเป็นต้องมีรายละเอียดของการปฏิบัติ ทั้งนี้แผนบูรณากร อาจมีชื่อหรือรูปแบบต่างๆตามที่จังหวัดกําหนดขึ้นเช่นแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์ แผนพัฒนา ฯลฯ สิ่งสําคัญที่ ต้องปรากฏในแผนคือมาตรการแก้ปัญหาต้องชัดเจน และแสดงลักษณะบูรณาการ 3 ส่วนได้แก่ 1) บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์หรือมาตรการแก้ปัญหาโดยพิจารณาผสมผสานยุทธศาสตร์ระดั บประเทศ ระดับพื้นที่เข้าด้วยกัน รวมถึงบทบาทภาคีในพื้นที่ เช่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาสังคม 2) บูรณาการเชิงการใช้ทรัพยากร ได้แก่ หน่วยงาน งบประมาณ กําลังคน องค์ความรู้ จากทุกแหล่งไม่ จํากัดเฉพาะกระทรวงสาธารณสุข หรือจากสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเท่านั้น 3) บู ร ณาการเชิ ง กํ า กั บ ติ ด ตามและประเมิ น ผล หมายถึ ง การติ ด ตามและให้ ข้ อ เสนอแนะต่ อ การ ดําเนินงานของหน่วยต่างๆ ให้บูรณาการไปในทิศทางเดียวกัน โดยเน้นปัญหาสุขภาพในพื้นที่เป็นหลัก แผนบูรณาการที่จัดว่ามีคุณภาพ จะพิจารณาความชัดเจนจาก 3 องค์ประกอบ คือการวิเคราะห์ สภาพ ปัญหาที่ชัดเจนทั้งด้านกว่างและด้านลึก การระบุกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้อย่างแยกแยะ การกําหนดกล ยุทธ์และมาตรการที่มีผลต่อการแก้ปัญหา ทั้งนี้แผนบูรณาการไม่ใช่การรวบรวมโครงการต่างๆเข้าด้วยกัน ซึ่งจะ ทําให้เกิดความซ้ําซ้อนและผู้ปฏิบัติอาจเกิดความสับสนได้ง่าย ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ หมายถึง ปัญหาในขอบเขตพื้นที่หนึ่งๆ ที่เกิดจากโรค การเจ็บป่วย และพยาธิ สภาพทั้งร่างกายและจิตใจ รวมทั้งปัญหาที่เกิดจากพยาธิสภาพทางสังคม สิ่งแวดล้อม พฤติกรรม และปัจจัยที่มี ผลต่อสภาวะสุขภาพ

- 14 -

5. ผลลัพธ์ที่ต้องการ 4.1 จังหวัดมีแผนบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเชิงรุกระดับจังหวัด 4.2 กองทุนสุขภาพตําบล มีการดําเนินงานที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนบูรณาการเชิงรุก 4.3 มีการนําแผนบูรณาการเชิงรุกระดับจังหวัดไปสู่การปฏิบัติและสามารถดําเนินงานให้บรรลุผลตาม เป้าหมายที่กําหนด

6. ผลสาเร็จ/ตัวชี้วัด ร้อยละของการบรรลุผลตามแผนที่กําหนด

7. หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ 6.1 สํานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 6.2 สํานักตรวจและประเมินผล

ภารกิจที่ 2 การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อ 3.1 การจัดทําแผนบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกระดับจังหวัด

- 15 -

ประเด็นการตรวจราชการ.การจัดทําแผนบูรณาการเชิงรุกงานบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากของกอง ทุนทันตกรรม ๑. สถานการณ์สภาพปัญหา เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงบริการบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปาก ให้ผู้มีสิทธิทุกสิทธิ สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างครอบคลุมอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถควบคุมสถานการณ์การเกิดโรคในช่อง ปากในระยะยาว โดยจัดระบบงบประมาณในรูปแบบกองทุนทันตกรรม ซึ่งเป็นกระจายอํานาจการตัดสินใจและ การจัดการด้านงบประมาณให้จังหวัดสามารถกําหนดแผนดําเนินการเชิงบูรณาการเชิงรุก ตามสภาพปัญหา ข้อมูลเชิงประจักษ์ และบริบทพื้นที่ของประชาชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ๒. วัตถุประสงค์ สนับสนุนให้จังหวัดจัดทําแผนบูรณาการเชิงรุกและจัดระบบบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปาก ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. แนวทางการดาเนินการ ๑. จังหวัดมีระบบข้อมูลและวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพช่องปากของพื้นที่ ๒. จังหวัดมีกลไก กระบวนการ และเครือข่ายในการจัดทําแผนบูรณาการเชิงรุกสุขภาพช่องปากจาก ข้อมูลเชิงประจักษ์ ๓ จังหวัดมีการนําแผนบูรณาการเชิงรุกสุขภาพช่องปากสู่แผนปฏิบัติของหน่วยงานในระดับต่างๆ และสามารถดําเนินการบรรลุผลตามเป้าหมายที่กําหนด ๔. จังหวัดมีระบบการติดตามครอบคลุมของการให้บริการ และติดตามการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์แผนงาน/โครงการกําหนด ๕. จังหวัดมีระบบสนับสนุนและรูปแบบการจัดบริการสุขภาพช่องปากในระดับเครือข่ายและระดับรพ. สต.อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ๔. ผลลัพธ์ที่ต้องการ ๑. จังหวัดมีระบบข้อมูลและศักยภาพในการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพช่องปากของพื้นที่ ๒. จังหวัดมีแผนบูรณาการเชิงรุกสุขภาพช่องปากสู่แผนปฏิบัติของหน่วยงานในระดับต่างๆ ๓. เกิดรูปแบบการจัดบริการสุขภาพช่องปากระดับอําเภอที่เข้มแข็ง ๔. มีการพัฒนาโครงการเชิงพัฒนา/นวัตกรรมต่าง ๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับเครือข่าย

- 16 -

ผลสาเร็จ/ตัวชี้วัด ร้อยละของการบรรลุตามแผนที่กําหนด หน่วยงาน/ผู้ที่รับผิดชอบ หน่วยงาน สํานักทันตสาธารณสุข กรม กรมอนามัย ชื่อสกุล นางสุณี วงศ์คงคาเทพ ตําแหน่ง ทันตแพทย์ชํานาญการพิเศษ โทร. ๐๒-๕๙๐ ๔๒๑๓ โทรสาร ๐๒-๕๙๐๔๒๐๓ มือถือ ๐๘๑ ๖๖๘๓๔๑๒ E-mail : [email protected]

- 17 -

แบบรายงานการนิเทศผลดาเนินงานกองทันทันตกรรมปีงบประมาณ ๒๕๕๕ รอบที่.......... (รายงานเตรียมส่งให้ทีมนิเทศงานของแต่ละจังหวัด และ สํานักทันตสาธารณสุข รายงานปีละ ๒ ครั้ง)

ข้อมูลทั่วไป ๑.๑ จํานวนอําเภอในจังหวัด ……......แห่ง ๑.๒ จํานวน CUP ในจังหวัด……......แห่ง ๑.๓ จํานวน PCU โรงพยาบาล ……..แห่ง ๑.๔ จํานวน รพ.สต. ในจังหวัด..........แห่ง ๑.๕ จํานวนประชากรทั้งหมด ………...........…คน จํานวนประชากรสิทธิ์ UC …................………คน จานวนทันตบุคลากรในจังหวัด ๑. จํานวนทันตแพทย์ทั้งหมด ………...........................................คน จําแนกเป็นทพ.กสธ. ....................คน ทพ.รัฐอื่น....................คน ทพ.เอกชน...................................คน สัดส่วนทันตแพทย์ต่อประชากร = ....................................................................................................... จํานวนทันตแพทย์เฉพาะทาง.................คน ๒. จํานวนทันตาภิบาลทั้งหมด ……….........................................คน จําแนกเป็นทันตาภิบาล รพ. ............. คน ทันตาภิบาล รพ.สต.....................คน สัดส่วนทันตาภิบาลต่อประชากร = .................................... ๓. จํานวนนักวิชาการทํางานในงานทันตกรรม ………...............คน นวก.ปฏิบัติงานในสสจ................คน นวก.ปฏิบัติงานในรพ.................คน นวก.ปฏิบัติงานในรพ.สต..............คน ๔. จํานวนผู้ช่วยทันตแพทย์ (ในตําแหน่งจพง.ทันตฯ) …................คน จํานวนลูกจ้าง..................คน การจัดบริการตสุขภาพช่องปากใน รพ.สต. จํานวนรพ.สต.ที่มีครุภัณฑ์ทันตกรรมครบชุด.............แห่ง จํานวนรพ.สต.มีครุภณ ั ฑ์ทันตกรรมไม่ครบชุด.......แห่ง จํานวนรพ.สต.ที่ไม่มีครุภัณฑ์ทันตกรรม .............แห่ง ปี ๒๕๕๕ มีการตั้งงบครุภณฑ์ทันตกรรมในรพ.สต..............แห่ง จํานวนรพ.สต.ที่มีทันตาภิบาลปฏิบัติงานประจํา............แห่ง จํานวนรพ.สต.ที่มีทันตาภิบาลหมุนเวียนให้บริการ..........แห่ง จํานวน รพ.สต.ทีไ่ ม่มบี ริการทันตกรรม...........แห่ง รพ.สต.ที่ทันตบุคลากรประจําและครุภณ ั ฑ์ทันตกรรมพร้อมให้บริการ..........แห่งคิดเป็นร้อยละ.........ของรพ.สต.ทั้งหมด รพ.สต.ที่ทันตบุคลากรประจําและแต่ไม่มีครุภัณฑ์ทันตกรรม..........แห่งคิดเป็นร้อยละ.........ของรพ.สต.ทั้งหมด รพ.สต.ทีไ่ ม่มีทันตบุคลากรประจําและแต่มีครุภัณฑ์ทันตกรรม..........แห่งคิดเป็นร้อยละ.........ของรพ.สต.ทั้งหมด รพ.สต.ทีไ่ ม่มีทั้งทันตบุคลากรประจําและครุภณ ั ฑ์ทันตกรรม..........แห่งคิดเป็นร้อยละ.........ของรพ.สต.ทั้งหมด จังหวัดมีแผนพัฒนาบริการ oral service plan อย่างไรในปี ๒๕๕๕-๒๕๕๗ ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................

- 18 -

ข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพระดับจังหวัด กลุ่มอายุ รายการตัวชี้วัดสภาวะทันตสุขภาพ กลุ่มอายุ ๑.๕ปี ร้อยละเด็กปราศจากฟันผุในฟันน้ํานม กลุ่มอายุ ๓ ปี ร้อยละเด็กปราศจากฟันผุในฟันน้ํานม กลุ่มอายุ ๖ ปี (ป ๑) ร้อยละเด็กปราศจากฟันผุในฟันแท้ กลุ่มอายุ ๑๒ ปี (ป ๖) ร้อยละเด็กปราศจากฟันผุในฟันแท้ ค่าเฉลี่ยผุ ถอน อุดในฟันแท้ (DMF) เด็กอายุ ๑๒ ปี (ป.๖) ไม่มีเหงือกเลือดออก กลุ่มอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ร้อยละของประชากรที่มีฟันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า ๒๐ ซี่

๒๕๕๒

๒๕๕๓

ร้อยละประชากรทีม่ ีฟันใช้งานที่เหมาะสม (ไม่น้อยกว่า ๔ คู่สบ) หมายเหตุ กลุ่มใดมีการเก็บข้อมูลขอให้ช่วยรายงานอย่างชัดเจน สรุปสถานการณ์ระดับปัญหาของจังหวัด ……ควรเน้นน้าหนักการส่งเสริมป้องกันและพัฒนาบริการในกลุ่มใดบ้าง ด้วย มาตรการแก้ปัญหาอย่างไร ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................

๒๕๕๔

- 19 แผนงาน /โครงการและการใช้งบประมาณ ๑ แผนงาน /โครงการระดับจังหวัดในส่วนของงบพัฒนาระบบ (0.75 บาท/ปชก.) : บูรณาการการตั้งงบประมาณในจังหวัด ฝ่ายทันตฯต้องเสนอโครงการของบจาก นพ.สสจ. ซึ่งจาแนก เป็นวัตถุประสงค์ ๖ ด้าน 1 ศึกษาสถานการณ์ 2 พัฒนาระบบข้อมูล 3 นิเทศกํากับ 4 พัฒนาศักยภาพบุคลากร 5 ประเมินผลโครงการ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการ ลาดับที่

โครงการ / กิจกรรม

วัตถุประสงค์

งบประมาณที่ได้รับ

งบประมาณที่ใช้ไป

๒ แผนงาน /โครงการระดับจังหวัด (1.72บาท/ปชก.ทุกสิทธิ) ซึ่งจาแนก เป็นวัตถุประสงค์ ๗ ด้าน 1 จัดบริการบูรณาการ 2 จัดบริการเชิงรุก 3 พัฒนาบริการใน รพ.สต. 4 พัฒนาการจัดบริการร่วมอสม. / ท้องถิ่น 5 พัฒนาโครงการแก้ปัญหา 6 พัฒนาระบบบริการ 7 รณรงค์ระดับจังหวัด ลาดับที่

โครงการ / กิจกรรม

วัตถุประสงค์

งบประมาณที่ได้รับ

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม พ.ศ.2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

งบประมาณที่ใช้ไป

- 20 -

๓ แผนงาน / โครงการระดับอาเภอ ( 13.73 บาท/ปชก.ทุกสิทธิ ) ซึ่งจาแนก เป็น ๗ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่ม ANC กลุ่ม WBC กลุ่ม เด็กก่อนวัยเรียน กลุ่ม นักเรียนประถม/ นักเรียนมัธยม กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มสอ. / รพ.สต. กลุ่มอื่นๆ DM, ผู้พิการ, เอกชน ลาดับที่

CUP ๑





โครงการ / กิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

งบประมาณที่ได้รับ

1 ๒ ๓. ฯลฯ 1 ๒ ๓. ฯลฯ 1 ๒ ๓. ฯลฯ

สรุปแผนงานโครงการของจังหวัดในภาพรวม กาหนดขึ้นเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาต่างๆในจังหวัดอย่างไร

