kna2

๑ กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี 2555 คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุ...

0 downloads 8 Views 1MB Size


กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี 2555 คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ หัวข้อ 1. การพัฒนา ระบบบริการ สุขภาพทั้งระดับ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ของ จังหวัด

ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ 1. การจัดการทรัพยากร 1. สถานบริการสุขภาพแต่ละแห่งได้จัดทา (Resource Allocation) แผนพัฒนาศักยภาพบริการของตนเอง (รวมงบ ลงทุน) ที่สอดรับกับแผนพัฒนาระบบบริการของ จังหวัด และผ่านการพิจารณาของจังหวัดแล้ว 2. จังหวัดมีการวางแผนจัดการทรัพยากร กรอบ 5 ปีในภาพรวมของจังหวัด ได้แก่ อาคาร สิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ และบุคลากร โดยมีการ จัดลาดับความสาคัญก่อนหลัง ที่สอดรับกับ แผนพัฒนาระบบบริการของจังหวัด

ผลสาเร็จ หรือตัวชี้วัด จังหวัดสามารถใช้ประโยชน์จากแผน จัดการทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพของ จังหวัดได้จริง เช่น การจัดทาคาขอ งบประมาณ การจัดสรรงบลงทุน UC การจัดสรรกาลังคน ฯลฯ

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง 1. สบรส. จัดทาแนวทางการจัดทาแผน จัดการทรัพยากร กรอบ 5 ปี ที่ต่อเนื่อง จากแผนพัฒนาระบบบริการ 2. สบช./บค. ทบทวนกรอบอัตรากาลัง ตาม GIS และระดับสถานบริการ ทบทวน แนวทางจัดสรรแพทย์ พยาบาล บุคลากร สาขาต่างๆ ตลอดจนการฝึกอบรมแพทย์ เฉพาะทาง และทบทวนหลักเกณฑ์การ ย้าย/โอนบุคลากรที่ขาดแคลน

2. การจัดการระบบ เครือข่าย (Service Network Management)

จังหวัดมีคณะกรรมการบริหารเครือข่ายระบบ บริการสุขภาพระดับจังหวัด ตลอดจน คณะทางานที่จาเป็นด้านต่างๆ เพื่อร่วมกัน ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ จังหวัดให้เป็นเอกภาพ

คณะกรรมการบริหารเครือข่ายฯ สามารถดาเนินงานในภารกิจสาคัญ ของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สบรส. กาหนดแนวทางและภารกิจ สาคัญเร่งด่วนของการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพระดับจังหวัด ปี 2555

3. คุณภาพบริการ (Quality จังหวัดมีกลไกและขับเคลื่อนการพัฒนา of service) คุณภาพบริการในภาพรวม และคุณภาพ เฉพาะด้าน ได้แก่ การพยาบาล ห้องปฏิบัติการชันสูตร การบริหารเวชภัณฑ์ ในรูปแบบเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ

การพัฒนาคุณภาพของสถานบริการ ทั้งในภาพองค์กร และการพัฒนา คุณภาพเฉพาะด้าน ในปี 2555 มี ความก้าวหน้าดีขึ้นกว่าปี 2554

สบรส./สานักการพยาบาล/ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จัดทา แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ในรูปแบบ เครือข่ายระบบบริการสุขภาพ

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒ หัวข้อ

2. การพัฒนา ระบบส่งต่อ

ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ 4. ผลสัมฤทธิ์การดาเนินงาน 1. จังหวัดมีการกากับติดตามผลการพัฒนา (Outcome Achievement) ศักยภาพบริการของสถานบริการแต่ละแห่ง ตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ จังหวัด อย่างต่อเนื่อง 2. จังหวัดมีการกากับติดตามผลการพัฒนา ศักยภาพบริการเพื่อลดการส่งต่อผู้ปุวยที่ยัง เป็นปัญหาในภาพรวมของจังหวัด

ผลสาเร็จ หรือตัวชี้วัด สถานบริการสุขภาพ และระบบ บริการสุขภาพได้รับการติดตาม ประเมินผล เพื่อปรับปรุงแก้ไขอย่าง ต่อเนื่อง

1. การดาเนินงานของศูนย์ ศสต. จั ง หวั ด /เขต สามารถปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ปัญหาการปฏิเสธการส่งต่อผู้ปุวยใน ประสานงานการส่งต่อผู้ปุวย รองรับผู้ปุวยส่งต่อที่ได้รับการร้องขอจากรพ. ปี 2555 ลดลงกว่าปี 2554 ระดับจังหวัด (ศสต.จังหวัด) ต้นทางได้ทุกราย โดยเฉพาะการส่งต่อผู้ปุวยข้ามเขต หรือระดับเขต (ศสต. เขต) ในกรณีจังหวัดที่ตั้งเขต 2. การจัดตั้งเครือข่าย ศสต. จังหวัด/เขต มีการประสานเครือข่าย ผู้เชี่ยวชาญ (รัฐและเอกชน) ผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่มีการส่งต่อผู้ปุวยจานวน ภายใต้ศูนย์ส่งต่อฯ และเชื่อม มาก และเป็นปัญหาของจังหวัด กับศูนย์ความเชี่ยวชาญ ระดับสูงภายในเขต

เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 1 เครือข่าย มีบทบาทในการแก้ไข ปัญหาการรับส่งผู้ปุวยที่เป็นปัญหา ของจังหวัดได้จริง

3. ระบบข้อมูลรายงานที่

ระบบข้อมูลการส่งต่อทั้งในส่วนของ ข้อมูลผู้ปุวย และข้อมูลการ ดาเนินงานของ ศสต. สามารถใช้ ประโยชน์ได้ในระดับจังหวัด เขต และส่วนกลาง

จังหวัดมีการบริหารจัดการระบบข้อมูลการส่ง สามารถสะท้อนประสิทธิภาพ ต่อ เพื่อสามารถใช้ติดตามความก้าวหน้า และ ระบบการส่งต่อ นาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาระบบส่งต่อ ภายในจังหวัดได้

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง สบรส. กาหนดกรอบการพัฒนา ศักยภาพบริการ แต่ละระดับ และ แนวทางการกากับติดตาม

ส บ ร ส . จั ด ท า คู่ มื อ แ น ว ท า ง ก า ร ดาเนินงานศูนย์ส่งต่อระดับจังหวัดและ ระดั บ เขตโดย ก าหนดกรอบบทบาท หน้ า ที่ ศู น ย์ ส่ ง ต่ อ ฯ หลั ก เกณฑ์ ก าร จัดการส่งต่อ ขอบเขตหน้าที่ของรพ.ต้น ทาง รพ.ปลายทาง การบริ ห ารข้ อ มู ล เตียงสารอง และการประสานดาเนินการ ในพื้นที่

สบรส.ออกแบบระบบรายงาน และ จัดทาโปรแกรม สนับสนุน

๓ หัวข้อ ประเด็นการตรวจราชการ 3. ประสิทธิภาพ 1. ประสิทธิภาพการบริการ การบริการด้านการ ด้านการรักษา รักษา ส่งเสริม ปูองกัน และฟื้นฟู

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ จังหวัดมีการกากับติดตามและประเมิน ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษาของแต่ ละสถานบริการ โดยใช้ข้อมูล CMI (ครอบคลุม ทุกสิทธิ) และพัฒนาการใช้ข้อมูล Unit Cost ให้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพ

ผลสาเร็จ หรือตัวชี้วัด จังหวัดสามารถวิเคราะห์ ประสิทธิภาพการบริการของ รพ. โดยเทียบเคียงกับค่าเฉลี่ยในกลุ่ม เดียวกัน และมีการปรับปรุงแก้ไข จุดอ่อน

แนวทางการสนับสนุนจากส่วนกลาง สบรส. ร่ ว มกั บ กลุ่ ม ประกั น สุ ข ภาพ จั ด ท าแนวทางการก ากั บ ติ ด ตามและ พั ฒ นาฐ านข้ อ มู ล อ้ า งอิ ง เพื่ อ การ วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการ ให้บริการในแต่ละระดับ

2. ประสิทธิภาพการบริการ จังหวัดมีการกากับติดตามและประเมินความ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและ ครอบคลุมการให้บริการพื้นฐานด้านส่งเสริม ปูองกันโรค สุขภาพและปูองกันโรคตามบัญชีรายการ บริการขั้นพื้นฐาน (Basic PP service)

จังหวัดสามารถวิเคราะห์ ประสิทธิภาพการบริการพื้นฐานด้าน ส่งเสริมปูองกัน และมีการปรับปรุง แก้ไขให้มีความครอบคลุมมากขึ้น

สนย.ร่ว มกับกรมต่ างๆ จัดท าแนวทาง และข้อมูลการบริการขั้นพื้นฐาน (Basic service Baseline) ให้ครอบคลุมบริการ ตามกลุ่มประชากรเปูาหมาย

3. ประสิทธิภาพการบริการ จังหวัดมีกระบวนการพัฒนาการให้บริการ ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพทั้งในเชิงรุกและเชิงรับใน ระดับโรงพยาบาลและชุมชน

จังหวัดมีรูปแบบการจัดบริการฟื้นฟู -สบรส. กาหนดรูปแบบ/กรอบแนวทาง สมรรถภาพในโรงพยาบาลและชุมชน การจัดบริการฟื้นฟูฯ ในสถานบริการแต่ เป็นตัวอย่าง 1 อาเภอ ละระดับ และในชุมชน -กรมการแพทย์ดูแลเทคโนโลยีการฟื้นฟูฯ นพ.สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขต 4 ประธานคณะที่ 2

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร



คณะที่ ๒ : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ ภารกิจที่ 2 ประเด็นหลักที่ 2 หัวข้อที่ 2.1

: การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิของจังหวัด รวมทั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูงของเครือข่ายระดับเขต ประเด็นการตรวจราชการ 1. การจัดการทรัพยากร (Resource Allocation) 2. การจัดการระบบเครือข่าย (Service Network Management) 3. คุณภาพบริการ (Quality of service) 4. ผลสัมฤทธิ์การดาเนินงาน (Outcome Achievement) สถานการณ์และสภาพปัญหา : กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายในการจัดทาแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๓ โดยกาหนดเป็นตัวชี้วัดในการตรวจราชการและนิเทศงาน ในปี ๒๕๕๔ ได้กาหนดให้ เขต / จังหวัด/ สถาน บริการ มีแผนพัฒนาระบบบริการระยะ ๕ ปี ( ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ให้จังหวัดจัดส่งแผนพัฒนาโครงสร้างของสถานบริการ โดยทบทวนรายชื่อและระดับ ของสถานบริการที่มีอยู่ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ และข้อเสนอการ ยกระดับ หรื อขยายบริ การจากที่ มีอยู่ เดิม ทั้งนี้ ให้ จังหวั ดพิจารณาแผนพั ฒ นาโครงสร้างสถานบริการดัง กล่ าวใน คณะกรรมการวางแผนและประเมินผล (ควป.) จังหวัด และเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการประสานการ พัฒนางานสาธารณสุขระดับเขต (คปสข.) และส่งแผนให้สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ส่วนแผนขยายบริการ ความเชี่ยวชาญระดับสูงของโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป จะพิจารณาในระดับภาคและเมื่อผ่านความเห็นชอบ ของสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขแล้ว จึงนามาผนวกไว้ในแผนพัฒนาระบบบริการระดับจังหวัดในภายหลัง เพื่อกระจายการเข้าถึงบริการให้ทั่วถึง ทุกระดับและมีคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุขมีความจาเป็นต้อง จัดระบบบริการสุขภาพในรูปแบบเครือข่าย จานวน ๑๒ เครือข่าย แต่ละเครือข่ายรับผิดชอบประชากรประมาณ ๓ – ๕ ล้านคน แทนการขยายโรงพยาบาลเป็นแห่งๆ โดยใช้หลักการ “เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ” ที่สามารถเชื่อมโยงบริการ ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิเข้าด้วยกัน โดยให้เป็นไปตามสภาพข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์และการคมนาคม โดยไม่มี เส้นแบ่งของการปกครองหรือการแบ่งเขตตรวจราชการ ดังนั้นในปี ๒๕๕๕ ซึ่งเป็นปีที่ ๓ ของการจัดทาแผนพัฒนาระบบ บริการสุขภาพ ซึ่งต้องจัดทาในรูปแบบของเครือข่ายบริการระดับจังหวัด และระดับสถานบริการ แทนการจัดทาในระดับ เขต / จังหวัด / สถานบริการ เหมือนเช่นปี ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับของกระทรวงสาธารณสุข ให้เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายบริการที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน มีทิศทางในการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตอบสนองการเข้าถึงบริการและความต้องการ ของประชาชนได้ การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ๑.. ด้านการจัดการทรัพยากร 1.1 สถานบริการสุขภาพแต่ละแห่งได้จัดทาแผนพัฒนาศักยภาพบริการของตนเอง (รวมงบลงทุน) ที่สอดรับกับแผนพัฒนาระบบบริการของจังหวัดและผ่านการพิจารณาของจังหวัดแล้ว เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๕ 1.2 จังหวัดมีการวางแผนจัดการทรัพยากร กรอบ ๕ ปี ในภาพรวมของจังหวัด ได้แก่ อาคาร สิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์และบุคลากร โดยมีการจัดลาดับความสาคัญก่อนหลัง ที่สอดรับกับแผนพัฒนาระบบบริการของ จังหวัด ๒. ด้านการจัดการระบบเครือข่าย จั ง หวั ด มี ค ณะกรรมการบริ ห ารเครื อ ข่ ายระบบบริ ก ารสุ ข ภาพระดั บ จั ง หวั ด ตลอดจน คณะทางานที่จาเป็นด้านต่างๆ เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของจังหวัดให้เป็นเอกภาพ 3. ด้านคุณภาพบริการ จั ง หวั ด มี ก ลไกและขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก ารในภาพรวม และคุ ณ ภาพเฉพาะด้ า น ในรูปแบบเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ ได้แก่ 3.1 คุณภาพบริการด้านการพยาบาล (รายละเอียดแนวทางการตรวจราชการในเอกสารประกอบ เพิ่มเติมแนบท้ายของของหัวข้อ 2.1 คณะที่ 2) 3.2 คุณภาพบริการด้านห้องปฏิบัติการชันสูตร (รายละเอียดแนวทางการตรวจราชการในเอกสาร ประกอบเพิ่มเติมแนบท้ายของของหัวข้อ 2.1 คณะที่ 2) 3.3 คุณภาพบริการด้านการบริหารเวชภัณฑ์ (รายละเอียดแนวทางการตรวจราชการฯ ในเอกสาร ประกอบเพิ่มเติมแนบท้ายของหัวข้อ 2.1 คณะที่ 2) 4. ด้านผลสัมฤทธิ์การดาเนินงาน 4.1 จั ง หวั ด มี ก ารก ากั บ ติ ด ตามผลการพั ฒ นาศั ก ยภาพบริ ก ารของสถานบริ ก ารแต่ ล ะแห่ ง ตาม แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 4.2 จังหวัดมีการกากับติดตามผลการพัฒนาศักยภาพบริการเพื่อลดการส่งต่อผู้ปุวยที่ยังเป็นปัญหา ในภาพรวมของจังหวัด ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. จังหวัดสามารถใช้ประโยชน์จากแผนจัดการทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ จังหวัดได้จริง เช่น การจัดทาคาของบประมาณ การจัดสรรงบลงทุน UC การจัดสรรกาลังคน ฯลฯ 2. คณะกรรมการบริหารเครือข่ายฯ สามารถดาเนินงานในภารกิจสาคัญของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การพัฒนาคุณภาพของสถานบริการทั้งในภาพองค์กร และการพัฒนาคุณภาพเฉพาะด้านในปี ๒๕๕๕ มี ความก้าวหน้าดีขึ้นกว่าปี ๒๕๕๔ 4. สถานบริการสุขภาพและระบบบริการสุขภาพได้รับการติดตามประเมินผล เพื่อปรับปรุงแก้ไขอย่าง ต่อเนื่อง หน่วยงานที่รับผิดชอบ : สานักบริหารการสาธารณสุข (สบรส.) สป. ผู้รับผิดชอบ : นางสุนทรี อภิญญานนท์ ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ โทร 0 2590 1637-8 โทรสาร 0 2590 1631 มือถือ 08 1839 6042 e-mail address : [email protected]