งบประมาณที่ใช้ไป

- 21 ผลผลิต ผลลัพธ์ การให้บริการ

กลุ่มอายุ ๕.๑ กลุ่มเด็ก อายุ ๐ - ๕ ปี

๕.๒ กลุ่มเด็ก ประถมศึกษา

๕.๓ งาน ส่งเสริมทันต สุขภาพใน ผู้สูงอายุ

รายการ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ ๑. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (คน) ๒. เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช (คน) ๓. ผู้ปกครองเด็กอายุ ๙ - ๑๒ เดือน ได้รับการสาธิตการแปรงฟัน (คน) ๔. เด็กอายุ ๐ - ๕ ปี ได้รับบริการทันตกรรม (การเข้าถึงบริการสุขภาพ ช่องปาก) (คน) ๑. เด็กนักเรียนชั้น ป. ๑ ได้รับการตรวจฟัน (คน) ๒. เด็กนักเรียนชั้น ป. ๑ ได้รับ SEALANT (คน/ซี่) ๓. เด็กนักเรียนชั้น ป. ๑ ได้รับบริการทันตกรรม Comprehensive care (คน) ๔. เด็กอายุ ๖ - ๑๒ ปี ได้รับบริการทันตกรรม (การเข้าถึงบริการสุขภาพช่อง ปาก) (คน) ๕. โรงเรียนที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี (ระบุจํานวนโรงเรียน ที่เข้าร่วมและจํานวนเครือข่าย โดยไม่ต้องระบุร้อยละ) ๑. ผู้สูงอายุใส่ฟันเทียม (คน) ๒. ผู้สูงอายุใส่รากฟันเทียม (คน) ๓. ชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก (ระบุจํานวนชมรม ไม่ ต้องระบุร้อยละ)

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม พ.ศ.2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

- 22 -

การบริหารจัดการกองทุนทันตกรรม

ระดับการบริหาร จัดการ

ลักษณะ/รูปแบบการบริหารจัดการ

๖.๑ ระดับจังหวัด

๑. จังหวัดมีคําสั่งแต่งตั้งและจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ สุขภาพช่องปากระดับจังหวัด ๒. จังหวัดมีแผนยุทธศาสตร์ด้านทันตสาธารณสุขระดับจังหวัด ๓. จังหวัดมีระบบจัดเก็บและฐานข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพ ในภาพรวมของ จังหวัด ๔. จังหวัดมีระบบติดตามผลการดําเนินงาน ๕. จังหวัดมีระบบการเตรียมความพร้อมสําหรับทันตบุคลากรใหม่ก่อน ปฏิบัติงาน ๑. มีคําสั่งแต่งตั้งและจัดประชุมคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับ อําเภอที่ประกอบด้วยทันตบุคลากร ผู้แทนท้องถิ่นและภาคประชาชน ๒. มีการวางแผนปฏิบัติงานส่งเสริมป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก ในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของ รพ.สต.เครือข่าย ระบุ แห่ง ๓. มีโครงการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

๖.๒ ระดับ CUP

๔. มีการนิเทศ ติดตามการดําเนินงานของ รพ.สต.เครือข่าย ระบุ แห่ง ๕. มีข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพในกลุ่มอายุหลัก ๖. มีแผนการจัดบริการทันตกรรมหมุนเวียนใน รพ.สต.ที่ไม่มีทนั ตบุคลากร ทุกแห่ง ๗. มีการสนับสนุนวัสดุทนั ตกรรม แก่ รพ.สต.เครือข่าย ระบุ แห่ง ๘. มีระบบการพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร ระบุ

ไม่มี

มี

23

ระบุแผนงาน/โครงการเชิงพัฒนา หรือนวัตกรรมต่างๆ(ระดับจังหวัดและเครือข่าย ๑. ระดับจังหวัด ลาดับที่

ชื่อโครงการ ๑. โครงการ...............

รายละเอียดโครงการโดยย่อ

กลุ่มเป้าหมาย

๒. โครงการ................

ลาดับที่

๒. ระดับอาเภอ / เครือข่าย เครือข่าย ชื่อโครงการ

รายละเอียดโครงการโดยย่อ

๑. โครงการ...............

๒. โครงการ................

ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน ๑. .................................................................................................................................................... ๒. .................................................................................................................................................... ๓. .................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะสาหรับส่วนกลาง ๑. .................................................................................................................................................... ๒. .................................................................................................................................................... ๓. ....................................................................................................................................................

กลุ่มเป้าหมาย

24

แบบ ตก.๑

สรุปภาพรวมจังหวัด ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวง ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ เขตตรวจราชการที่ ..... จังหวัด................... รอบที่ ...... วันที่ ........................ คณะที่3 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ภารกิจที่2 : การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่3 : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อ ๓.๑ การจัดทาแผนบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกระดับจังหวัด เรื่อง ๓.๑.๒ การจัดทาแผนบูรณาการเชิงรุกงานบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปาก ของกองทุนทันตกรรม 1. วิเคราะห์สถานการณ์ สภาพปัญหาของพื้นที่ สรุป ๑) ปัญหาสุขภาพช่องปาก ๒) การขาดแคลนทรัพยากร ๓) ปัญหาระบบบริหารจัดการ ฯลฯ 2. วิเคราะห์แผนบูรณาการเชิงรุกงานบริการส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากของกองทุนทันตกรรม จังหวัดสรุปปัญหาแต่ละกลุ่มเป้าหมาย และกาหนดแผนบูรณาการเชิงรุกอย่างไร (คือแผนแก้ปัญหา สุขภาพช่องปากของพื้นที่) การนําแผนบูรณาการเชิงรุกสู่แผนปฏิบัติ ๓ กลุ่มของกองทุนทันตกรรม แผน ๓ กลุ่ม คือ แผนงาน /โครงการระดับจังหวัดในส่วนของงบพัฒนาระบบ (0.75 บาท/ปชก.) แผนงาน /โครงการระดับจังหวัด (1.72บาท/ปชก.ทุกสิทธิ) และ แผนงาน / โครงการระดับอาเภอ ( 13.73 บาท/ปชก.ทุกสิทธิ ) โดยสรุปเสนอในการตรวจราชการรอบ ๑ แผนงาน /โครงการระดับจังหวัดในส่วนของงบพัฒนาระบบ วัตถุประสงค์ของโครงการ จํานวนเงิน ร้อยละ 1 การศึกษาสถานการณ์ปัญหา 2 การพัฒนาระบบข้อมูล 3 การนิเทศกํากับ 4 พัฒนาศักยภาพบุคลากร 5 ประเมินผลโครงการ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการ รวม

25

แผนงานกองทุนทันตกรรมระดับจังหวัด ประกอบด้วย.........โครงการ รวมจํานวนงบประมาณ................บาทดังนี้ วัตถุประสงค์ของโครงการ

จํานวนเงิน

ร้อยละ

1 จัดบริการบูรณาการ 2 จัดบริการเชิงรุก 3 พัฒนาบริการใน รพ.สต. 4 พัฒนาการจัดบริการร่วมอสม. / ท้องถิ่น 5 พัฒนาโครงการแก้ปัญหา 6 พัฒนาระบบ 7 รณรงค์ระดับจังหวัด

แผนงานกองทุนทันตกรรมระดับอําเภอ (สรุปจากทุกอําเภอ) กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ (ANC) เด็กปฐมวัย (WCC) เด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มนักเรียนประถมศึกษา นักเรียนมัธยมศึกษา ผู้สูงอายุ งานบริการสุขภาพในรพ.สต อสม. รวม

จํานวนโครงการ

ระบบติดตามผลการดําเนินการ จังหวัดมีการพัฒนาระบบติดตามผลการให้บริการดังนี้

รวมจํานวนงบประมาณ

ร้อยละ

26

ระบบสนับสนุนและรูปแบบการจัดบริการสุขภาพช่องปากในระดับเครือข่าย และระดับรพ.สต. จังหวัดมีการพัฒนาระบบสนับสนุนและรูปแบบการจัดบริการสุขภาพช่องปากในระดับเครือข่าย และ ระดับรพ.สต 3. วิเคราะห์ผลการดาเนินงานในเชิงปริมาณ (Output) และ เชิงคุณภาพ (Outcome/Impact) แสดงผลงานในเรื่องแผนงาน/โครงการและการใช้จ่ายงบประมาณ 4. ปัญหาและข้อเสนอแนะ ปัญหา ข้อเสนอแนะ 5. เรื่องที่ผู้นิเทศงานรับไว้เพื่อดาเนินการต่อและ/หรือประสานการแก้ไข 6. ผลลัพธ์จากการดาเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย เป็นการรายงานผลงานต่างๆตามแผนเทียบกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์โครงการ :ซึ่งส่วนใหญ่จะรายงาน ในช่วงตรวจราชการรอบ ๒ ๗. รายชื่อคณะตรวจราชการและนิเทศงาน ชื่อ-สกุล:ผู้นิเทศงาน ตาแหน่ง

หน่วยงาน

มือถือ

27

ภารกิจที่ ๒ : การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 3 : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อที่ ๓.๒ : การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ประเด็นการตรวจราชการ กระบวนการดําเนินงานขับเคลื่อนให้เกิดอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สถานการณ์และสภาพปัญหา กระทรวงสาธารณสุข ได้เห็นความสําคัญของนโยบายอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ที่ใช้อําเภอ เป็นจุดเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรในการดําเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยนับการมีส่วนร่วมระหว่างสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค และองค์กรปกครองส่วน ท้ อ งถิ่ น ในการขั บ เคลื่ อ นให้ เ กิ ด ระบบเฝ้ า ระวั ง ป้ อ งกั น ควบคุ ม โรคและภั ย สุ ข ภาพระดั บ อํ า เภอที่ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ที่สามารถดําเนินการได้ด้วยตนเองในการ ควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ซึ่งในปี 2555 นี้ มุ่งเน้นผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกิดความ ตระหนัก ถึงบทบาทในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค รวมทั้งการบูรณาการ การดําเนินงานขององค์กร ระดับจังหวัด วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาอําเภอให้มีคุณลักษณะเป็นอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 2) เพื่ อ พั ฒ นาจั ง หวั ด ให้ มี ร ะบบและกลไกการบริ ห ารจั ด การที่ เ อื้ อ /สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา “อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ จังหวัดมีกระบวนการขับเคลื่อนและอําเภอมีการดําเนิ นงานตามคุณลักษณะที่กําหนดในแต่ละด้าน เพื่อขับเคลื่อนให้เป็น “อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ดังนี้ 1. น าข้อ มูลทางระบาดวิทยาของโรคและภัยสุขภาพมาประเมิน สถานการณ์ รวมถึงปัจจัย ที่ เกี่ยวข้องอื่น มากาหนดเป้าหมาย วางแผนและปฏิบัติการร่วมกันในการพัฒนาให้เกิด “อาเภอควบคุม โรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ระหว่างหน่วยงานภายในจังหวัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก/องค์กรอื่น 1.1 มีระบบข้อมูล ครบ 4 ด้าน  ข้อมูลโรคและภัยสุขภาพ  ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นภัยต่อสุขภาพ เช่น ปัจจัยทางสังคม ประชากร สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรม เสี่ยง  ข้อมูลการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน  มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครือข่ายภายในจังหวัด เครือข่ายระดับเขต และ/หรือ ส่วนกลาง 1.2 มีการวิเคราะห์และนําเสนอข้อมูลตามข้อ 1.1 เพื่อประเมินสถานการณ์และร่วมแก้ปัญหาโดย บุคลากรจากหน่วยงานระดับจังหวัด อําเภอ และ/หรือหน่วยงานจากภายนอกอื่นๆอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 1.3 ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ผลการประเมิน Self Assessment คุณลักษณะอําเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เพื่อหาประเด็นที่ต้องพัฒนา (GAP) และวางแผน กําหนดเป้าหมายการพัฒนา อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ในปีงบประมาณ 2555

28

2. จังหวัดมีกลไกการสนับสนุนให้อาเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยั่งยืน - มีคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ที่มีบทบาทหน้าที่ในการสนับสนุนให้เกิดอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรของสํานั กงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานภายในจังหวัด และ/หรือ หน่วยงานภายนอกอื่นๆ - จัดทําแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2555 เพื่อสนับสนุน อําเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน - สื่อสาร ถ่ายทอด ชี้แจงนโยบาย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับหน่วยงานภายใต้สั งกัดสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดทุกระดับ และ/หรือหน่วยงานภายนอกอื่น รับทราบอย่างทั่วถึง - มีการถ่ายทอดความรู้ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับตําบล ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในอําเภอทุกแห่งรับทราบอย่างทั่วถึง 3.จังหวัดมีระบบการติดตามความก้าวหน้า และผลสาเร็จ พร้อมสรุปผลการดาเนินงาน ปัญหา/ อุปสรรคและข้อเสนอแนะ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาให้เกิด "อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน" - กําหนดแผนการติดตามประเมินผล โดยมีปฏิทินการทํางานอย่างชัดเจน - มีการนิเทศ กํากับ ติดตามผลการดําเนินงานของอําเภออย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี ในไตรมาส 2 และ 3 - สรุปรายงานผลการดําเนินงานในภาพรวม รอบ 6 และ 9 เดือน พร้อมให้ข้อเสนอแนะในการ ขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบอย่างทั่วถึง - เผยแพร่ ผลการดําเนินงานขับเคลื่อนอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงหน่วยงานภายนอก/องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องรับทราบ อย่างทั่วถึง 4. จั ง หวั ด มี ร ะบบเฝ้ า ระวั ง โรค สอบสวน และการป้ อ งกั น ควบคุ ม โรคและภั ย สุ ข ภาพ ที่ มี ประสิทธิภาพ - ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับจังหวัด ดําเนินการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรคได้ตามมาตรฐานที่สอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ - มี ก ารประเมิ น ระบบเฝ้ า ระวั ง หรื อ ถอดบทเรี ย นการสอบสวนการป้ อ งกั น ควบคุ ม โรคพร้ อ ม ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาอย่างน้อย 1 เรื่อง ต่อปี 5. อาเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนตามเป้าหมาย ภาพรวมจังหวัด ต้องมีจํานวนอําเภอที่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยั่งยืนอย่างน้อย ร้อยละ 60 ของอําเภอทั้งหมดในจังหวัด โดยที่อําเภอจะต้องผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน คุณลักษณะ ดังนี้ หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ คุณลักษณะที่ ๑ มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1.1 คําสั่งคณะกรรมการสุขภาพระดับอําเภอประกอบด้วยตัวแทนจาก 3 ภาคส่วน - ภาครัฐ (รพ./ สสอ. นายอําเภอ)

5

29

หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ - ท้องถิ่น (อปท.ภายในอําเภอ) - ภาคประชาชน (อสม./ผู้นําชุมชน/องค์กรพัฒนาเอกชน) 1.2 มีรายงานการประชุมของคณะกรรมการฯ อย่างสม่ําเสมออย่างน้อยไตรมาส ละ 1 ครั้ง 1.3 นําผลการวิเคราะห์สถานการณ์มากําหนดปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหามาใช้ในการดําเนินงาน 1.4 มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบให้ดําเนินการควบคุมโรค/ภัยอย่างน้อยร้อยละ 50 ของการประชุม 1.5 มีการติดตามผลการดําเนินงานตามมติการประชุมคณะกรรมการอย่างสม่ําเสมอ คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอาเภอ 2.1 ทีม SRRT อาเภอและเครือข่ายมีความพร้อมและปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1.1 ทีม SRRT ระดับอําเภอ ได้รับการประเมินโดย สคร. และผ่านมาตรฐาน 2.1.2 มีการอบรม “การเฝ้าระวังเหตุการณ์” แก่ SRRT เครือข่ายระดับตําบล ครอบคลุมทุก รพ.สต. 2.2 ทีม SRRT ระดับตาบลมีการดาเนินงานดังนี้ 2.2.1 อสม.ทุกคนผ่านการอบรมการเฝ้าระวังเหตุการณ์ 2.2.2 มีข่าวที่ได้รับแจ้งอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง 2.2.3 มีการแจ้งข่าวแก่เครือข่าย อสม.ในพื้นที่หรือ สสอ.ในกรณีที่พบความผิดปกติหรือมีการระบาด 2.2.4 มีการบันทึกข้อมูลการแจ้งข่าวลงในโปรแกรมออนไลน์ได้อย่างถูกต้อง ได้แก่ แหล่งข่าว ข้อความ ข่าวชัดเจน ขนาดของปัญหา การดําเนินการหลังรับแจ้ง 2.2.5 มีการสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2.2.6 มีการประชุมทีม SRRT เครือข่ายระดับตําบลอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 2.2.7 มีเครือข่ายการเฝ้าระวัง สอบสวน เพื่อประโยชน์ ในการเฝ้าระวังป้องกันโรค/ภัยสุขภาพ เช่น เครือข่าย mailgroups, facebook, การสอบสวนโรคร่วมกัน 2.3 มีระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 2.3.1 ระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังโรคติดต่อมีคุณลักษณะดังนี้ 2.3.1.1 มีความครอบคลุมของสถานบริการที่ส่งรายงาน 2.3.1.2 ข้อมูลทันเวลาเป็นปัจจุบัน 2.3.1.3 มีการสํารองข้อมูลอย่างน้อย 5 ปีย้อนหลัง 2.3.1.4 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ์ทุกเดือน 2.3.2 ระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อมีคุณลักษณะดังนี้ 2.3.2.1 มีฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือด สมอง 2.3.2.2 สํารองข้อมูลอย่างน้อย 5 ปีย้อนหลัง 2.3.2.3 จัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ์ ทุก 6 เดือน 2.3.3 ระบบข้อมูลและการเฝ้าระวังโรค/ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆมีคุณลักษณะดังนี้ 2.3.3.1 มีการเฝ้าระวังหรือสํารวจข้อมูลด้านพฤติกรรม และ/หรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของ โรค/ภัยสุขภาพ เช่น ดัชนีลูกน้ํายุงลาย การละเมิดกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ การละเมิด กฎหมายควบคุมการบริโภคยาสูบ การใช้ถุงยางอนามัย ฯลฯ 2.3.3.2 มีการจัดทําหรือนําเสนอรายงานสถานการณ์และผลการวิเคราะห์โรค/ภัยสุขภาพ / ปัจจัย /

30

หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ พฤติกรรม / สิ่งแวดล้อม คุณลักษณะที่ ๓ มีการวางแผน กากับติดตามและประเมินผล การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3.1 มีเป้าหมายและแผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสําคัญของพื้นที่อย่างน้อย 1 เรื่อง 3.2 มีเป้าหมายและแผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสาธารณสุขตามนโยบาย อย่างน้อย 1 เรื่อง 3.3 มีปฏิทินปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาของพื้นที่และที่เป็นนโยบายของ ประเทศ 3.4 มีปฏิบัติการร่วมกับท้องถิ่นและภาคประชาชนในการป้องกันควบคุมโรค/ปัญหาสุขภาพที่เป็นปัญหาของ พื้นที่และที่เป็นนโยบายของประเทศ 3.5 มีผู้รับผิดชอบติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่และที่เป็น นโยบายของประเทศ 3.6 มีการกําหนดแนวทางการประเมินผลโครงการแผนงาน/แผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพ 3.7 มีการกําหนดระยะเวลาในการประเมินผลความสําเร็จของแผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพ 3.8 มีรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เพื่อใช้ในการติดตาม กํากับ อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 3.9 มีแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุมโรค/ ภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระดับอําเภออย่างน้อย 1 แผน 3.10 มีการซ้อมแผนรองรับการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระดับอําเภออย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง คุณลักษณะที่ ๔ มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 4.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ., เทศบาล, อบต. - ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคอย่างเป็นรูปธรรม 4.2 กองทุนสุขภาพชุมชน - ร้อยละของกองทุนสุขภาพชุมชน จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคอย่างเป็นรูปธรรม (มีแผนการ ทํางานและการใช้เงิน) 4.3 โรงพยาบาลคู่สัญญาหลัก (CUP ) ที่ดูแลหลักประกันสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่ในอําเภอ - CUP จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคอย่างเป็นรูปธรรม 4.4 หน่วยอื่นๆ เช่น องค์กรเอกชน วัด ประชาชน - หน่วยงานอื่นๆเช่น องค์กรเอกชน วัด ประชาชน จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรคโดยคณะ กรรมการฯอําเภอมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรเป็นรูปธรรมสามารถตรวจสอบได้ คุณลักษณะที่ ๕ มีผลสาเร็จของการควบคุมโรคที่สาคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและโรคที่เป็น ปัญหาในพื้นที่อย่างน้อยประเด็นละ 1 เรื่อง ผลลัพธ์ที่ต้องการ

31

อําเภอมีคุณลักษณะเป็น “อําเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ”ส่งผลให้เกิดการลดโรคที่เป็นปัญหา ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและโรคที่เป็นปัญหาในระดับอําเภอ ร้อยละ 60 ของอําเภอทั้งหมดใน จังหวัด หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค ผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมควบคุมโรค ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาวพรทิพย์ ศิริภานุมาศ ตําแหน่ง ผู้อํานวยการกองแผนงาน โทร 02 - 5903085 โทรสาร 02 - 5903082 มือถือ 089 - 0324599 อีเมล์ [email protected] 2. แพทย์หญิงวรรณา หาญเชาว์วรกุล ตําแหน่ง ผู้อํานวยการสํานักจัดการความรู้ โทร 02 - 9659611 โทรสาร 02 - 9659610 มือถือ 081 - 4427959 อีเมล์ [email protected] 3. นางอํานวย แสงฉายเพียงเพ็ญ ตําแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ กองแผนงาน โทร 02 - 5903278 โทรสาร 02 – 5903082 มือถือ 089 – 3004338 อีเมล์ [email protected] 4. ดร.อริยะ บุญงามชัยรัตน์ ตําแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ กองแผนงาน โทร 02 – 5903091 โทรสาร 02 – 9659588 มือถือ 081 - 8317413 อีเมล์ [email protected] 5. นางสุจิตรา บัวแช่ม ตําแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ กองแผนงาน โทร 02 – 5903091 โทรสาร 02 – 9659588 มือถือ 085 - 3600191 อีเมล์ [email protected] -----------------------------------------------------------------------------------

ภารกิจที่ ๒ :

การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค

32

ประเด็นหลักที่ ๓ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อที่ ๓.3 : การดูแลปัญหาสุขภาพจิต ประเด็นการตรวจราชการ : ระบบการเฝ้าระวังป้องกันการฆ่าตัวตายและติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตาย

สถานการณ์และสภาพปัญหา ปัญหาการฆ่าตัวตายเป็นผลกระทบทางสุขภาพจิตที่รุนแรงที่สุด จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลถูกบีบคั้นหรือ คับ ข้ องใจอย่ า งรุ น แรง ถื อเป็ น หนึ่ ง ในดัช นี ชี้วั ดสุ ข ภาพจิ ตโดยรวม โดยดู เรื่ องอัตราฆ่ าตัว ตายสํ า เร็ จต่ อ ประชากรแสนคน (KPI ระดับกระทรวงสาธารณสุข) ในปีที่ผ่านมาอัตราอยู่ในระดับที่ควบคุมได้ แต่เป็นที่ทราบ ดีอยู่แล้วว่าสภาวะวิกฤติในประเทศไทยเพิ่มความรุนแรง ทั้งภาวะวิกฤติธรรมชาติ ภาวะวิกฤติด้วยน้ํามือมนุษย์ ภาวะวิกฤติด้านเศรษฐกิจ ความขัดแย้งทางการเมือง ซึ่งอนาคตมีแต่จะกดดันมากขึ้น ปัญหานี้จึงยังคงต้อง ได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง ผู้มีประวัติการพยายามฆ่าตัวตายถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ใหญ่ที่สุดของผู้ฆ่าตัวตายสําเร็จ การพยายามฆ่าตัว ตายมีความสัมพันธ์กับการฆ่าตัวตายสําเร็จมาก ประมาณการณ์ได้ว่า ในผู้พยายามฆ่าตัวตาย ๑๐ ราย ประสบ ความสําเร็จ ๑ ราย ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายสมควรได้รับการดูแล เพื่อเป็นการช่วยเหลื อ เพื่อ ลดความทุกข์ ทรมานทางจิตใจ เยียวยาแก้ไขในสิ่งที่ค้นพบและทํา การป้องกันการฆ่าตัวตายในที่สุด

วัตถุประสงค์ ให้ห น่ว ยบริการสาธารณสุขระดับ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่ว ไป โรงพยาบาลชุมชน และ โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพระดับตําบล/สถานีอนามัย ๑. เพื่อเสริมสร้างและป้องกันผู้ที่ทําร้ายตนเอง ให้เผชิญชีวิตอยู่ในสั งคมได้อย่างปกติสุ ข ๒. เพื่อลดปัญหาการฆ่าตัวตายโดยเพิ่มการเข้าถึงบริการด้ายการมีระบบการค้นหา คัดกรอง เฝ้าระวัง ดูแลและช่วยเหลือ ผู้มีภาวะซึมเศร้าและผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย รวมไปถึงติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องในชุมชน ๓. เพื่อให้มีการเฝ้าระวังแนวโน้ม อุบัติการณ์ ขนาดของปัญหา ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยกระตุ้น และการ ป้องกัน แก้ไขปัญหาของหน่วยบริการสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่

คานิยาม ๑. การทําร้ายตนเอง (Self harm) หมายถึง การตั้งใจทําร้ายร่างกายตนเองให้บาดเจ็บ โดยส่วนใหญ่ ไม่ได้ประสงค์ถึงการจบชีวิต ๒. การพยายามฆ่าตัวตาย (Suicide Attempt) หมายถึง การกระทําต่อตนเองโดยมุ่งหวังให้จบชีวิต แต่ไม่สําเร็จ ๓. การเฝ้าระวัง หมายถึง การเฝ้าสังเกตพฤติกรรม ปฏิกิริยาการสื่อสาร ถึงสัญญาณที่บอกถึงการทํา ร้ายตนเองของประชาชน หรือประชาชนกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังใกล้ชิด จัดสิ่งแวดล้อม มิให้ เอื้อต่อการทําร้ายตนเอง พร้อมทั้งพูดคุยให้ประชาชนระบายความทุกข์ใจ ๔. การบริการบาบัดรักษาและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ผู้พยายามฆ่าตัวตายที่มารับบริการ ในหน่วยบริการสาธารณสุข ได้รับการคัดกรอง เฝ้าระวังด้วยวิธีการและ/หรือเครื่องมือสําหรับ บุคลากร สาธารณสุข เช่น แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย กรมสุขภาพจิต และได้รับ บริการตรวจรักษาตามอาการและการดูแลด้านสังคมจิตใจ ตามอาการที่พบ ได้แก่ การให้ยา สุขภาพจิตศึกษา การให้การปรึกษา การทําจิตบําบัด ฯลฯ และมีการติดตามเยี่ยมภายใน 15-30 วันอย่างน้อยหนึ่งครั้ง ภายหลังจากให้กลับบ้าน และ หรือ มีการติดตามดูแลโดยการนัดมาติดตามผลที่สถานบริการ (Follow up)

33

หรือการติดตามไปดูแลในชุมชนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (Refer) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากการฆ่าตัวตาย และไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ํา ภายใน 1 ปี

กระบวนการตรวจราชการและนิเทศงาน ๑. วิเคราะห์สถานการณ์ผู้มีปัญหาการฆ่าตัวตาย เพื่อสู่การวางแผนในระดับจังหวัด อาเภอ หมู่บ้าน ตามบริบทของแต่ละพื้นที่ ๒. ทาการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการฆ่าตัวตายของประชาชนในพื้นที่เพื่อค้นหาประชาชน กลุ่มเสี่ยง ปัจจัยกระตุ้นที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหาการฆ่าตัวตายในแต่ละพื้นที่ ๓. ทบทวนกระบวนการดาเนินงานช่วงปีที่ผ่านมา เพื่อกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จของจังหวัด วางแผนปฏิบัติการตามความรุนแรง ความถี่ที่เกิดปัญหาในพื้นที่ ๔. มีการกาหนดระบบการค้นหา คัดกรอง บริการการเข้าถึงบริการของผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เฝ้าระวัง ช่วยเหลือ บาบัดรักษา และติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง ตามมาตรฐานที่กาหนด ๕. ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จและ/ หรือการแก้ไขปัญหาในการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ *ปัจจัยสู่ความสําเร็จของการดําเนินงานควรมีการดําเนินงานที่ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ๕.๑ ด้านบริหารจัดการ - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดูแลงานชัดเจน - มีคณะทํางาน , ผู้รับผิดชอบชัดเจน เช่น กลุ่มงานจิตเวช เป็นต้น - มีการพัฒนาตามมาตรฐานการป้องกัน เฝ้าระวัง ดูแลรักษาการฆ่าตัวตาย หรือตามแนวทางการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช - มีการรับทราบถึงนโยบาย ตัวชี้วัด และการรณรงค์ต่าง ๆ ในการดูแล ป้องกันผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัว ตายในแต่ละปี รวมทั้งทราบถึงการรณรงค์วัน ป้องกันการฆ่าตัวตายโลก ในวันที่ ๑๐ กันยายนของทุก ปี ๕.๒ ด้านวิชาการ - มีบุคลากรที่รับผิดชอบได้รับการอบรมทางวิชาการเพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการ ป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย - มีการใช้ฐานข้อมูล รง. 506 DS Online มีความเข้าใจ สามารถรายงานผลได้ - มีการจัดทํา / เผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการฆ่าตัวตาย แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งใน และนอกระบบสาธารณสุข เช่น อบต.., อบจ.. - มีการสนับสนุนการทํางานภาคประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ - มีแนวทางการดูแลรักษาและส่งต่อผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ และเป็นมาตรฐาน ๕.๓ ด้านบริการ ๑ มีระบบดูแลและรักษาผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายอย่างครอบคลุม ๑.๑ ระบบการค้นหา คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ๑.๒ ระบบการบําบัดรักษา ช่วยเหลือ ๑.๒.๑ การรักษาด้วยยา ๑.๒.๒ การรักษาทางจิตสังคมบําบัด การให้การปรึกษา เป็นต้น