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร



เอกสารประกอบเพิม่ เติมของ หัวข้อ 2.1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพทัง้ ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิของจังหวัด รวมทั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูงของเครือข่ายระดับเขต คุณภาพบริการด้านการพยาบาล สถานการณ์และสภาพปัญหา กระทรวงสาธารณสุข มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชน โดยการจัดให้มีระบบบริการสุขภาพที่ ครอบคลุม ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การปูองกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ มีการจัดระบบบริการ สุขภาพออกเป็นหลายระดับ คือ บริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care ) และ บริการระดับตติยภูมิ(Tertiary Care) ให้บริการแต่ละระดับมีบทบาทหน้าที่เป็นบริการจัดการปัญหาด้านสุขภาพ ช่วย/ สนับสนุนประชาชนในสังคมนั้น มีสุขภาพอนามัยด้านร่างกาย และจิตใจที่สมบูรณ์มีความสุขและพึ่งตนเองได้ ในการ บริการพยาบาล เป็นบริการสุขภาพดู แลช่วยเหลือโดยตรงต่อมนุษย์ในภาวะปกติและการเจ็บปุวย (Wellness and Illness) อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิต มีการปฏิบัติการทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มชน และชุมชน และซับซ้อนในการดูแลแก้ไขปัญหาสุขภาพประชาชนแบบองค์รวม ทั้ ง 4 มิติ คือการส่งเสริม เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๗ สุขภาพ การปูองกัน การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสภาพตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ดังนั้นบริการพยาบาล จึงเป็นกลจักรและเป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่งที่เป็นแรงผลักดันในการขับเคลื่อนทิศทางในระบบสุขภาพของประเทศ ให้ ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพอนามัยตนเอง ครอบครัว และชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม การบริการแยกการดูแล ออกเป็น 2 ส่วนคือ ในโรงพยาบาล ซึ่งหน่วยงานที่มีบทบาทในส่วนนี้จะอยู่ที่ 1)องค์กรพยาบาลรับผิดชอบ ของ โรงพยาบาลระดับต่างๆดังกล่าวมาข้างต้น/สถาบัน 2) ในชุมชนผู้รับผิดชอบเป็นพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มเวชกรรมสั งคม ในโรงพยาบาล /กลุ่มเวชปฏิบัติในโรงพยาบาลชุมชน/รพ.สต. ปี 2551 สานักการพยาบาล กาหนดกลยุทธ์การดาเนินงานในรูปแบบเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการ พยาบาล มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานในพื้นที่ ยึดหลักการแก้ไขปัญหาและพัฒนางาน ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ และความต้องการ จัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการพยาบาลระดับประเทศ แบ่งตามเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 12 เขต และกรุงเทพมหานคร กลวิธีดาเนินการฯ ดังนี้ 1) ก่อตั้ง องค์กรการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลระดับเขต 2) แต่งตั้งผู้แทนด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลระดับเขต แต่งตั้งหัวหน้าพยาบาลทุกจังหวัดเป็นคณะกรรมการเครือข่ายฯระดับเขตและ 3) มอบหมายให้นักวิชาการพยาบาลจาก กองการพยาบาล เป็นที่ปรึกษาและผู้นิเทศเขตละ1คนกรรมการชุดนี้เป็นประธาน 1 คน 4) จัดประชุม/สัมมนาคณะ กรรมการฯระดับเขต กาหนดนโยบาย กลยุทธ์และทิศทางการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลร่วมกัน 5) จัดประชุม/ สัมมนาวิชาการประจาปี สาหรับ เครือข่ายเขต เพื่อสรุปผลการดาเนินงานและนาเสนอผลการดาเนินงานเขต มี การศึกษา/ทบทวนและประเมินผลการดาเนินงานของคณะกรรมการฯและผลลัพธ์การพัฒนาและวางแผนการพั ฒนา คุณภาพการพยาบาลในปีต่อไป ปี 2552 ส านั ก การพยาบาล ได้ ศึ ก ษาวิ จั ย รวบรวมข้ อ มู ล และปั ญ หาจากการด าเนิ น งานของ คณะกรรมการเครือข่าย พบว่ามี 4 ด้าน คือ 1) การวางแผนปฏิบัติการไม่เป็นหนึ่งเดียว ส่วนใหญ่ใช้แผนปฏิบัติการ ของแต่ละจังหวัดเนื่องจากต้ องใช้งบประมาณของจังหวัดในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล แต่ช่วยกันได้ในการนิเทศ สนับสนุนการดาเนินงาน/เป็นพี่เลี้ยงเชิงวิชาการ 2)ปัญหาด้านการดาเนินงานของคณะกรรมการฯตามบทบาทหน้าที่ กาหนด มีห ลายเขตดาเนิ น การยั งไม่ครอบคลุ มพื้นที่ และไม่ส มบูรณ์ในเรื่องการวางแผน การนิเทศติดตามกากับ 3) ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน /การประเมินผลงานมีการประเมินคุณภาพทุกหน่วยงานในองค์กรพยาบาลตาม เครื่องมือที่ส่วนกลางกาหนด แต่ละจังหวัดสามารถรายงานถึงผลลัพธ์กับปัญหาในจังหวัด แต่ขาดการนาข้อมูลมา วิเคราะห์ภาพรวมและเปรียบเทียบกับเปูาหมายของเขต แสดงถึงการประเมินผลยังไม่เป็นระบบ/ไม่สมบูรณ์ 4) ด้าน กลยุทธ์/กลวิธีในการดาเนินงาน ปัญหาที่พบ คือขาดการวางแผนกลยุทธ์ในระดับเขต การพยาบาลแตกต่างกันทาให้การ จัดระบบการทางาน รวมทั้งการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ยังไม่ทั่วถึง ทาให้การปฏิบัติงานระดับเขตนั้นไม่เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ส านั ก การพยาบาลพั ฒ นาระบบและรู ป แบบบริ ก ารพยาบาลรวมถึ ง การออกแบบระบบคุ ณ ภาพ ดาเนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง สร้างแบบประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาลขึ้นมา และนาสู่การปฏิบัติได้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ และกาหนดการนิเทศ ติดตาม กากับ โดยผู้นิเทศด้านการพยาบาล ประกอบด้วยนักวิชาการพยาบาล สานักการพยาบาลและหัวหน้าพยาบาลที่ได้รับการแต่งตั้งจากกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานคณะกรรมการเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการพยาบาลระดับเขต ให้เป็นผู้นิเทศด้านการพยาบาล ประจาเขต จานวน 18 เขตในภูมิภาค และ 1 เขตในกรุงเทพมหานคร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาล 2. เพือ่ จัดทาแผนในการประเมินคุณภาพการพยาบาล เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๘ 3. เพื่อจัดระบบการนิเทศ ติดตาม กากับ ประเด็นสาคัญ 1. 2. 3. 4.