34

๑.๒.๓ การฟื้นฟู และการเยี่ยมติดตาม ๒ การมีแนวทางหรือทราบถึงการดูแล ช่วยเหลือประชาชนตามบริบทของการได้รับผลกระทบ ๓ กลุ่ม ๒.๑ ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย /ผู้รอดชีวิต ๒.๒ คนใกล้ชิดที่ได้รับผลกระทบ เช่น พ่อแม่ ญาติ เป็นต้น ๒.๓ ประชาชนทั่วไปในพื้นที่ เช่นผู้ที่อยู่ในพื้นที่ได้รับทราบข่าวสาร ๓.ทราบถึงระบบการส่งต่อและระบบให้การปรึกษาสายด่วนสุขภาพจิต๑๓๒๓, WWW.suicidethai.com ๔. มีแนวทางการดูแลช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (Clinical Practice Guideline: CPG ) หรือ แนวทางการดูแลรักษาเบื้องต้นที่เหมาะสมกับบริบทของหน่วยบริการ

ผลลัพธ์ที่ต้องการของกรม ๑. ร้อยละการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องผู้พยายามฆ่าตัวตาย เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ ๗๐ ๒. อัตราการพยายามฆ่าตัวตายซ้ําของผู้พยายามฆ่าตัวตายลดลงจากปีที่ผ่านมา ๓. อัตราการฆ่าตัวตายสําเร็จต่อประชากรแสนคนลดลงจากปีที่ผ่านมาหรือจํานวนผู้ที่ฆ่าตัวตายสําเร็จ ลดลงจากปีที่ผ่านมา ๔. จํานวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการ

ตัวชี้วัดของกรม ร้อยละการติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตายเป็นไปตามเกณฑ์

สูตร จานวนผู้พยายามฆ่าตัวตายในพื้นที่จังหวัดที่ได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องในปี 2555 X 100 จานวนผู้พยายามฆ่าตัวตายทั้งหมดในปีงบประมาณ 2555

หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ - กรมสุขภาพจิต (รพ.จิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์) - ผู้รับผิดชอบ : นพ.ประภาส อุครานันท์ ตําแหน่ง : นายแพทย์เชี่ยวชาญ โทรศัพท์ : 043-209999 ต่อ 63111 โทรสาร : 043-224722 Mobile : 0899494885 E-mail : [email protected]

ภารกิจที่ 2 การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขส่วนภูมิภาค

35

ประเด็นหลักที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อที่ 3.4 การดูแลสุขภาพมารดา เด็ก และผู้สูงอายุ ประเด็นการตรวจราชการ ระบบและกระบวนการพัฒนาโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง สถานการณ์ สภาพปัญหา สุขภาพทารกในครรภ์มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับสุขภาพของมารดาช่วงก่อน ตั้งครรภ์และระยะตั้งครรภ์ ซึ่ง การวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก พบอุ ปสรรคต่อสุขภาพของ มารดาและเด็กแรกเกิด - 5 ปี ในหลายประการ ได้แก่ แม่ตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อยกว่า 20 ปี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปัจจุบัน ร้อยละ 18.8 ซึ่งแม่ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20ปีจะมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงกว่าผู้ที่มีอายุ เกินกว่า 20 ปี จะพบอุบัติการณ์ ของโลหิตจางสูง ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ เจ็บครรภ์คลอดนาน และ ภาวะคลอดก่อนกาหนดสูง นอกจากนี้ยังพบว่า อัตราตายของมารดาอายุ 15-19 ปี สูงกว่ามารดาที่มีอายุ 2024 ปี ถึง 3 เท่า ในขณะเดียวกัน หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ที่สถานบริการสาธารณสุข มากกว่าร้อยละ 95 แต่ ฝากครรภ์ช้า โดยหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์เพียง ร้อยละ 72 ส่งผลให้พบภาวะผิดปกติช้า เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เอช ไอ วี หรือ ตับอักเสบ โรคพันธุกรรมธาลัสซีเมีย และการได้รับความรู้เพื่อการปฏิบัติตัวระยะตั้งครรภ์ ช้า คลอด หลังคลอดช้าและพบว่าสามีเพียงร้อยละ 35 เข้ารับความรู้การดูแลสตรีมีครรภ์และการเลี้ยงดูเด็ก รวมทั้งการได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็ก สารไอโอดีน และโฟลิกช้าไปด้วย การให้ iodine supplementation แก่หญิงตั้งครรภ์ก่อนและระหว่างตั้งครรภ์ในพื้นที่ที่มี การขาดสารไอโอดีนสามารถป้องกันผลเสียต่อระดับไอคิวของเด็ก แต่หญิงตั้งครรภ์ ไทย ร้อยละ 52.5 ขาด สารไอโอดีน นอกจากนี้ ยังพบว่าอัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 25.6 :1,000 การเกิดมีชีพ อัตราทารก แรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 8.8 ในขณะที่เด็กแรกเกิด - 5 ปี ต้องการการเลี้ยงดูเพื่อสร้างความมั่นคงทางจิตใจ สร้างตัวตนและ คุณค่า สร้างความคิดสร้างสรรค์ การที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยและบุคลิกภาพที่ดีเมื่อเติบโตนั้น การสัมผัส การกอด การเห่กล่อม การพูด การฟัง การเล่น ล้วนมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก (ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์,2542 ) โดยเฉพาะใน 2 ปีแรกสมองเจริญเติบโตและพัฒนาเร็วที่สุดถึง 90% ของสมอง ผู้ใหญ่ (นิตยา คชภักดี,2553) เด็กวัยนี้ต้องการความรัก ความผูกพันที่เด็กมีต่อผู้เลี้ยงดู ซึ่งการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่นมแม่เป็นการให้ความรัก ความผูกพัน (Bowlby,1969 ) ช่วยหล่อหลอมบุคลิกภาพที่พึงปรารถนาเมื่อ เติบโต (โสภา ชูพิกุลชัย ชปิลมันน์ ,2547) และสร้างเซลสมอง และเชาว์ปัญญาของลูก (Ange NK และคณะ ,2000),Quinn PJ และคณะ (2001) จากการสารวจพบอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนเพียง ร้อยละ 29.6 เท่านั้น(สานักส่งเสริมสุขภาพ,2553) ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อสติปัญญาและพัฒนาการเด็ก ได้แก่ รายได้ การศึกษาของผู้เลี้ยงดูเด็กและพฤติกรรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองต่อความต้องการของเด็กอย่างสมดุล (ลัดดา เหมาะสุ ว รรณและคณะ,2546) โดยพบว่ าการอบรมเลี้ ย งดูแ บบรั กสนั บสนุ นและใช้ เหตุ ผ ล และการเห็ น แบบอย่างที่ดีจากบิดามารดา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับจิตลักษณะและพฤติกรรมของคนดีที่เก่งและมีสุข (ดุจเดือน พันธุนาวิน,2552) เด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี จากการสารวจพบว่าเด็กแรกเกิด-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยทุก ด้านร้อยละ 70.3 และมีแนวโน้มเตี้ยและอ้วนเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 7.9 และร้อยละ 4 (ปี 2546) เป็นร้อยละ 13.1 และร้อยละ 11.7 (ปี 2550) ส่วนค่าเฉลี่ยเชาว์ปัญญาเด็กวัยเรียนไทยมีค่า 91.4 จุด โดยพบว่าเด็ก ค่อนข้างสูงและสูงกว่าเกณฑ์มีเชาว์ปัญญาสูงกว่าค่าเฉลี่ย คือ 92.8 และ 93.2 จุดตามลาดับ

36

โครงการสายใยรั กแห่ งครอบครัว ฯ มีแนวคิดที่เน้น “การพั ฒ นาคุณภาพมนุษย์ที่ยั่งยืน และ วางรากฐานบุคลิกภาพของเด็กเพื่อการป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว” โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เป็น เครื่องมือในการบูรณาการงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชน ท้องถิ่น และใช้มาตรการสังคม ทุนสังคม ในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน เพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเสริมสร้างกระบวนการความฉลาดทางปัญญา (IQ) ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และความฉลาดทางสังคม (SQ) ให้เด็กมีคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม เติบโตเป็น ผู้ใหญ่ที่เป็นกาลังสาคัญ ต่อการพัฒนาประเทศชาติต่อไป วัตถุประสงค์ 1. สร้างความรักและความผูกพันให้เกิดขึ้นในครอบครัวด้วยการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2. สร้างการมีส่วนร่วมและความเชื่อมโยงในการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และท้องถิ่น 3. สร้างเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ: ระบบและการพัฒนาโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์โรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง 1. มีการวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา และอุปสรรคต่อการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กที่เป็นปัจจุบัน 2. มีการวางแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็กอย่างบูรณาการทั้ง หน่วยงานภายในและหรือหน่วยงานภายนอก และเชื่อมโยงครบวงจรจากสถานบริการฯ ครอบครัว และท้องถิ่น 2.1 หน่วยงานภายใน : คลินิกก่อนสมรส คลินิกฝากครรภ์ ห้องคลอด หลังคลอด คลินิกเด็กดี คณะกรรมการแม่และเด็กจังหวัด 2.2 หน่วยงานภายนอก : เทศบาลหรืออบต.หรือ อบจ. สถานประกอบกิจการ 2.3 แผนงานมีความเชื่อมโยง ต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่ครบวงจรสู่ ครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น คือ - มีระบบส่งต่อข้อมูลแม่หลังคลอดและทารกให้ อสม.เพื่อการเยี่ยมครอบครัว ช่วยเหลือการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูเด็กอย่างทันเหตุการณ์ - มีแผนงานร่วมกับท้องถิ่น ( เทศบาล/อบต.) ภาคีภาครัฐ เช่น สถานประกอบกิจการ เพื่อช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพแม่และเด็ก เช่น มุมนมแม่ในสถานประกอบ กิจการ /แผนการเรียนการสอนแม่และเด็กในโรงเรียน ฯลฯ - มีระบบช่วยเหลือและส่งต่อข้อมูลเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าให้แก่โรงเรียน ศูนย์เด็ก ฯ และครอบครัวเพื่อการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย - มีมาตรการสังคมที่เป็นข้อตกลงของชุมชนในการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กเพื่อให้ ประชาชนเกิดการปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 3. มีการชี้แจงรายละเอียดโครงการฯและการพัฒนาความรู้การดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด5ปีอย่างน้อย 2 เรื่อง คือการดูแลสตรีตั้งครรภ์และการดูแลเด็กแรกเกิด-5ปี 4. มีการศึกษาวิจัยหรือนวัตกรรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ในการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก ผลลัพธ์ที่ต้องการ(ของกรม) - ร้อยละ 90 โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวสายใย

37

รักแห่งครอบครัวระดับทอง การสนับสนุนจากส่วนกลาง 1. การประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการฯ การพัฒนาความรู้การดูแลสตรีตั้งครรภ์แนว ใหม่ในบริบทประเทศไทยและการพัฒนาคลินิกเด็กดีคุณภาพและการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตาบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 2. การสุ่มประเมินและรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลสายใยรักแห่งครอบครัว 3. การประกาศเกียรติคุณโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง/โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลสายใยรักแห่งครอบครัวและตาบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 4. โปรมแกรมการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลสายใยรักแห่งครอบครัว 5. คู่มือการดาเนินงานฯ เอกสารวิชาการ ตัวอย่าง VDOผลงานและรายงานการดาเนินงานตาบล นมแม่ฯ 6. การติดตามงาน โดย การรายงานผลการดาเนินงานและนาเสนอผลงานระดับเขตทุก 3 เดือน การติดตามงานเฉพาะกิจของกรมอนามัย และการเสด็จเยี่ยมติดตามงานตาบลนมแม่ฯ 5 ครั้ง โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง(จ.ปัตตานี) 1 ครั้ง หน่วยงานที่รับผิดชอบ -หน่วยงานที่รับผิดชอบกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย -ผู้รับผิดชอบ 1. นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ โทรศัพท์/โทรสาร . 02-5904426 Mobile : 085-6613064-65 e-mail: [email protected] 2. นางนงลักษณ์ รุ่งทรัพย์สิน ตาแหน่ง นักวิชาการเผยแพร่ชานาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02-5904425 Mobile : 086-8997380 e-mail : [email protected]

ภารกิจที่ 2 การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

38

หัวข้อที.่ . 3.4 การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก และผู้สูงอายุ ประเด็นการตรวจราชการ.....การจัดตั้งและพัฒนาชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ สถานการณ์ สภาพปัญหา ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จานวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ ไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มจากร้อยละ ๑๐.๗ ในปี ๒๕๕๐ (๗.๐ ล้านคน) เป็นร้อยละ ๑๑.๘ (๗.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๕๓ และร้อยละ ๒๐.๐ (๑๔.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๖๘ (สานักงานสถิติแห่งชาติ,๒๕๕๑) นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลา สั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม อัตราส่วนการเป็นภาระวัยสูงอายุ หรืออัตราพึ่งพิงวัยสูงอายุในปี ๒๕๓๗ เป็น ๑๐.๗ เพิ่มขึ้นเป็น ๑๔.๓ ในปี ๒๕๔๕ และเพิ่มขึ้นเป็น ๑๖.๐ ในปี ๒๕๕๐ หมายความว่าประชากรวัยทางาน ๑๐๐ คน ต้อง รับภาระในการเลี้ยงดูผู้สูงอายุ ๑๖ คน ประกอบกับสัดส่วนผู้สูงอายุที่อยู่ตามลาพังในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่ม สูงขึ้น จากร้อยละ ๖.๓ ในปี ๒๕๔๕ เป็นร้อยละ ๗.๗ ในปี ๒๕๕๐ และร้อยละ ๕๖.๗ ของผู้สูงอายุอยู่ตาม ลาพังในครัวเรือน อยู่ได้โดยไม่มีปัญหา ที่เหลือร้อยละ ๔๓.๓ มีปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบมากที่สุดคือ รู้สึกเหงา ร้อยละ ๕๑.๒ ไม่มีคนดูแลเมื่อเจ็บป่วย ร้อยละ ๒๗.๕ (สานักงานสถิติแห่งชาติ,๒๕๕๑) ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทากิจกรรมประจาวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่า ผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ ๕๒.๒ และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ร้อย ละ ๑๐.๒ (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,๒๕๔๗) อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๕๐ พบว่า ร้อยละ ๖๙.๓ ของ ประชากรในกลุ่มอายุ ๖๐ - ๖๙ ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น ๘๓.๓ ใน กลุ่มที่มีอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป โดยภาวการณ์เจ็บป่วยโดยเรื้อรัง ๖ โรคพร้อมกันถึงร้อยละ ๗๐.๘ และหนึ่งในสี่ของ ผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพจากปัญหาสุขภาพเป็นเหตุให้ไม่สามารถทากิจกรรมที่เคยทาได้ ร้อยละ ๑๘.๙ มี ปัญหาสุขภาพเหล่านี้นานกว่า ๖ เดือน เป็นภาวะทุพพลภาพระยะยาว เป็นเหตุให้มีค่าใช้จ่ายในการดูแลสูงและ ต้องการคนดูตลอดเวลา ปัญหาสุขภาพปากและฟัน ผู้สูงอายุมีปัญหาการสูญเสียฟันทั้งปาก จนไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ คน แม้จะมีโครงการฟันเทียมพระราชทาน ก็ยังไม่สามารถครอบคลุมได้ทั้งหมด นอกจากนี้ ผู้สูงอายุยังมีความเสี่ยงต่อการสูญเสียฟันจากโรคในช่องปาก จึงมีความต้องการการบริการ ส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ เพื่อลดการสูญเสียฟันควบคู่กันไป กระทรวงสาธารณสุขได้ดาเนินงานภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ และ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๔๕ – ๒๕๖๔) โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ระบบคุ้มครอง ทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ มาตรการที่ ๔.๒ “จัดตั้งและพัฒนาบริการทางสุขภาพและทางสังคมรวมทั้งระบบ การดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวในชุมชนที่สามารถเข้าถึงผู้สูงอายุมากที่สุด โดยเน้นบริการถึงบ้านและมีการสอด ประสานกันระหว่างบริการทางสุขภาพและทางสังคม” ดัชนีวัดที่ ๓๘ กระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพหลัก

39

“สัดส่วนของตาบลที่มีบริการสาหรับผู้สูงอายุ ๑.สนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ๒.ระบบประคับประคอง ๓. ดูแลโรคเรื้อรังที่สาคัญ๔.อาสาสมัครชุมชน ๕.สนับสนุนให้ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุ” เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุของ กระทรวงสาธารณสุข (ปี๒๕๕๒ – ๒๕๕๔) ซึ่งประกอบด้วยยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างและพัฒนาศักยภาพกาลังคนด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างความเข้มแข็ง และการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายด้านผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การ บริหารจัดการเชิงบูรณาการสุขภาพผู้สูงอายุ และยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาองค์ความรู้และการศึกษาวิจัย สุขภาพผู้สูงอายุ จากปัญหาผู้สูงอายุขาดผู้ดูแล หรือขาดคนช่วยเหลือจากชุมชน หรือได้รับการดูแลจากผู้ดูแลที่ไม่มี คุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๕๒ เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพ (ฉบับที่ ๖) “การประกอบกิจการให้บริการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน” เพื่อพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิของ ผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง และผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการหรือทุพพลภาพ ให้ได้รับการดูแลที่มีคุณภาพ การดาเนินงานตาบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวจึงเป็นการดาเนินงานภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ และแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๔๕ – ๒๕๖๔) รวมถึงนโยบายสาคัญของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้ถูกกาหนดให้เป็นตัวชี้วัดสานักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๔ ประเด็นตัวชี้วัดที่ ๐๓๐๘ “จานวนจังหวัดที่มีการดาเนินงานตามกระบวนการ ตาบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care : LTC) ” โดยมีเป้าหมาย “หนึ่ง จังหวัด หนึ่งตาบลต้นแบบ” ผลการดาเนินงานที่ผ่านมาพบว่ามีตาบลต้นแบบเข้าร่วมกระบวนการ ถึง ๘๑ ตาบล จากเหตุผลดังกล่าว เพื่อให้การดาเนินงานมีการพัฒนางาน และมีการขยายผลการดาเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง และเพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุ ผูส้ ูงอายุได้รับการดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดตั้งและพัฒนาชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ จึงเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อน การดาเนินงานตาบลต้นแบบด้านการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อช่วย ผลักดันการดาเนินงานของภาคส่วนต่างๆ ให้มีระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทั้งในสถานบริการสุขภาพและใน ชุมชน โดยมีผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นชุมชน และสังคมได้ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๑ : ติดสังคม) รวมตัวกันเป็นชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็งที่จะส่งเสริมสนับสนุน การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค และดูแล ผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๒ : ติดบ้าน) รวมถึงผู้สูงอายุกลุ่ม พึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๓ : ติดเตียง) ให้เป็นผู้สูงอายุมี คุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและ จาเป็นต้องมีการพัฒนาระบบการดูแล ผู้สูงอายุ ในโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรองรับปัญหาที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตอย่างเป็นระบบ ต่อไป

40

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเตรียมการรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว โดยท้องถิ่นเป็นฐานการดาเนินงาน ร่วมกับ ชุมชนโดยเฉพาะชมรมผู้สูงอายุ ครอบคลุมทุกจังหวัด ๒. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่เหมาะสมกับวิถีชีวิต และบริบทของ พื้นที่ ๓. เพื่อให้บริการที่ครอบคลุมด้านสุขภาพ ทันตสาธารณสุข จิตวิทยา สังคม การดูแลช่วยเหลือในการ ดารงชีวิตและกิจวัตรประจาวัน ซึ่งเป็นการดูแลอย่างต่อเนื่องตามศักยภาพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุแต่ละกลุ่ม ๔.. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน และการดูแลผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ สังกัด กระทรวงสาธารณสุข ๕. เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและวิชาการด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ เป็น ข้อมูลแนวทางในการจัดทาแผนงานนโยบาย การดาเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน ระดับประเทศ หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ และรายละเอียดในแต่ละกระบวนการที่กาหนด (ในคอลัมน์ที่ ๓ ) จังหวัดมีกระบวนการขับ เคลื่ อนตาบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สู งอายุระยะยาว หมายถึงมี กระบวนการดาเนินงาน ๑.มีสถานการณ์ผู้สูงอายุและมีการวิเคราะห์ข้อมูล ๒.มีแผนงานโครงการตามบริบทของพื้นที่ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ๓.มีการนําแผนงานโครงการสู่การปฏิบัติ ๔.มีModel หรือ good practice ที่เป็นตัวอย่างการดําเนินงาน เพื่อการขยายผล ตาบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวหมายถึงตาบลที่มีการดาเนินงานผ่านเกณฑ์องค์ประกอบ การดาเนินงานที่ใช้ในการประเมินการดาเนินงานด้านการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care : LTC) จานวน ๖ ข้อ ดังนี้ ๑. มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน ( Barthel Activities of Daily Living : ADL ) ๒. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ๓. มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ๔. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) โดยบุคลากร สาธารณสุข ๕. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตาบล ๖. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๒ (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุ กลุ่มที่ ๓ (ติดเตียง)

41

หมายเหตุ ...มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตาบล หมายถึง มีการจัดบริการป้องกันโรคใน ช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล หรือสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากในชมรมผู้สูงอายุที่ดาเนินการโดยแกนนาชมรมผู้สูงอายุหรือ อสม. (รายละเอียดแต่ละกระบวนการ / เกณฑ์การประเมินตามเอกสารแนบท้าย) ผลลัพธ์ที่ต้องการ(ของกรม) จานวนตาบลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวผ่านเกณฑ์การดาเนินงานตาบลต้นแบบด้านการดูแล สุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care : LTC) อย่างน้อย ๒ ตาบล ต่อ ๑ จังหวัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ...กรมอนามัย -ผู้รับผิดชอบ สานักส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ  นายแพทย์เอกชัย เพียรศรีวัชรา ตาแหน่ง นายแพทย์ชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหน่งหัวหน้ากลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ โทรศัพท์ ๐๒ – ๕๙๐ ๔๕๐๓ มือถือ ๐๘๑ – ๖๐๐ ๘๕๔๓ โทรสาร ๐๒ – ๕๙๐ – ๔๕๐๐ E-mail: ekachaipien @ hotmail.com , ekachai.p @ anamai.mail.go.th  นางวิมล บ้านพวน ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ หน่วยงาน สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย โทรศัพท์ ๐๒ - ๕๙๐ ๔๕๐๘ มือถือ ๐๘๑ - ๔๔๔ ๒๘๖๔ โทรสาร ๐๒ – ๕๙๐๔๕๐๐ E-mail: vimol.b @ anamai.mail.go.th - ผู้รับผิดชอบ สานักทันตสาธารณสุข  ทันตแพทย์สุปราณี ดาโลดม ตาแหน่ง ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ หน่วยงาน สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย โทรศัพท์ ๐๒ - ๕๙๐ ๔๑๑๘ มือถือ ๐๘๑ – ๖๑๔ ๓๐๗๕ โทรสาร ๐๒ - ๕๙๐ ๔๑๑๕ E-mail: Supranee.d @ anamai.mail.go.th

42

เอกสารแนบท้าย มีข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุม่ ศักยภาพ ตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน ( Barthel Activities of Daily Living :ADL) ****************************************

คาจากัดความ การจาแนกกลุ่ มผู้ สู งอายุ เพื่อให้ เหมาะสมกับการดาเนินงานดูแลส่ งเสริมสุขภาพผู้ สูงอายุระยะยาว ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มศักยภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ประยุกต์จากเกณฑ์การ ประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) ซึ่งมี คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน ดังนี้ ผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๑ ผู้สูงอายุที่พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่น ชุมชนและสังคมได้ (กลุ่มติดสังคม) มีผลรวม คะแนน ADL ตั้งแต่ ๑๒ คะแนนขึ้นไป ผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๒ ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (กลุ่มติดบ้าน) มีผลรวม คะแนน ADL อยู่ในช่วง ๕ – ๑๑ คะแนน ผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๓ ผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ (กลุ่มติด เตียง) มีผลรวมคะแนน ADL อยู่ในช่วง ๐ -๔ คะแนน

ความสามารถในการดาเนินชีวิตประจาวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) ๑. Feeding (รับประทานอาหารเมื่อเตรียมสารับไว้ให้เรียบร้อยต่อหน้า) ๐. ไม่สามารถตักอาหารเข้าปากได้ ต้องมีคนป้อนให้ ๑. ตักอาหารเองได้แต่ต้องมีคนช่วย เช่น ช่วยใช้ช้อนตักเตรียมไว้ให้หรือตัดเป็นเล็กๆไว้ล่วงหน้า ๒. ตักอาหารและช่วยตัวเองได้เป็นปกติ ๒. Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด ในระยะเวลา ๒๔ - ๒๘ ชั่วโมงที่ผ่านมา) ๐. ต้องการความช่วยเหลือ ๑. ทาเองได้ (รวมทั้งที่ทาได้เองถ้าเตรียมอุปกรณ์ไว้ให้) ๓. Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปยังเก้าอี้) ๐. ไม่สามารถนั่งได้ (นั่งแล้วจะล้มเสมอ) หรือต้องใช้คนสองคนช่วยกันยกขึ้น ๑. ต้องการความช่วยเหลืออย่างมากจึงจะนั่งได้ เช่น ต้องใช้คนที่แข็งแรงหรือมีทักษะ ๑ คน หรือใช้คน ทั่วไป ๒ คนพยุงหรือดันขึ้นมาจึงจะนั่งอยู่ได้ ๒. ต้องการความช่วยเหลือบ้าง เช่น บอกให้ทาตาม หรือช่วยพยุงเล็กน้อย หรือต้องมีคนดูแลเพื่อความปลอดภัย ๓. ทาได้เอง

43

๔. Toilet use (ใช้ห้องน้า) ๐. ช่วยตัวเองไม่ได้ ๑. ทาเองได้บ้าง (อย่างน้อยทาความสะอาดตัวเองได้หลังจากเสร็จธุระ) แต่ต้องการความช่วยเหลือในบางสิ่ง ๒. ช่วยตัวเองได้ดี (ขึ้นนั่งและลงจากโถส้วมเองได้ ทาความสะอาดได้เรียบร้อยหลังจากเสร็จธุระ ถอดใส่ เสื้อผ้าได้เรียบร้อย)

๕. Mobility (การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือบ้าน) ๐. เคลื่อนที่ไปไหนไม่ได้ ๑. ต้องใช้รถเข็นช่วยตัวเองให้เคลื่อนที่ได้เอง (ไม่ต้องมีคนเข็นให้) และจะต้องเข้าออกมุมห้อง หรือประตูได้ ๒. เดินหรือเคลื่อนที่โดยมีคนช่วย เช่น พยุง หรือบอกให้ทาตาม หรือต้องให้ความสนใจดูแลเพื่อความปลอดภัย ๓. เดินหรือเคลื่อนที่ได้เอง ๖. Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า) ๐. ต้องมีคนสวมใส่ให้ ช่วยตัวเองแทบไม่ได้หรือได้น้อย ๑. ช่วยตัวเองได้ประมาณร้อยละ ๕๐ ทีเ่ หลือต้องมีคนช่วย ๒. ช่วยตัวเองได้ดี (รวมทั้งการติดกระดุม รูดซิบ หรือใช้เสื้อผ้าที่ดัดแปลงให้เหมาะสมก็ได้) ๗. Stairs (การขึ้นลงบันได ๑ ชั้น) ๐. ไม่สามารถทาได้ ๑. ต้องการคนช่วย ๒. ขึ้นลงได้เอง (ถ้าต้องใช้เครื่องช่วยเดิน เช่น walker จะต้องเอาขึ้นลงได้ด้วย) ๘. Bathing (การอาบน้า) ๐. ต้องมีคนช่วยหรือทาให้ ๑. อาบน้าเองได้ ๙. Bowels (การกลั้นการถ่ายอุจจาระในระยะ ๑ สัปดาห์ที่ผ่านมา) ๐. กลั้นไม่ได้ หรือต้องการการสวนอุจจาระอยู่เสมอ ๑. กลั้นไม่ได้บางครั้ง (เป็นน้อยกว่า ๑ ครั้งต่อสัปดาห์) ๒. กลั้นได้เป็นปกติ ๑๐.Bladder (การกลั้นปัสสาวะในระยะ ๑ สัปดาห์ที่ผ่านมา) ๐. กลั้นไม่ได้ หรือใส่สายสวนปัสสาวะแต่ไม่สามารถดูแลเองได้ ๑. กลั้นไม่ได้บางครั้ง (เป็นน้อยกว่าวันละ ๑ ครั้ง) ๒. กลั้นได้เป็นปกติ

44

การให้ คะแนนของเกณฑ์ ประเมินชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 1. ข้ อมูลทัว่ ไป 1.1 อุดมการณ์ ไม่มี มี 1.2 จานวนสมาชิก ต่ากว่า 50 ปี 50 – 59 ปี 80 ปี ขึ้นไป

คะแนน = 0 คะแนน = 2

=2

คะแนน = 1 คะแนน = 2 คะแนน = 2

=5

การช่วยเหลือตนเองด้านร่ างกาย / สุ ขภาพของสมาชิก ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ เมื่อออกนอกบ้าน ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ทั้งในบ้านและนอกบ้าน 1.3 สถานที่ต้ งั ชมรม ไม่มี มี ตั้งอยูท่ ี่ (ระบุได้เพียง 1 สถานที่)

คะแนนมีเพียง ข้อใดข้อหนึ่ง เท่านั้น

ร.พ. ร.ร. สถานีอนามัย วัด อบต. / เทศบาล อื่นๆ (ระบุ)

สถานที่ หรื อ บุคคลที่จะติดต่อกับผูอ้ ื่นได้สะดวก ไม่มี มี (ระบุ)

คะแนน = 3 คะแนน = 2

=5

คะแนน = 0

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

1 1 1 1 1 2

=2

คะแนน 0 คะแนน 1

=1 รวม 15 คะแนน

45

2. กรรมการ 2.1 ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการเป็ นทางการ ไม่มี คะแนน 0 มี คะแนน 1