ระบบ กลไก การประเมินคุณภาพการพยาบาล ระบบเครือข่ายบริการพยาบาลในระดับเขต/จังหวัด ระดับคุณภาพบริการพยาบาลระดับเขต/จังหวัด การนิเทศ ติดตาม กากับ

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ 1. ติดตามการแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายพัฒนาการพยาบาลระดับเขต และติดตามให้มีการการ ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการฯ การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลครอบคลุมระดับจังหวัด /เขต ให้เป็นไป ตามมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล ปี 2550 2. ติดตามการประกันคุณภาพการพยาบาลเป็นการพัฒนาคุณภาพและพัฒนา/ปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง มี 4 องค์ประกอบ คือ การกาหนดมาตรฐาน/ระบบ/แนวทาง(Plan)ทุกหน่วยงานได้กาหนดระบบหรือแนวทางที่ กาหนดไว้ในมาตรฐานหรือไม่ และในการปฏิบัติตามมาตรฐาน/ระบบ/แนวทางที่ได้วางแผนไว้หรือไม่และควรจะตรงกับ งานที่จะพัฒนา (Do) การวัดและประเมินผล (Check) การแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่อง (Act) และการปรับปรุงคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง (CQI) ในการประกันคุณภาพนั้นแบ่งเป็น 3 ระยะมีการดาเนินการใน 10 ขั้นตอน ผู้นิเทศจะติดตามการ ดาเนินงานตามข้อกาหนดที่หน่วยงานได้กาหนดไว้และครบทั้ง 3 ระยะของการประกันคุณภาพการพยาบาล 3. ติดตามการดาเนินการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาลตามแบบประเมินคุณภาพ ฯ ผู้รับผิดชอบคือ องค์กรพยาบาล ให้มีการดาเนินการทุกหน่วยงาน ในโรงพยาบาล มีการดาเนินการตามกระบวนการ ประเมินคุณภาพการพยาบาล เพื่อติดตามความก้าวหน้าของงาน สามารถวิเคราะห์หาจุดแข็งและโอกาสพัฒนาของ หน่วยงานดูความเชื่อมโยงของงานที่ตอบสนองพันธกิจและเปูาหมายขององค์กร นาผลการวิเคราะห์มาพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละหน่วยงานเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด องค์กรพยาบาลสามารถบอกระดับคุณภาพของหน่วยงาน /องค์กร และรายงานผลของการประเมิ น นั้ น เพื่ อ เตรี ย มการไว้ ส าหรั บ การพั ฒ นางาน/ภาพรวมของงานการพยาบาลใน โรงพยาบาล ได้ตรงตามข้อกาหนด/ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. มีแผนการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลตามมาตรฐานที่สอดคล้องกับนโยบาย พันธกิจและยุทธศาสตร์ ของการพยาบาลระดับชาติ 2. มีรายงานผลลัพธ์จากการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาล เพื่อนาไปพัฒนางานตามที่ วางแผนไว้ 3. ได้ผลการจัดระดับคุณภาพการพยาบาลภาพรวมขององค์กรเพื่อช่วยให้มีการพัฒนายกระดับคุณภาพ การพยาบาลสู่ความเป็นเลิศได้อย่างต่อเนื่อง หน่วยงานที่รับผิดชอบ สานักการพยาบาล สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบ นางวารี วณิชปัญจพล นักวิชาการพยาบาลชานาญการพิเศษ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๙ โทร. 02-590 6291 โทรสาร 02-590 6295 e-mail address: [email protected]

คุณภาพบริการด้านห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข สถานการณ์และสภาพปัญหา กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการจัดทาแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โดยมี ระยะเวลา 5 ปี (2555-2559) เพื่อมุ่งพัฒนาระบบบริการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ ระดับตติย ภูมิ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง สร้างระบบที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งภายในจังหวัด ภายในเขต และเป็นเครือข่ายระดับประเทศ รวมทั้งการจัดทาแผนการสนับสนุนทรัพยากรให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนตามบทบาทหน้าที่ของบริการแต่ละระดับ และส่งเสริมสนับสนุนให้ดาเนินการ พัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริการให้สอดคล้องกับการจัดระดับบริการตามแผนการพัฒนาโครงสร้างระบบบริการ สุขภาพในปีงบประมาณ 2555 เป็นระดับ A, S, M1, M2, F1, F2 และF3 ห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข เป็นหน่วยบริการสุขภาพหน่วยหนึ่งของระบบบริการสุขภาพ ที่มี บทบาทหน้าที่ในการตรวจวิเคราะห์สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือผลวิเคราะห์ที่มีคุณภาพแล ะ เชื่อถือได้ จึงจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลา จึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาเพื่อสร้าง เครือข่ายการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ และการสร้างความร่วมมือในเขตพื้นที่ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบ บริการสุขภาพ และการกาหนดศักยภาพบริการให้สอดคล้องตามแผนการพัฒนาโครงสร้างระบบบริการสุขภาพแต่ละ ระดับของพื้นที่ วัตถุประสงค์ การพัฒนาศักยภาพหรือความสามารถห้องปฏิบัติการในการตรวจวิเคราะห์ให้เหมาะสมกับระดับ บริการ และการพัฒนาคุณภาพที่พึงประสงค์ของห้องปฏิบัติการทุกระดับ เพื่อให้มีคุณภาพตอบสนองความพึงพอใจและ สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการ ประเด็นสาคัญ

การพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ 1. ติดตามการมีส่วนร่วมของห้องปฏิบัติการในการจัดทาแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 ปี โดย การเข้า ร่วมเป็นคณะกรรมการ/คณะทางาน ในระดับจังหวัด/ระดับสถานบริการ 2. ติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาห้องปฏิบัติการตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ดังนี้ ด้านการจัดการทรัพยากร : ให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรของห้องปฏิบัติการ เช่น อาคาร ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง บุคลากร เครื่องมือ ด้านผลสัมฤทธิ์การดาเนินงาน : วิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพการให้บริการตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการ สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพและความจาเป็นของโรงพยาบาลแต่ละระดับในพื้นที่ ด้านคุณภาพบริการ : ห้องปฏิบัติการมีการดาเนินการตามมาตรฐานคุณภาพห้ องปฏิบัติการที่จาเป็น และเหมาะสม เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๐ ด้านบริหารจัดการเครือข่าย : มีคณะกรรมการ/คณะทางานด้านบริหารจัดการเครือข่ายห้องปฏิบัติการ ในระดั บ จั ง หวั ด /ระดั บ สถานบริ ก าร และห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารในเครื อ ข่ า ยได้ รั บ การพั ฒ นาและตรวจประเมิ น โดย คณะกรรมการ/คณะทางานของเครือข่าย ผลลัพธ์ที่ต้องการ ห้องปฏิบัติการมีการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และ ระดับการให้บริการแต่ละระดับตามที่กาหนด หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ - ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง ผู้รับผิดชอบ 1. ผู้อานวยการสานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ โทร. 0 2951 0000 ต่อ 99933 2. ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง

คุณภาพบริการด้านมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาและการใช้ยา สถานการณ์และสภาพปัญหา องค์การอนามัยโลก ได้ประกาศตั้งแต่ปี 2545 ให้ทุกประเทศให้ความสนใจอย่างจริงจังต่อเรื่องการสร้าง ความปลอดภัยแก่ผู้ปุวย โดยได้มีการกาหนดกิจกรรมปฏิบัติด้านต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าผู้ปุวยที่เข้ารับบริการจะ ได้รับความปลอดภัยในการเข้ารับบริการในสถานพยาบาล และเรื่องยาเป็นประเด็นสาคัญประเด็นหนึ่งที่จะต้องปฏิบัติ ให้ได้มาตรฐานเพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เนื่องจากเป็นที่ทราบกันดีว่าประมาณ 10% ของ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๑ ประชาชนที่เข้ารับบริการในสถานบริการในประเทศอุตสาหกรรมต้องทนทุกข์ทรมานกับอันตรายและอาการที่ไม่พึง ประสงค์ที่สามารถปูองกันได้ จากการเข้ารับบริการ ซึ่งจากการศึกษาเบื้องต้นบ่งชี้อย่างชัดเจนว่า ตัวเลขของประชาชน ที่เข้ารับบริการในสถานบริการในประเทศอุตสาหกรรมต้องทนทุกข์ทรมานกับอันตรายและอาการที่ไม่พึงประสงค์ที่ สามารถปูองกันได้จะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ และจากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกไม่นานมานี้ ก็บ่งบอกว่าประเทศ กาลังพัฒนามีกรณีปัญหาที่พบว่ามียาปลอมและยาที่ไม่ได้มาตรฐานประมาณ 77% จึงต้องมีการพัฒนาระบบยาเพื่อให้ เกิดความปลอดภัยและเป็นหลักประกันในการให้บริการด้านยาแก่ผู้ปุวย กระทรวงสาธารณสุข ประกาศนโยบายด้าน ความปลอดภัยของผู้ปุวยระดับชาติ ปี 2550 – 2551 ( National Patient Safety Goal 2007 - 2008) โดย ความร่วมมือ สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อความปลอดภัยของผู้ปุวยระหว่างกระทรวงสาธารณสุข องค์การอนามัยโลก และ องค์กรเครือข่ายด้านสุขภาพในประเทศไทยในการสนับสนุนการดาเนินงานดังกล่าว ซึ่งความปลอดภัยด้านยา (Drug Safety) เป็นประเด็นสาคัญประเด็นหนึ่งที่มีการดาเนินการเพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ผู้ปุวย กอร์ปกับใน การประเมินรับรองคูณภาพโรงพยาบาล (HA) ระบบยาเป็นระบบที่สาคัญระบบหนึ่งที่เป็นจุดอ่อนและต้องมีการพัฒนา เพื่อให้โรงพยาบาลได้ผ่านการรับรองคุณภาพ ดังนั้นหากในระดับ จังหวัด/เครือข่าย มีกระบวนการร่วมกันในการพัฒนา มาตรฐานความปลอดภัยด้านยาจะเป็น ส่วนหนึ่งที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้ โรงพยาบาลต่าง ๆ ในจังหวัด/เครือข่าย สามารถผ่านการประเมินรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในประเด็นเกี่ยวกับการใช้ยา พบว่า ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศไทยมีค่าสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศที่ พัฒนาแล้วอื่น ๆ และค่ายาเป็นค่าใช้จ่ายหลักประมาณร้อยละ ๓๐ ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และจากการศึกษาพบว่า ในประเทศไทยมีปัญหาการใช้ยาไม่เหมาะสม และรวมถึงปัญหาจากการใช้ยาในการเข้ารับบริการผู้ปุวยนอก ร้อยละ ๖๙.๘-๙๑.๓ และยังพบว่าค่าใช้จ่ายด้านยาในสวัสดิการรักษาพยาบาลผู้ปุวยนอกสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก ๖๐๒๕.๕ ล้าน บาทในปี ๒๕๔๒ เพิ่มเป็น ๔๘,๕๘๘.๑ ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่พบว่ามีการสั่งจ่ายยาซ้าซ้อน และสั่งจ่ายไม่ถูกต้องตาม เกณฑ์หรือตามเงื่อนไขที่กาหนด รวมถึงการบันทึกเวชระเบียนไม่สมบูรณ์ ถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ กระทรวงสาธารณสุขจึง เห็นความสาคัญในการกาหนดให้โรงพยาบาลต่าง ๆ มีกระบวนการกากับ ติดตามประเมินการใช้ยาในยากลุ่มต่าง ๆ ที่ พบว่ามีการใช้จ่ายสูงและสั่งจ่ายไม่เหมาะสม เพื่อให้โรงพยาบาลต่าง ๆ มีการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้จังหวัด/เครือข่ายมีการพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยาในโรงพยาบาลระดับต่าง ๆ และ มีกระบวนการประเมินกากับให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ประเด็นสาคัญ ๑. มีกระบวนการประเมินและร่วมกันพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยาในระดับจังหวัดและเครือข่าย อย่างต่อเนื่อง ๒. มีกระบวนการกากับติดตามและประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล ในกลุ่มยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มี มูลค่าการใช้สูง

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ๑. การพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยา เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๒ ๑.๑ กระบวนการประเมินตนเองในการบรรลุมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาของโรงพยาบาลต่าง ๆ (ตามแบบประเมินตนเองที่สานักบริหารการสาธารณสุขพัฒนาขึ้น) ๑.๒ แนวทางการประเมินหาส่วนขาดในการพัฒนาในระดับจังหวัดและเครือข่าย ๑.๓ กระบวนการพัฒนาร่วมกันเพื่อให้บรรลุมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาของโรงพยาบาลต่าง ๆ ในจังหวัด/เครือข่าย ๑.๔ แนวทางการกากับติดตามผลการพัฒนาในระดับจังหวัด/เครือข่าย ๒. การกากับ ติด ตามและประเมินการใช้ยา (Drug Utilization Evaluation) ในยากลุ่ม Statins, Angiotensin II receptor antagonists, Proton pump Inhibitors, COX-2 Selective Inhibitors ของโรงพยาบาล ที่มีการใช้ยากลุ่มดังกล่าว ๒.๑ กระบวนการในการกาหนดเกณฑ์การสั่งใช้ยาในกลุ่มต่าง ๆ ที่ระบุ ๒.๒ แนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล ๒.๓ ผลการดาเนินการ ๒.๔ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการพัฒนาการใช้ยา แนวทางการดาเนินงาน ๑. การพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยา ๑.๑ จัดตั้งคณะทางานพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยด้านยาในระดับจังหวัด/เครือข่าย ๑.๒ ให้โรงพยาบาลต่าง ๆ ประเมินตนเองตามแบบประเมินตนเองตามมาตรฐานความปลอดภัยด้านยา ของโรงพยาบาล (สานักบริหารการสาธารณสุขได้พัฒนาขึ้น และได้จัดส่งให้หน่วยงานต่างๆ แล้ว) ๑.๓ คณะทางานประเมินความถูกต้อง หาส่วนขาดและกาหนดประเด็นในการพัฒนาร่วมกันใน ระดับจังหวัด/เครือข่าย ๑.๔ กาหนดแนวทางและการดาเนินการพัฒนาร่วมกันในระดับจังหวัด ๑.๕ กากับติดตามผลการพัฒนา และวางแผนการพัฒนาในปีต่อไป ๒. การกากับ ติดตาม และประเมินการใช้ยา (Drug Utilization Evaluation) ในยากลุ่ม Statins, Angiotensin II receptor antagonists, Proton pump Inhibitors, COX-2 Selective Inhibitors ของโรงพยาบาล ที่มีการใช้ยากลุ่มดังกล่าว ๒.๑ กาหนดเกณฑ์การสั่งใช้ยาในกลุ่มต่าง ๆ ที่ระบุ (สานักบริหารการสาธารณสุขได้จัดทาตัวอย่าง เกณฑ์ในการสั่งใช้ยาในกลุ่มต่าง ๆ ให้แล้ว และแจ้งเวียนให้จังหวัดต่าง ๆ ทราบแล้ว) ๒.๒ เสนอคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัดพิจารณาและแจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบ ๒.๓ กลุ่มงานเภสัชกรรมเก็บรวบรวมข้อมูล และปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ๒.๓ รายงานผลการดาเนินการเสนอคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัดพิจารณา ๒.๔ พิจารณาปรับปรุงเกณฑ์การสั่งใช้ยาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพของโรงพยาบาล

ผลลัพธ์ที่ต้องการ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๓ ๑. โรงพยาบาลต่าง ๆ ในจั งหวัด/เครื อข่าย มีการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาของ โรงพยาบาล ที่สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและองค์การอนามัยโลก (WHO) ในการให้เกิดความปลอดภัย แก่ผู้ปุวย (Patient Safety) และสอดคล้องกับการพัฒนาระบบยาในการประเมินรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) ๒. โรงพยาบาลต่าง ๆ มีกระบวนการในการกากับติดตามการใช้ยา เพื่อให้มีการใช้ยาที่สมเหตุสมผล หน่วยงานที่รับผิดชอบ : สานักบริหารการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบ : รศ.(พิเศษ) ภก.กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ ภญ.ภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศ ภญ.วรนัดดา ศรีสุพรรณ

สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โทร. ๐๘๑ ๙๑๙ ๙๑๖๖ โทร. ๐๘๑ ๔๓๘ ๔๒๐๗ โทร. ๐๘๙ ๑๐๔ ๑๒๖๓

เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๑. แบบประเมินมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาในโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข ๒. แนวทางการกากับ ติดตาม และประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล (หนังสือกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๒๘.๐๗.๑.๓/ว ๒๙๘, ๒๙๙ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔)

คณะที่ ๒ : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ ภารกิจที่ 2 : การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ หัวข้อที่ 2.2 : การพัฒนาระบบส่งต่อผู้ปุวย (Referral system) ประเด็นการตรวจราชการ : 1. การดาเนินงานของศูนย์ประสานงานการส่งต่อผู้ปุวยระดับจังหวัด (ศสต.จังหวัด) หรือระดับเขต (ศสต. เขต) ในกรณีจังหวัดที่ตั้งเขต 2. การจัดตั้งเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ (รัฐและเอกชน) ภายใต้ศูนย์ส่งต่อฯ และเชื่อมกับศูนย์ความเชี่ยวชาญ ระดับสูงภายในเขต 3. ระบบข้อมูลรายงานที่สามารถสะท้อนประสิทธิภาพระบบการส่งต่อ สถานการณ์และสภาพปัญหา สืบเนื่องจากลักษณะของการจัดระบบบริการสุขภาพ ทาให้สถานพยาบาลขนาดเล็กจาเป็นต้องมีการ ส่อต่อผู้ปุวยไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพสูงขึ้น และการส่งกลับไปรับการดูแลรักษาพยาบาลต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ปุวย ได้ รั บ บริ ก ารสุ ข ภาพที่ มี คุ ณ ภาพได้ ม าตรฐาน ในปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ กระทรวงสาธารณสุ ข จึงได้พั ฒนาระบบส่ งต่อผู้ ปุ วยโดยวางระบบการส่ งต่ อผู้ ปุวย ให้ มีศูนย์ประสานการส่ งต่ อ ผู้ ปุว ย เป็น รูป ธรรมทุก เขต ตรวจราชการ เพื่อให้แต่ละสถานพยาบาลสามารถประสานงานและเชื่อมโยงการดูแลแต่ละระดับเป็นเครือข่ายระดับ จัง หวัด ได้อ ย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ รวมถึง การพัฒ นาในด้า นต่า ง ๆ ได้แ ก่ ระบบการดูแ ลผู ้ป ุว ยตามกลุ ่ม โรค ที่ส าคัญ การพัฒ นาคุณ ภาพการส่ง ต่อ ผู ้ป ุว ย การพัฒ นาสมรรถนะบุค ลากร และการพัฒ นาระบบฐานข้อ มูล และระบบรายงาน อย่างไรก็ดีในปัจจุบันพบว่ามีการถูกปฏิเสธการส่งต่อผู้ปุวยอย่างค่อนข้างสูง โดยเฉพาะการส่งต่อ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๔ ผู้ปุวยไปยังสถานพยาบาลในส่วนกลาง นอกจากนี้ยังพบว่าการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ปุวยของแต่ละเขตตรวจราชการมีการจัดการ และการดาเนินงานที่แตกต่างกัน ดังนั้ น เพื่อให้การพัฒนาระบบส่ งต่อผู้ปุว ยของทุกเขตตรวจราชการมีประสิทธิภ าพมากขึ้น มีการ พัฒนาคุณภาพระบบส่งต่อผู้ปุวยตามบริบทและสถานการณ์ของแต่ละพื้นที่ มีการจัดการระบบส่งต่อผู้ปุวยที่สามารถ เชื่อมโยงการดูแลผู้ปุวยระหว่างสถานพยาบาลระดับต่าง ๆ อย่างบูรณาการ สมานฉันท์ และพึงประสงค์ ผู้ปุวยได้รับการ ดูแลรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพตลอดเส้นทางของการส่งต่อ รวมทั้งลดการปฏิเสธการส่งต่อผู้ปุวยมายัง ส่วนกลาง ซึ่ง นับเป็ นองค์ประกอบที่มีความส าคัญต่ อการพัฒนาคุณภาพระบบการส่ งต่อผู้ ปุวยที่ต่ อเนื่ องในภาพรวม และสามารถ ตอบสนองความจาเป็นด้านสุขภาพ รวมทั้งสามารถเชื่อมประสานการส่งต่อผู้ปุวยกับสถานพยาบาลในส่วนกลางได้ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อจัดการระบบการส่งต่อผู้ปุวยให้เชื่อมประสานกันเป็นเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เพื่อพัฒนาระบบบริการและคุณภาพบริการการส่งต่อผู้ปุวย การพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานระบบส่งต่อ ประเด็นสาคัญ ๑. การจัดทาแผนการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยระดับเครือข่าย เขต/จังหวัด สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ ๒. การบริ ห ารจั ด การศู น ย์ ป ระสานงานการส่ งต่ อ ผู้ ป่ว ยให้ เ ป็ นเครือ ข่ า ยที่ มี ป ระสิ ทธิ ภ าพ (ผู้ เ ชี่ ย วชาญ, เครื่องมืออุปกรณ์ที่สาคัญ) ๓. ลดปัญหาการถูกปฏิเสธการส่งต่อผู้ป่วยแต่ละระดับ และตามเครือข่ายระบบบริการ(Service plan) การตรวจราชการเชิงกระบวนการ 1. ติดตามการพัฒนาบทบาทหน้าที่ของศูนย์ประสานการส่งต่อผู้ปุวยระดับเครือข่าย เขต/จังหวัด ในการ ปฏิบัติภารกิจประสานการส่งต่อผู้ปุวยจากโรงพยาบาลต้นทาง ไปยั งโรงพยาบาลปลายทางที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา ของผู้ปุวย และติดตามข้อมูลผลการประสานการส่งต่อผู้ปุวยที่สาคัญ ได้แก่ ข้อมูลการส่งต่อผู้ปุวยออกนอกเครือข่าย เขต/จังหวัด และข้อมูลการปฏิเสธการส่งต่อผู้ปุวยจากโรงพยาบาลต้นทาง เหตุผลความจาเป็นในการส่งต่อผู้ปุวย และ ก า ร ถู ก ป ฏิ เ ส ธ ต่ า ง ๆ เ ป็ น ต้ น ร ว ม ถึ ง มี ก า ร น า ปั ญ ห า ก า ร ส่ ง ต่ อ ผู้ ปุ ว ย ห รื อ ถู ก ป ฏิ เ ส ธ ก า ร ส่ ง ต่ อ มาวิเคราะห์แก้ไขในระดับเครือข่าย เขต/จังหวัด อย่างเป็นรูปธรรม 2. ติดตามข้อมูลการส่งต่อผู้ปุวยที่เกินขีดความสามารถออกนอกเครือข่าย เพื่อนามาวิเคราะห์สถานการณ์ ในระดับเครือข่ายเขต และจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพบริการในเครือข่าย ให้ครอบคลุมตามสภาพปัญหาของพื้นที่ 3. ติดตามการดาเนินงานเรื่องการจัดเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญศูนย์ประสานการส่งต่อผู้ปุวยระดับเครือข่าย เขต/จังหวัด เช่น การจัดทาทาเนียบเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ตามสภาพปัญหาและความจาเป็ นของพื้นที่ และ ติดตามการพัฒนาระบบส่งต่อด้านวิชาการ เช่น การจัดทาคู่มือแนวทางการส่งต่อ คู่มือ/แนวทางการพัฒนา Fast tract และการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในเครือข่ายและระหว่างเครือข่าย 4. ติดตามการพัฒนาระบบข้อมูลการส่งต่อผู้ปุวย และระบบรายงานของศูนย์ประสานการส่งต่อผู้ปุวย ระดับ เครือ ข่า ย เขต/จัง หวัด ได้แ ก่ ระบบข้อ มูล ที ่จาเป็น ที่ใ ช้ป ระโยชน์ใ นการส่ง ต่อ ผู ้ปุว ย รวมถึง ฐานข้อ มูล ทรัพยากรรองรับการส่งต่อภายในเครือข่าย เช่น เครื่องมือ อุปกรณ์การให้การบริการทางการแพทย์ และบุคลากร ทั้ง โรงพยาบาลภาครัฐ และภาคเอกชน รวมถึงติด ตามระบบรายงานการส่งต่อผู้ปุวยที่ใช้ในการกากับ ติดตามผลการ ดาเนินงาน และนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาระบบส่งต่อได้ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๕