=1

2.2 ประชุมคณะกรรมการในรอบ 1 เดือนที่ผา่ นมา ไม่มี คะแนน 0 มี 1 ครั้ง คะแนน 1 2 ครั้งขึ้นไป คะแนน 2

=2

2.3 ประชุมคณะกรรมการกับองค์กรภายนอกในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมา ไม่มี คะแนน 0 มี 1 ครั้ง คะแนน 1 2 ครั้งขึ้นไป คะแนน 2

=2

2.4 โครงสร้างคณะกรรมการทั้งหมด................................................. ชาย ................. คะแนน 0 หญิง 10% คะแนน 1 20% คะแนน 2 30% คะแนน 3 40% คะแนน 4 ตั้งแต่ 50% คะแนน 5

=5

รวม 10 คะแนน

46

2. กฎ กติกา 3.1 ระเบียบข้อบังคับของชมรม ไม่มี มี ไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร มี เป็ นลายลักษณ์อกั ษร (ระบุได้มากกว่า 1)

ให้คะแนนได้ ทุกข้อที่มี

วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์รับสมาชิก โครงสร้างบทบาท ระเบียบการเงิน แผนงาน / โครงการจัดกิจกรรม

3.2 การตรวจสอบด้านการเงินของชมรม ไม่มี มี ไม่ประกาศให้สมาชิกทราบ ประกาศให้สมาชิกทราบ 2.2 ประชุมคณะกรรมการในรอบ 1 เดือนที่ผา่ นมา ไม่มี มี จานวน 1 ครั้ง จานวน 2 ครั้งขึ้นไป จานวน 3 ครั้งขึ้นไป

คะแนน 0 คะแนน 2

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

1 1 1 1 1

=5

คะแนน 0 คะแนน 1 คะแนน 2

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

0 1 2 3

=2

=3

รวม 10 คะแนน

47

4. ระดมทุน (ยกเว้ น ฌกส.) 4.1 จากสมาชิก ไม่มี มี เป็ นครั้งคราว สม่าเสมอ เช่น เดือนละครั้ง

คะแนน 5 คะแนน 8

4.2 จากท้องถิ่น ไม่มี มี

คะแนน 0 คะแนน 5

=5

4.3 จากองค์กรชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกชนอื่นๆ ไม่มี มี

คะแนน 0 คะแนน 3

=3

4.4 จากภาครัฐ ไม่มี มี

คะแนน 0 คะแนน 2

=2

คะแนน 0 คะแนน 2

=2

คะแนน 0

=8

4.5 ฌกส. ไม่มี มี

รวม 20 คะแนน

48

5. กิจกรรม 5.1 กิจกรรมออกกาลังกายร่ วมกันในรอบ 1 เดือนที่ผา่ นมา ไม่มี มี จานวน....................................ครั้ง 12 ครั้ง คะแนน 15 คะแนน 11 ครั้ง คะแนน 14 คะแนน 10 ครั้ง คะแนน 13 คะแนน 9 ครั้ง คะแนน 12 คะแนน 8 ครั้ง คะแนน 11 คะแนน 7 ครั้ง คะแนน 10 คะแนน 6 ครั้ง คะแนน 9 คะแนน 5 ครั้ง คะแนน 8 คะแนน 4 ครั้ง คะแนน 7 คะแนน 3 ครั้ง คะแนน 6 คะแนน 2 ครั้ง คะแนน 5 คะแนน 1 ครั้ง คะแนน 4 คะแนน

คะแนน 0

5.2 กิจกรรมตรวจสุ ขภาพร่ วมกับในกลุ่มสมาชิกในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมา ไม่มี คะแนน 0  มี จานวน.................ครั้ง 1 ครั้ง คะแนน 3 2 ครั้งขึ้นไป คะแนน 5 5.3 เยีย่ มเยียนสมาชิกที่เจ็บป่ วยพิการหรื อทุพพลภาพในรอบ 1 เดือนที่ผา่ นมา ไม่มี คะแนน 0  มี จานวน.................ครั้ง 1 ครั้ง คะแนน 3 2 ครั้งขึ้นไป คะแนน 5

= 15

=5

=5

5.4 กิจกรรมตามประเพณี วัฒนธรรมโดยในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมา ไม่มี คะแนน 0

=5

49

 มี

จานวน.................ครั้ง 1 ครั้ง คะแนน 3 2 ครั้งขึ้นไป คะแนน 5 5.5 ช่วยเหลือสงเคราะห์ดา้ นการเงิน / สิ่ งของ เพื่อนสมาชิ กในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมา ไม่มี คะแนน 0  มี จานวน.................ครั้ง 1 ครั้ง คะแนน 3 2 ครั้งขึ้นไป คะแนน 5

=5

5.6 ชมรมเป็ นแหล่งศึกษาดูงานถ่ายทอดองค์ความรู ้ให้กบั ชมรมหรื อหน่วยงานอื่นๆในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมา ไม่มี  มี จานวน.................ครั้ง =5 1 ครั้ง คะแนน 3 2 ครั้งขึ้นไป คะแนน 5 5.7 กิจกรรมอื่นๆในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมา ไม่มี  มี จานวน.................ครั้ง ระบุกิจกรรม 1 ข้อ คะแนน 2 ข้อ คะแนน 3 ข้อ คะแนน 4 ข้อ คะแนน ตั้งแต่ 5 ข้อ คะแนน

1 2 3 4 5

=5

รวม 45 คะแนน สรุ ปการให้ คะแนน 1. ข้อมูลทัว่ ไป คะแนนรวม 3. กฎ กติกา คะแนนรวม 5. กิจกรรม คะแนนรวม

หมายเหตุ:

15 คะแนน 10 คะแนน 45 คะแนน

2. กรรมการ 4. ระดมทุน

คะแนนรวม คะแนนรวม

10 คะแนน 20 คะแนน

= 100 คะแนน

50

ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ หมายถึง ชมรมผูส้ ู งอายุที่ได้คะแนนจาก การประเมินชมรมผูส้ ู งอายุคุณภาพ ในระดับดีเยีย่ ม มีคะแนนร้ อยละ 80 ขึน้ ไป (ตาม CD ROM ดัชนี วัดสุ ขภาพผูส้ ู งอายุไทย โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข) ***************************************

เกณฑ์ประเมินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน ที่มีคุณภาพ ( Home Health Care) โดยบุคลากรสาธารณสุข ************************************** ๑. มี นโยบาย การจัดระบบการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านชัดเจน ๒. มี ฐานข้อมูล ภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และผู้ดูแลในชุมชนที่รับผิดชอบ ๓. ทีมสุขภาพ มีการ ประเมินปัญหา ของผู้ป่วยสูงอายุ ให้ความรู้เฉพาะด้าน ในการดูแลผู้สูงอายุที่ เจ็บป่วยที่บ้านแก่ญาติ ผู้ดูแลและวางแผนการเยี่ยมผู้ป่วย ๔. มีการพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยที่บ้าน ๕. มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ๖. มีทีมให้การปรึกษาที่ชัดเจนและสามารถให้คาปรึกษาแก่เครือข่ายบริการและผู้ดูแลสม่าเสมอ ๗. มีการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ในการสนับสนุนการดูแล ๘. มีตารางปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ๙. เยี่ยมและติดตามดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุที่บ้านอย่างต่อเนื่องตามแผนการเยี่ยมผู้ป่วยจนสามารถจาหน่าย Case ได้ ๑๐. มีระบบส่งต่อและติดตาม การตอบรับผู้ป่วยสูงอายุนอกเขตรับผิดชอบ ที่ส่งต่อไปยังเครือข่าย บริการ ให้ได้รับการดูแลที่บ้านต่อเนื่อง ๑๑. มีระบบรายงาน ทุกเดือนและรายปี ๑๒. มีการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและหรืออาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุ หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ต้องผ่านการประเมินทุกข้อ

51

การประเมินคุณภาพกิจกรรม “บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตาบล” ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตาบล ประกอบด้วย ๑) สนับสนุนชมรมผู้สูงอายุให้จัด กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และ ๒) จัดบริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ ๑) สนับสนุนชมรมผู้สูงอายุให้จัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก วัดจากศักยภาพในการจัดกิจกรรม ของชมรม (๑๐๐ คะแนน) กิจกรรมจัดโดยชมรมผู้สูงอายุ คะแนนเต็ม การให้คะแนน (๑๐๐) ๑. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ๓๕ ไม่มี = ๐ (เช่น การให้ความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก การฝึกทักษะ มี ๑-๒ กิจกรรม =๒๐ การทาความสะอาดช่องปาก การแปรงฟันในช่วงเวลา มี มากกว่า ๒ กิจกรรม =๓๕ จัดกิจกรรมที่ชมรมฯ การตรวจสุขภาพช่องปาก โดย สมาชิกชมรมฯ ฯลฯ) ๒. จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ๓๕ ไม่มี = ๐ (เช่น มีมุมความรู้ในชมรมผู้สูงอายุ สถานที่จัดกิจกรรม มี ๑-๒ กิจกรรม =๒๐ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก วัสดุ / อุปกรณ์ สนับสนุน มี มากกว่า ๒ กิจกรรม =๓๕ กิจกรรม การสร้างกระแส ฯลฯ) ๓.มีการเรียนรู้ในชมรมผู้สูงอายุ ๑๐ ไม่มี = ๐ (เช่น การไปศึกษา/ดูงานชมรมผู้สูงอายุอื่น การเข้าร่วม มี =๑๐ ประชุมด้านสุขภาพช่องปาก ฯลฯ) ๔.มีข้อมูลสุขภาพช่องปากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ทันสมัย ๑๐ ไม่มี = ๐ มี =๑๐ ๕.การเป็นแหล่งศึกษา/ดูงาน/เรียนรู้ของชมรมฯ ภาคีเครือข่าย ๑๐ ไม่มี = ๐ ที่เกี่ยวข้อง ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ มี =๑๐

52

๒.บริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ (๑๐๐ คะแนน) กิจกรรม ๑. ตรวจสุขภาพช่องปากและให้คาแนะนา หรือตรวจคัด กรองกลุ่มเสี่ยง ๒.ฝึกทักษะในการควบคุมคราบจุลินทรีย์ ๓. การใช้ฟลูออไรด์วานิชป้องกันหรือยับยั้งรากฟันผุ ๔. ขูด ขัด ทาความสะอาดฟัน ป้องกันปริทันต์อักเสบ สรุปคะแนนการประเมินคุณภาพกิจกรรม ๑๖๐ คะแนน ขึ้นไป ๑๔๐- ๑๕๙ คะแนน ๑๒๐ – ๑๓๙ คะแนน

คะแนนเต็ม การให้คะแนน (๑๐๐) ๓๐ ไม่มี = ๐/ มี = ๓๐ คะแนน

ระดับดีมาก ระดับดี พอใช้

๓๐ ๒๐ ๒๐

ไม่มี = ๐/ มี = ๓๐ คะแนน ไม่มี = ๐/ มี = ๒๐ คะแนน ไม่มี = ๐/ มี = ๒๐ คะแนน

53

ภารกิจที่ 2 : การติดตามผลการปฏิบัติราชการสารธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 3 : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อที่ 3.5 : การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและอาหารปลอดภัย ประเด็ น สาคัญ (Issue) : จั ง หวั ด มี ก ระบวนการกากั บดู แลมาตรฐานและเฝ้า ระวัง ผลิต ภัณ ฑ์สุ ขภาพ ให้ปราศจากการปนเปื้อนและเป็นไปตามมาตรฐาน สถานการณ์และสภาพปัญหา : จากสถานการณ์การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ผ่านมา พบว่า มีผลิตภัณฑ์ อาหาร และเครื่องสําอางที่มีปัญหาความไม่ปลอดภัยและมีผลต่อสุขภาพของประชาชน เช่น ปัญหาการเติม วัตถุกันเสียเกินค่ามาตรฐานที่กําหนดในอาหาร เช่น เส้นก๋วยเตี๋ยว และปัญหาการใช้เครื่องสําอางหน้าขาว กระจ่าง ใส เป็นต้น ซึ่ง อย.ได้ดําเนินการพัฒนา ยกระดับมาตรการผลิตให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด และมีการ เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนก็เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ต้องมีการเฝ้าระวัง เนื่องจากนม โรงเรียนเป็นอาหารกลุ่มเสี่ยง มีการเน่าเสียง่าย และกลุ่มผู้บริโภคเป็นกลุ่มเด็ก ซึ่งต้องมีการเฝ้าระวังมาตรฐาน การผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยอย่างเข้มงวด ดังนั้น จึงต้องมีการควบคุมการกํากับดูแลเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ สุขภาพให้มีคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค วัตถุประสงค์ : เพื่อกํากับผลิตภัณฑ์ สุขภาพให้มีคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค (Post Marketing) หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการและรายละเอียดในแต่ละกระบวนการที่กาหนด : การกํากับดูแล มาตรฐาน การผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ 1. การกากับดูแลมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยนมโรงเรียน ณ แหล่งผลิต โดยให้สํานักงานสาธารณสุขดําเนินการ ดังนี้ 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิตนมโรงเรียนตามเกณฑ์ GMP ปีละ 2 ครั้ง ( 1 ครั้ง/เทอม) 1.2 เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิตเพื่อตรวจวิเคราะหคุณภาพมาตรฐาน ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ห รือศูนย์ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ ปละ 2 ครั้ง (1 ครั้ง/เทอม) โดย อย. รับผิดชอบ ค่าตรวจวิเคราะห์ ทั้งนี้ให้แจ้งทางศูนย์วิทย์ฯ ให้เก็บค่าวิ เคราะห์กับกรมวิทย์ฯ (โดย อย. จะเป็นผู้จ่ายกับทางกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) - ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554: ตรวจประเมินภายในเดือนธันวาคม 2554 – มกราคม 2555 - ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555: ตรวจประเมินภายในเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2555 1.3 แนะนําให้ความรู้การเก็บรักษานมโรงเรียนที่ถูกต้องแก่โรงเรียน/ผู้ขนส่ง 1.4 รายงานข้ อ มู ล ผลตรวจประเมิ น สถานที่ ผ ลิ ต และผลวิ เ คราะหคุ ณ ภาพมาตรฐานจาก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ให้กับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเพื่อ สรุปสถานการณ์ภาพรวมต่อไป 2. การกากับดูแลมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานความปลอดภัยผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว ณ แหล่งผลิต โดยให้สํานักงานสาธารณสุขดําเนินการ ดังนี้ 2.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวตามเกณฑ์ GMP ปละ 1 ครั้ง 2.2 เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยวทุกประเภท (เส้นใหญ่ เส้นเล็ก เส้นหมี่ ทั้งเส้นสดและ แห้ง) ณ สถานที่ผลิต โดยสุ่มเก็บสถานที่ผลิตละ 1 ตัวอย่าง ส่งตรวจวัตถุกันเสีย (กรดเบนโซอิก :ไม่เกิน