ผลลัพธ์ที่ต้องการ มีการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ปุวยระดับเครือข่าย เขต/จังหวัด สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ โดย มีการจัดการระบบส่งต่อให้เป็นเครือ ข่ายที่มีประสิทธิภาพ และมีผลสาเร็จของการดาเนินงาน ดังนี้ ๑. ปัญหาการปฏิเสธการส่งต่อผู้ปุวยในปี ๒๕๕๕ ลดลงกว่าปี ๒๕๕๔ โดยเฉพาะการส่งต่อผู้ปุวยข้ามเขต ๒. มีเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ อย่างน้อย ๑ เครือข่าย มีบทบาทในการแก้ปัญหาการรับส่งต่อผู้ปุวยที่เป็นปัญหา ของจังหวัดได้จริง ๓. ระบบข้อมูล การส่งต่อทั้งในส่ว นของข้อมูล ผู้ปุว ยและข้อมูล การดาเนินงานของศูนย์ส่งต่อ สามารถใช้ ประโยชน์ได้ในระดับ จังหวัด เขต และส่วนกลาง หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๑. สานักบริหารการสาธารณสุข สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๒. สานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ๓. กรมการแพทย์ (โรงพยาบาลราชวิถี) ผู้รับผิดชอบ : นางสุนทรี อภิญญานนท์ ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ โทร. ๐ ๒๕๙๐ ๑๖๔๓ โทรสาร ๐ ๒๕๙๐ ๑๖๓๗ e-mail address : [email protected]

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๖

คณะที่ ๒ : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ ภารกิจที่ 2 : การตรวจติดตามผลการปฏิบัติราชการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ประเด็นหลักที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ หัวข้อที่ 2.3 : ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริมปูองกัน และฟื้นฟู ประเด็นการตรวจราชการ : ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ด้านส่งเสริมปูองกัน และด้านฟื้นฟูสมรรถภาพ สถานการณ์และสภาพปัญหา ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่ปัจจุบันแม้จะมีการวางระบบประสานงาน โดยกระทรวงสาธารณสุขเดิมอยู่แล้วซึ่งแบ่งเป็น ระดับสถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ และมีสานักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้ประสานงาน และควบคุม กากับ มีการกาหนดนโยบายและจัดสรรงบประมาณโดยกระทรวงสาธารณสุขอย่างเป็นเอกภาพ แต่ในปัจจุบันมี องค์กรที่มีหน้าที่จัดสรรงบและกาหนดบริการที่ต้องการอีกหลายองค์กร ทาให้หน่วยงานและระบบบริการเดิมต้องปรับตัวและปรับ การให้บริการที่ต้องสอดคล้องกับการจัดสรรงบประมาณของแต่ละกองทุนที่มีวิธีการกาหนดบริการตามพันธกิจของแต่ละกองทุน มีผลทาให้หน่วยบริการมีภาระหน้าที่มากขึ้นกว่าเดิมมาก จึงอาจทาให้เกิดสภาพปัญหา อาทิ เช่น  ภาระหน้าที่และกิจกรรมของหน่วยงานมากขึ้น  ที่มาของงบประมาณจากหลากหลายกองทุน  ความไม่สอดคล้องกันของนโยบายและงานจากการมีหน่วยกาหนดนโยบายหลายหน่วย  การแยกการให้บริการ ความไม่ครอบคลุมการให้บริการ  การรายงานผลดาเนินงานที่แยกหน่วยทาให้ไม่สามารถรวมเป็นภาพใหญ่ได้ ในปีที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายให้โรงพยาบาลในส่วนภูมิภาคจัดทาต้นทุนการให้บริการ ซึ่ง ดาเนินการโดยกลุ่มประกันสุขภาพ สอดคล้องกับการที่หน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะหน่วยงานในระดับจังหวัด จะต้อง ดาเนินการจัดทาต้นทุนผลผลิตตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิ ธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔ หมวดที่ ๔ การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า โดยสานักงบประมาณได้กาหนดนโยบาย ให้หน่วยงานภาครัฐและวิสาหกิจมีการประเมินระดับความสาเร็จของการดาเนินงาน (PART – Performance Assessment Rating Tool) และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้กาหนดให้ หน่วยงานภาครัฐมีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจภาครัฐ (VFM – Value for Money) มิติด้าน ประสิทธิภาพในการดาเนินงานหรือการปฏิบัติภารกิจ (Performance Efficiency) เป็นมิติที่สาคัญหนึ่งในการประเมิน ดังกล่าว ประกอบกับงบประมาณในการดาเนินงานของประเทศที่มีอยู่อย่างจากัด ซึ่งจะเห็นได้จากการโรงพยาบาล ภาครัฐประสบกับภาวะการขาดทุนเป็นจานวนมาก เนื่องจากเงินเหมาจ่ายรายหัวที่สานักงานประกันสุขภาพจ่ายให้มี จานวนที่ไม่เพียงพอสาหรับการให้บริการผู้ปุวย ดังนั้น มาตรการอันหนึ่งที่จาเป็นสาหรับหน่วยงานภาครัฐคือ การใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล วัตถุประสงค์