54

1,000 ppm) ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย อย.รับผิดชอบค่าตรวจ วิ เ คราะห์ ทั้ ง นี้ ใ ห้ แ จ้ ง ทางศู น ย์ วิ ท ย์ ฯ ให้ เ ก็ บ ค่ า วิ เ คราะห์ กั บ กรมวิ ท ย์ ฯ (โดย อย. จะเป็ นผู้ จ่ า ยกั บ ทาง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) 2.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว โดยมีการแสดง 1) ชื่ออาหาร 2) ชื่อที่ตั้ง และสถานที่ผลิต 3) ปริมาณสุทธิ 4) วัน เดือน ปี ที่ผลิต 3. การเฝ้าระวังความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์อาหาร ณ สถานที่จาหน่าย เก็บตัวอย่างอาหาร ณ แหล่งจําหน่าย เช่น ตลาดนัด ตลาดสด ซุปเปอร์มาร์เก็ต เป็นต้น โดย ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ย่าฆ่าแมลง ฟอร์มาลีน บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว สารเร่ง เนื้อแดงและน้ํามันทอดซ้ํา โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) หรือส่งตรวจห้องปฏิบัติการ ตามแผนการเฝ้า ระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ของจังหวัด 4. การเฝ้าระวังคุณภาพน้าบริโภค/น้าแข็ง 4.1 การเฝ้าระวังคุณภาพน้ําบริโภค/น้ําแข็งในสภาวะปกติ โดยให้สํานักงานสาธารณสุขดําเนินการ ดังนี้ 1) ตรวจเฝ้าระวังสถานที่ผลิตน้ําแข็งตามมาตรฐาน GMP สถานที่ผลิตอาหาร (GMP ทั่วไป) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) พ.ศ. 2543 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข ( ฉบับ ที่ 239 ) พ.ศ. 2544 2) ตรวจเฝ้าระวัง สถานที่ผลิตน้ําบริโภคในภาชนะบรรจุปิดสนิท ตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขฉบับที่ 220 พ.ศ. 2544 (ตรวจสอบสถานที่ ฉลากและเก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์) 3) หากพบการกระทําผิด ดําเนินการตาม Compliance Policy 4) รายงานข้อมูลผลการเฝ้าระวังคุณภาพน้ําบริโภคให้กับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยาเพื่อสรุปสถานการณ์ภาพรวมต่อไป 4.2 การเฝ้าระวังคุณภาพน้ํา บริโภคในกรณีเกิดอุทกภัย โดยให้สํานักงานสาธารณสุข จังหวัด เฉพาะที่อยู่ในเขตประสบอุทกภัยดําเนินการ ดังนี้ 1) ลงพื้นที่ให้คําปรึกษาในการปรับปรุง ฟื้นฟูสถานที่ผลิตน้ําบริโภคที่ประสบอุทกภัย และ ตรวจประเมินสถานที่ผลิต น้ําบริโภคในภาชนะบรรจุปิดสนิท ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 220 พ.ศ. 2544 2) เก็บตัวอย่างน้ําบริโภคจากสถานที่ผลิตน้ําบริโภคที่ประสบอุทกภัย ส่งตรวจวิเคราะห์ คุณภาพมาตรฐาน ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย กรมวิทย์ฯรับผิดชอบ ค่าตรวจวิเคราะห์ กรณีผลตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ําบริโภคจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ ครั้งที่ 1 ไม่ผ่ านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กําหนด ให้ สํ านักงานสาธารณสุ ข จังหวัดลงพื้นที่เพื่อให้ คําปรึกษาในการปรับปรุง ฟื้นฟูสถานที่ผลิตน้ําบริโภคที่ประสบอุทกภัยให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและเก็บตัวอย่าง น้ําบริโภคส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐาน ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่ 2

55

3) รายงานข้อมูล ผลการเฝ้ าระวังคุณภาพน้ําบริโ ภคในกรณีเกิดอุทกภัย ให้ กับสํ านักงาน คณะกรรมการอาหารและยาเพื่อสรุปสถานการณ์ภาพรวมต่อไป 5. อื่นๆ ที่เป็นปัญหาของจังหวัด เช่น - ความปลอดภัยด้านเครื่องสาอาง โดยให้สํานักงานสาธารณสุขดําเนินการ ดังนี้ 1) ตรวจแนะนําที่ร้านจําหน่าย และแจกเอกสารแผ่นพับเครื่องสําอางอันตราย และรายชื่อ เครื่องสําอาง ที่ประกาศห้ามผลิต นําเข้า หรือขาย 2) เฝ้าระวังสุ่มเก็บตัวอย่ างเครื่องสําอางกลุ่มเสี่ยง ที่มีชื่อไม่ซ้ํากับเครื่องสําอางที่เคยประกาศ ผลวิเคราะห์แล้ว 3) ตรวจ ติดตาม เฝ้าระวังไม่ให้มีการวางจําหน่ายเครื่องสําอางผิดกฎหมาย 4) ติดตาม ตรวจสอบสถานเสริมสวยและคลินิกเสริมความงาม 5) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผู้บริโภค ผลลัพธ์ที่ต้องการ : ผลิตภัณฑ์สุขภาพมีคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค หน่วยงานที่รับผิดชอบ - หน่วยงานที่รับผิดชอบ : กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค และท้องถิ่น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา - ผู้รับผิดชอบ : ชื่อ/สกุล นายสมใจ สุตันตยาวลี ตาแหน่ง ผู้อํานวยการ โทร 0-2590-7444 โทรสาร 0-2591-8484 Mobile e-mail address : [email protected] - หน่วยงานที่รับผิดชอบ : กลุ่มควบคุมเครื่องสําอาง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา - ผู้รับผิดชอบ : ชื่อ/สกุล นายคณิต ลูกรักษ์ ตาแหน่ง เภสัชกรชํานาญการพิเศษ โทร 0-2590-7275 โทรสาร 0-2591-8468 Mobile e-mail address : [email protected] - หน่วยงานที่รับผิดชอบ : สํานักอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา - ผู้รับผิดชอบ : ชื่อ/สกุล นางสาวอรสา จงวรกุล ตาแหน่ง นักวิชาการอาหารและยาชํานาญการ โทร 0-2590-7173 โทรสาร 0-2591-8460 Mobile e-mail address : [email protected] - หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร - ผู้รับผิดชอบ : ชื่อ/สกุล จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ตาแหน่ง ผู้อํานวยการ โทร 0-2591-0000 โทรสาร 0-2588-3020 Mobile e-mail address : [email protected]

56

ภารกิจที่ ๒ ประเด็นหลักที่ ๓ หัวข้อ ๓.๕ ประเด็นสาคัญ (Issue)

การติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและอาหารปลอดภัย กระบวนการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน เพื่อรองรับพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ๑. สถานการณ์และสภาพปัญหา ๑.๑ รัฐบาลมีนโยบายให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Global Medical Hub) ในปี ๒๕๕๓-๒๕๕๗ โดยเน้นยุทธศาสตร์ ๔ ด้าน คือ ๑) การรักษาพยาบาล โดยไม่ให้มีผลกระทบต่อคนไข้ที่เป็นคน ไทย ๒) ธุรกิจส่งเสริมบริการสุขภาพเร่งยกระดับมาตรฐานสปาไทยให้ ก้าวไกลสู่สากล แตกต่างจากที่อื่นๆ โดยเฉพาะคุณภาพที่ต้องเป็นที่ยอมรับ ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพเป็นที่ยอมรับจากทั่วโลก เรื่อง สปา นวดแผนไทย ๓) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่จะดึงชาวต่างประเทศมา รักษาพยาบาลในประเทศไทย และ ๔) การสนับสนุนสมุนไพรไทยและผลิ ตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย มี คุณภาพและศักยภาพสามารถผลิตเข้าสู่ตลาดเครื่องสําอาง ยาและอาหารเสริมสุขภาพ โดยได้แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554 ข้อ 4 นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ข้อ 4.3.7 การขับเคลื่อนให้ ประเทศไทยเป็นเลิศในผลิตภัณฑ์และการบริการด้านสุขภาพและการรักษาพยาบาลในภูมิภาคเอเซีย โดยการ ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการสร้างความก้าวหน้าในทางวิชาการ และไม่ก่อให้เกิด ผลกระทบกับบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้มอบนโยบายการ บริหารงานกระทรวงสาธารณสุข ข้อ ๑๑ ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub and Wellness) และระบบโลจิสติก โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย โดยการ สนั บ สนุน กิจ การสปา และผลิ ตภัณฑ์สุ ขภาพ การแก้กฎหมายกิจการสปา รวมทั้งการสนับสนุนโรงงาน ผลิตภัณฑ์สุขภาพไทยให้ได้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้ มอบให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพให้การสนับสนุนธุรกิจบริการสุขภาพด้านวิชาการ แก่ภาคธุรกิจบริการ สุขภาพ ในการเพิ่มศักยภาพมาตรฐานสปาไทย ให้สามารถเข้าแข่งขันในตลาดโลก โดยการยกระดับคุณ ภาพ มาตรฐานสปาให้มีมาตรฐานสปาระดับสากล (Spa Grading) เพื่อสร้างรายได้นําเข้าประเทศ โดยไม่กระทบต่อ ระบบบริการสุขภาพหลักของประเทศ และผลักดันการยกเว้นภาษีสรรพสามิตให้แก่ สถานประกอบการเพื่อ สุขภาพที่ผ่านการรับรองมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องกําหนดสถานที่เ พื่อสุขภาพหรือเสริม สวย มาตรฐานของสถานที่การบริการ ผู้ให้บริการ หลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบเพื่อการรับรองให้เป็นไป ตามมาตรฐานสําหรับสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.๒๕๐๙ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งกําหนดมาตรฐานไว้ ๕ ด้าน ได้แก่ สถานที่ ผู้ดํา เนินการสปา/ผู้ประกอบการ ผู้ให้บริการ การ บริ ก ารและความปลอดภั ย เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารอย่า งมี คุ ณ ภาพและผู้ รั บ บริ ก ารมี ค วามปลอดภั ย โดยสถาน ประกอบการฯที่ผ่านการรับรองจะได้รับตราสัญลักษณ์ “มาตรฐาน สบส.” เป็นรูปมือและดอกกล้วยไม้แสดง ไว้ที่สถานประกอบการฯ จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีสรรพสามิต ศูนย์เปอร์เซ็นต์จากเดิมที่จัดเก็บรายได้อัตราร้อย ละ ๑๐ เป็นการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการเพื่อสุขภาพสามารถเข้ารับรองมาตรฐานได้อย่างครอบคลุม ทั่วประเทศ ๑.๒ กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ที่ มี อํ า นาจหน้ า ที่ ต ามประกาศกระทรวง สาธารณสุ ข เรื่ อ ง กํา หนดสถานที่ เพื่ อสุ ข ภาพหรือ เพื่ อเสริ มสวยมาตรฐานของสถานที่ การบริ การ ผู้ ให้บริการ หลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบเพื่อการรับรองให้เป็นไปตามมาตรฐานสําหรับสถานที่เพื่อสุขภาพ

57

หรือเพื่อเสริมสวย ตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้กําหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการตรวจสอบเพื่อการรับรองให้เป็นไปตามมาตรฐานหมวด ๓ ข้อ ๒๕ กําหนดให้มีคณะกรรมการตรวจและ ประเมินมาตรฐาน สถานประกอบการกลาง และข้อ ๒๖ กําหนดให้มีคณะกรรมการ ตรวจและประเมินมาตรฐานสถานประกอบการประจําจังหวัด ประกอบด้วย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็น ประธาน นายอําเภอท้องที่ที่ตั้งสถานประกอบการหรือผู้แทน ผู้แทนที่ทําการปกครองจังหวัด ผู้แทนงานการ ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัด ผู้แทนกองบังคับการตํารวจภูธรจังหวัด ผู้แทนองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยให้คณะกรรมการฯ ดังกล่าวมีอํานาจหน้ าที่ตามข้อ ๒๗ ในการพิจารณาคําร้อง ตรวจลักษณะและมาตรฐานของสถาน ประกอบการ การบริการ และผู้ให้บริการ เสนอความเห็นต่อผู้ออกใบรับรองมาตรฐาน เพื่อพิจารณา รั บ รอง/ไม่รั บ รอง หรื อ เพิ ก ถอนใบรั บ รองมาตรฐาน กรณี ส ถานประกอบการมี ก ารปฏิ บัติ ไ ม่เ ป็ น ไปตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนด พิจารณาเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับสถานประกอบการ แจ้งหรือโฆษณาข่าวสารด้วยวิธีการ ใดๆ ตามที่เห็นสมควร เพื่อมิให้ประชาชนหลงเข้าใจผิดซึ่งอาจเป็นอันตรายเนื่องจากการจัดบริการในสถาน ประกอบการ ซึง่ หน่วยงานในส่วนกลางคือ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยสํานักงานส่งเสริมธุรกิจบริการ สุขภาพ สําหรับส่วนภูมิภาค คือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และข้อ ๓๕ ได้ กําหนดให้ใบรับรองมาตรฐานมีอายุ ๒ ปี นับแต่วันที่ออกใบรับรอง สถานประกอบการใดที่ป ระสงค์จะต่ออายุ ใบรับ รอง จะต้องยื่น คําร้ องขอใบรับรองภายใน ๓๐ วันก่อนใบรับรองเดิมสิ้นอายุ และให้ คณะกรรมการ ดําเนินการตรวจและประเมินมาตรฐานเพื่อพิจารณาออกใบรับรองใหม่ เมื่อได้ยื่นคําร้องขอใบรับรองใหม่แล้ว ให้ถือว่าสถานประกอบการนั้นมีมาตรฐานเป็นไปตามประกาศนี้ จนกว่าผู้ออกใบรับรองจะมีหนังสือแจ้งผลการ พิจารณาพร้อมด้วยเหตุผล ข้อ ๓๖ ให้คณะกรรมการตรวจและประเมินมาตรฐานของ สถาน ประกอบการ อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง สถานประกอบการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานแล้ว หากดําเนินการผิดไป จากมาตรฐานที่ กํ า หนดหรื อ ดํ า เนิ น การขั ด ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ยและศี ล ธรรมอั น ดี ให้ ค ณะกรรมการ ดําเนินการแจ้งให้แก้ไข ว่ากล่าว ตักเตือน หรือเสนอเพิกถอนใบรับรองมาตรฐานตามแต่กรณี ซึ่งใน ปี งบประมาณ ๒๕๕๔ มีส ถานประกอบการเพื่อสุ ขภาพที่ได้รับ การขึ้นทะเบียนรับรองมาตรฐาน จํานวน ๑,๔๓๖ แห่ง (ในเขตกรุงเทพมหานครจํานวน ๓๑๗ แห่ง ส่วนภูมิภาค จํานวน ๑,๑๑๙ แห่ง) จําแนกเป็นสถาน ประกอบการสปาเพื่อสุขภาพ จํานวน ๔๕๑ แห่ง สถานประกอบการนวดเพื่อสุขภาพจํานวน ๙๓๗ แห่ง และ นวดเพื่อเสริมสวยจํานวน ๔๘ แห่ง ซึ่งยังมีจํานวนไม่มากเมื่อเทียบกับจํานวนสถานประกอบการทั้งประเทศ ๑.๓ จากการดําเนินการการควบคุม กํากับ ตรวจสอบสถานประกอบการเพื่อสุขภาพให้มีคุณภาพได้ มาตรฐาน พบว่าจากการบั งคับใช้ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ ดังกล่าว (มีผ ลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2547 ) เป็นเวลา ๗ ปี ไม่ประสบผลสําเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากการไม่มีสภาพบังคับ ไม่มีบทลงโทษ แต่เป็นภาคสมัครใจ (ออกความตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 ซึ่งเจตนารมณ์ของกฎหมาย ต้องการแยก สถานบริการออกจากสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ) ทําให้มีผู้ประกอบการไม่ขอรับการตรวจ รับรองมาตรฐาน หรือต่ออายุ และมีบางมาตรการในประกาศฯ ไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม จึง ส่งผลกระทบต่อประชาชนในด้านความเชื่อมั่นในคุณภาพการบริการ และการเพิ่มประสิทธิภาพประกอบการ ในการแข่งขันเพิ่มรายได้ให้แก่ประเทศ ดังนั้นเพื่อให้การส่งเสริมและกํากับ ดูแลให้สถานประกอบการเพื่อ สุขภาพมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน เป็นการคุ้มครองผู้บริโภค จึงจําเป็นต้องจัดระบบการส่งเสริมและควบคุม กํากับการประกอบการเพื่อสุขภาพให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพจึงดําเนินการ (ร่าง) พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. .... ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างขั้นตอนการนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา

58

ดังนั้น เพื่อให้ส ถานประกอบการเพื่อสุ ขภาพที่ได้รับการตรวจประเมินแล้ว ได้รับการขึ้นทะเบียน รับรองมาตรฐานจากกระทรวงสาธารณสุข มีคุณภาพได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนด และเร่งรัดให้ สถานประกอบการที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน เพื่อเป็นการคุ้มครอง ผู้บริโภค และสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้รับบริการ เพื่อรองรับพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองด้านบริการสุขภาพ ๒.๒ เพื่อให้สถานประกอบการเพื่อสุขภาพเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน ๓. แนวทางการดาเนินการของจังหวัด ๓.๑ คณะกรรมการตรวจและประเมินมาตรฐานสถานประกอบการประจําจังหวัด ดําเนินการออก ตรวจและประเมินมาตรฐานสถานประกอบการที่ยื่นคําร้องเพื่อขอรับรองมาตรฐานทั้งรายใหม่ รายต่ออายุ และสุ่มตรวจกรณีเฝ้าระวังในส่วนภูมิภาค ๓.๒ ประชุ มคณะกรรมการตรวจและประเมิ น มาตรฐานสถานประกอบการประจํ าจั ง หวั ด เพื่ อ พิจารณาและรับรองมาตรฐานสถานประกอบการตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฯ ๓.๓ สํารวจ เร่ งรัด ตรวจสอบ และควบคุมกํากับสถานประกอบการที่ยังไม่ได้รับรองมาตรฐาน ให้เข้าสู่ กระบวนการขอรับรองมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฯ

๔. หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ และรายละเอียดในแต่ละกระบวนการที่กาหนด กระบวนการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพให้มีคุณภาพได้มาตรฐานเพื่อรองรับพระราชบัญญัติ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ กําหนดเป็นระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) เกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณา จากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดําเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) ระดับคะแนน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1  2   3    4    

59

5











โดยมีขั้นตอนการดําเนินงาน 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอน 1 2 3 4

5

รายละเอียดการดาเนินการ มี ฐ านข้ อ มู ล สถานประกอบการเพื่ อ สุ ข ภาพในเขตพื้ น ที่ รับผิดชอบ มีกระบวนการส่ งเสริ มพั ฒ นาการขอรับ รองมาตรฐานสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพ อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง มีข้อมูลสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับการตรวจประเมิน มาตรฐาน มีข้อมูลสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับการขึ้นทะเบียน รั บ รองมาตรฐานตามที่กฎหมายกํา หนดทั้งหมดในเขตพื้น ที่ รับผิดชอบในปี ๒๕๕๕ สถานประกอบการเพื่อ สุ ขภาพได้ คุ ณภาพ มาตรฐานตามที่ กฎหมายกําหนด ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๙๕

หลักฐานความสาเร็จ รายชื่อสถานประกอบการเพื่อสุขภาพในเขต พื้นที่รับผิดชอบ แผนงาน/โครงการที่ดําเนินการในปี ๒๕๕๕ รายชื่ อ สถานประกอบการเพื่ อ สุ ข ภาพที่ ได้รับการตรวจประเมินมาตรฐาน รายชื่ อ สถานประกอบการเพื่ อ สุ ข ภาพที่ ได้รับการขึ้นทะเบียนรับรองมาตรฐานตามที่ กฎหมายกําหนดทั้งหมด ในปี ๒๕๕๕ ผลการดําเนินงาน สูตรการคํานวณ ข้อมูลขั้นตอนที่ ๔ X ๑๐๐ ข้อมูลขั้นตอนที่ ๓

นิยาม ฐานข้อมูลสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ หมายถึง ข้อมูลสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยที่ใช้ใน การประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ กิจการนวดเพื่อสุขภาพ หรือกิจการนวดเพื่อเสริมสวย ที่ได้รับใบรับรอง มาตรฐานตามที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ กําหนด และข้อมูลสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยที่ใช้ ในการประกอบกิจการที่ยังไม่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน โดยกิจการดังกล่าวต้องไม่เข้าข่ายการประกอบการ ศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ และการประกอบวิชาชีพอื่นตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ ทางการแพทย์หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล รวมทั้งการประกอบกิจการบริการตาม กฎหมายว่าด้วยสถานบริการ ทั้งนี้ต้องเป็นการประกอบกิจการที่มีสถานที่อยู่เป็นหลักแหล่งชัดเจน การส่งเสริมพัฒนา หมายถึง การได้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การประชุม/ อบรม/ สัมมนา ได้รับ การออกเยี่ ยมสํ ารวจ ได้รั บการชี้แจงรายสถานประกอบการ ได้รับการชี้แจงในพื้นที่ ตลอดจนได้ รับ เอกสาร/แบบการประเมินตนเอง/การประชาสัมพันธ์ ได้รับการรับรองมาตรฐาน หมายถึง สถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ยื่นคําร้องขอใบรับรองมาตรฐาน เมื่อได้รับการตรวจ ประเมินแล้ว สามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ได้รับการขึ้นทะเบียนรับรองตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุขฯ ประเด็นการติดตาม

60

รอบที่ ๑ (๑) ให้คําแนะนําแนวทางการดําเนินการแก่จังหวัดโดยแบ่งเป็น ๒ กลุ่มคือ - กรณีรายต่ออายุ ต้องมีทะเบียนในการตรวจสอบ เพื่อแจ้งสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่กําลัง หมดอายุก่อน ๓๐ วัน ให้เร่งรัดในการยื่นเอกสารขอต่ออายุ (ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ ข้อ ๓๕) - กรณีรายใหม่ ดําเนินการสํารวจจํานวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ยังไม่ได้รับรองมาตรฐานราย อําเภอ และจั ดทําทะเบี ยน เพื่อเป็ นการเร่ งรั ด ตรวจสอบ และควบคุมกํากับสถานประกอบการที่ยังไม่ได้รับรอง มาตรฐาน ให้เข้าสู่กระบวนการขอรับรองมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฯ ทั้งนี้ค่าเป้าหมายต้องไม่น้อยกว่า ๒๐ แห่ง (๒) ให้คําแนะนําแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการยื่นรับรองมาตรฐาน โดยกระบวนการจัดให้ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่ างหนึ่ง เช่น การประชุม/ อบรม/ สัมมนา ได้รับ การออกเยี่ยมสํารวจ ได้รับการชี้แจงรายสถานประกอบการ ได้รับการชี้แจงในพื้นที่ ตลอดจนได้รับเอกสาร/ แบบการประเมินตนเอง/การประชาสัมพันธ์ (๓) ให้คําแนะนําให้ดําเนินการตรวจประเมินมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามคู่มื อการ ปฏิบัติงาน ( Standard operating procedure : SOP) กระบวนการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ และแนวทางการตรวจประเมินมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (๔) ให้คําแนะนําแนวทางการปฏิบัติตามที่พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพกําหนด (๕) ดําเนินการตรวจสอบแผนปฏิบัติการของจังหวัด ว่ามีความครอบคลุมทุกอําเภอ และสามารถ ปฏิบัติได้จริง ตามระยะเวลาที่กําหนด รอบที่ ๒ (๖) ตรวจสอบผลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการของจังหวัด ว่ามีความครอบคลุมทุกอําเภอ และ ปฏิบัติได้ตามแผนที่กําหนด (๗) ตรวจสอบทะเบียนการรับรองมาตรฐาน ทั้งรายใหม่ รายต่ออายุและการสุ่มตรวจกรณีเฝ้าระวัง (๘) ตรวจสอบตัวชี้วัดว่าเป็นไปตามค่าเป้าหมายหรือไม่ ตามรายละเอียดการดําเนินงานแต่ละระดับ ขั้นของความสําเร็จ (Milestone) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (๑) สถานประกอบการเข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้นและประชาชนได้รับการบริการที่มี คุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน (๒) สถานประกอบการเพื่อสุ ขภาพที่ไ ด้ยื่น คําร้ องเพื่อ ขอรั บรองมาตรฐาน ได้ รับการตรวจและ ประเมินมาตรฐานสถานประกอบการ และได้รับการรับรองมาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่ประกาศกระทรวง สาธารณสุขฯ กําหนด ๕. ผลลัพธ์ที่ต้องการ :

สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้คุณภาพ มาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนด ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๙๕

๖. หน่วยงานที่รับผิดชอบ - หน่วยงานที่รับผิดชอบ สํานักงานส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

61

- ผู้รับผิดชอบ : ๑. นายแพทย์ภัทรพล จึงสมเจตไพศาล รักษาการนายแพทย์เชี่ยวชาญ สํานักพัฒนาวิชาการและนิเทศงาน เบอร์โทรศัพท์ ๐๒ – ๕๙๐ – ๑๖๘๐ เบอร์โทรสาร ๐๒ – ๕๙๐ – ๑๖๗๗ เบอร์มือถือ 08 – ๑๔๙๘ – ๙๐๕๐

E – mail address : [email protected] ๒. ทันตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ ผู้อํานวยการสํานักงานส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ เบอร์โทรศัพท์ ๐๒- ๙๕๑- ๐๗๙๒-๕ ต่อ ๑๑๑ เบอร์โทรสาร ๐๒ –๙๕๑- ๐๗๙๒-๕ ต่อ ๑๑๐ เบอร์มือถือ ๐๘๙- ๗๘๐๓๓๗๗ E – mail address : [email protected] 3. นางสาวแสงเดือน จารุโรจน์สกุลชัย

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ

เบอร์โทรศัพท์ ๐๒- ๙๕๑- ๐๗๙๒-๕ ต่อ ๑๐๒ และ ๑๐๔ เบอร์โทรสาร ๐๒ –๙๕๑- ๐๗๙๒-๕ ต่อ ๑๐๖ และ ๑๑๐ เบอร์มือถือ ๐81-7227046 E – mail address : [email protected] ๔. นางสุวภรณ์ แนวจําปา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ

เบอร์โทรศัพท์ ๐๒- ๙๕๑- ๐๗๙๒-๕ ต่อ ๑๐๒ และ ๑๐๔ เบอร์โทรสาร ๐๒ –๙๕๑- ๐๗๙๒-๕ ต่อ ๑๐๖ และ ๑๑๐ เบอร์มือถือ ๐8๕-๘๒๘๑๓๑๓ E – mail address : [email protected]

62

ภารกิจที่ 2 การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ หัวข้อที่ 3.6 การส่งเสริมการใช้บริการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสุขภาพ ประเด็นการตรวจราชการ ระบบการส่งเสริมสนับสนุนให้บริการด้วยการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ ทางเลือกเพิ่มขึ้น สถานการณ์ สภาพปัญหา 1. มูลค่าการให้บริการและใช้ยาสมุนไพรยังมีน้อย 2. แพทย์แผนปัจจุบันยังขาดความเชื่อถือในการใช้ยาสมุนไพรเนื่องจากขาดข้อมูลการวิจัยที่ชัดเจน สนับสนุน 3. ผู้สั่งใช้ยาแผนไทยและสมุนไพรยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจน 4. การใช้ประโยชน์จากระบบรายงานในภาพรวมระดับประเทศยังไม่มีแกนหลักที่จะดึงข้อมูล ทางด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยเข้าถึงยาและบริการทางด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกที่ได้ มาตรฐาน 2. เพื่อให้ทราบข้อมูลที่มีความครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาพัฒนางานด้าน การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หัวข้อกระบวนการที่จะตรวจราชการ และรายละเอียดในแต่ละกระบวนการที่กําหนด 1.จังหวัดส่งเสริมให้โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และรพสต.มีรายการยาสมุนไพรในบัญชียา หลักแห่งชาติไม่น้อยกว่า 20 รายการ ใช้ในสถานบริการ 2.จังหวัดส่งเสริมให้ผู้บริหาร/แพทย์และ/หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้รับการอบรมความรู้การใช้ยา สมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติหรืออบรมหลักสูตรอื่นที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มมาตรฐานการให้บริการ 3.จังหวัดมีการติดตามการรายงานข้อมูลอย่างครอบคลุม ถูกต้องและครบถ้วน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.กระตุ้นผู้รับการนิเทศโดยการแจ้งให้ทราบรายการยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ 71 รายการ 2.จังหวัดแจ้งให้หน่วยบริการทุกระดับกําหนดรายการยาสมุนไพรอย่างน้อย 20 รายการ 3.จังหวัดมีการจัดทําข้อมูลการพัฒนาบุคคลากรและการให้บริการการใช้ยาสมุนไพรรวมทั้งข้อมูลอื่นๆ อย่างครอบคลุม ถูกต้องและครบถ้วน ผลลัพธ์ที่ต้องการ(ของกรม) 1. จํานวนครั้งการใช้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและมูลค่าการใช้ยาแผนไทยเพิ่มขึ้น 2. มีการนําข้อมูลจากระบบรายงานไปวิเคราะห์เพื่อนํามาวางแผนพัฒนางานต่อไป หน่วยงานที่รับผิดชอบ -หน่วยงานที่รับผิดชอบ สํานักยุทธศาสตร์ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก -ผู้รับผิดชอบ ชื่อ-สกุล นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ ตําแหน่ง ผู้อํานวยการสํานักยุทธศาสตร์ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก

โทร 02-9659490 โทรสาร 02-9659490 มือถือ 089-915-2170 อีเมลล์ [email protected]