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๗ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุ นให้จังหวัดมีการกากับ ติดตาม และประเมิน ผลการจัดบริการสุขภาพทั้ง 4 ด้าน ภายในจังหวัดให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มเปูาหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็นสาคัญ 1. ด้านการรักษา 1.1 การวิเคราะห์ศักยภาพในการให้บริการสุขภาพ 1.2 การจัดทาต้นทุนผลผลิตการให้บริการสุขภาพ 1.3 การประเมินประสิทธิภาพการให้บริการสุขภาพ 2. ด้านส่งเสริมป้องกัน 2.1 ประเมินความครอบคลุมการให้บริการพื้นฐานด้านส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคตามบัญชีรายการ บริการขั้นพื้นฐาน (Basic PP service) 2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลความครอบคลุมการให้บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรค เพื่อนาผลการ วิเคราะห์ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนา แก้ไขปัญหาสุขภาพและการให้บริการให้ครอบคลุมกลุ่มประชากรเปูาหมาย 3. ด้านฟื้นฟูสมรรถภาพ 3.1 สถานบริการสาธารณสุขมีการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพในสถานบริการและในชุมชน โดยความ ร่วมมือของภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ในแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและเขตชุมชนหนาแน่น 3.2 มีระบบกากับติดตามและประเมินผลการดาเนินงานพัฒนาบริการฟื้นฟูสมรรถภาพของสถานบริการ สาธารณสุขในระดับจังหวัด การตรวจราชการเชิงกระบวนการ 1. ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา จังหวัดมีการกากับติดตามและประเมินประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษาของแต่ละสถานบริการ โดยใช้ข้อมูล CMI (ครอบคลุมทุกสิทธิ) และพัฒนาการใช้ข้อมูล Unit Cost ให้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพ 2. ประสิทธิภาพการบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จังหวัดมีการกากับติดตามและประเมินความครอบคลุมการให้บริการพื้นฐานด้านส่งเสริมสุขภาพและ ปูองกันโรคตามบัญชีรายการบริการขั้นพื้นฐาน (Basic PP service) 3. ประสิทธิภาพการบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ จังหวัดมีกระบวนการพัฒนาการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งในเชิงรุกและเชิงรับในระดับ โรงพยาบาลและชุมชน แนวทางการดาเนินงาน 1. ด้านการรักษาพยาบาล 1.1 โรงพยาบาลทุกแห่ง วิเคราะห์ศักยภาพของการให้บริการรักษาพยาบาล โดยใช้ดัชนีผู้ปุวยใน (Case Mix Index - CMI) ซึ่งคานวณค่าเฉลี่ย adjusted RW ของผู้ปุวยในทุกกองทุน และเปรียบเทียบข้อมูลกับปีที่ผ่านมาในช่วงเวลา เดียวกัน และเปรียบเทียบกับค่าอ้างอิงที่ส่วนกลางกาหนดในกลุ่มโรงพยาบาลประเภทเดียวกัน สาหรับ รพศ. และรพท. ควรมีการวิเคราะห์ศักยภาพในเชิงลึก โดยวิเคราะห์จาแนกตามประเภทกลุ่มการวินิจฉัยหลัก (Major Diagnostic เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๘ Category - MDC) เพิ่มเติม (มีข้อมูลที่ใช้อ้างอิงเปรียบเทียบในการประเมินประสิทธิภาพด้านการรักษา โดยใช้ดัชนี CMI ประกอบการวิเคราะห์ในแต่ละกลุ่มโรงพยาบาล ในเอกสารประกอบเพิ่มเติมแนบท้ายของหัวข้อ 2.3 คณะที่ 2) 1.2 หน่วยงานสาธารณสุขภายในจังหวัด ได้แก่ โรงพยาบาล และ รพสต. มีการดาเนินการจัดทาต้นทุน ผลผลิต (Unit costing) ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อ ตอบสนองให้ทันสถานการณ์การปรับทิศทางการ เปลี่ยนแปลงในระบบหลักประกันสุขภาพ และพัฒนาระบบมาตรฐานการจัดการต้นทุน ให้ครอบคลุมทุกหน่วยบริการ โดยจังหวัดมีการกากับติดตามและประเมินผลการวิเคราะห์ศักยภาพการให้บริการและการจัดทาต้นทุนผลผลิตของ โรงพยาบาล และน าผลการวิ เ คราะห์ ไ ปจั ด ท าแผนพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารสุ ข ภาพภายในจั ง หวั ด (รายละเอียดนโยบาย แนวทางการดาเนินงานการจัดทาต้นทุนของหน่วยบริการ ในเอกสารประกอบเพิ่มเติมแนบ ท้ายของหัวข้อ 2.3 คณะที่ 2) 1.4 อัตราส่วนการใช้บริการผู้ปุวยนอกที่หน่วยบริการปฐมภูมิกับที่โรงพยาบาลแม่ข่าย เพื่อวิเคราะห์ ศักยภาพการให้บริการผู้ปุวยนอกของหน่วยบริการในระดับปฐมภูมิ และนาไปวางแผนการพัฒนาระบบบริการต่อไป (รายละเอียดการคานวณอัตราส่วนการใช้บริการฯ ในเอกสารประกอบเพิ่มเติมแนบท้ายของหัวข้อ 2.3 คณะที่ 2) 2. ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2.1 จังหวัดมีระบบข้อมูลประมวลผลการให้บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคตามบัญชีรายการ บริการขั้นพื้นฐาน ( Basic PP service) ครอบคลุมประชากรกลุ่มเปูาหมาย ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด (รายละเอียดในเอกสารประกอบเพิ่มเติมแนบท้ายของหัวข้อ 2.3 คณะที่ 2) 2.2 จังหวัดมีระบบการกากับ ติดตาม ประเมินผลผลการให้บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรคฯ ให้บรรลุผลสาเร็จในเชิงความครอบคลุมประชากรกลุ่มเปูาหมาย 2.2 ผู้ รั บ ผิ ดชอบน าข้ อมู ลความครอบคลุ มการให้ บริ การด้ านส่ งเสริ มสุ ขภาพและปู องกั นโรค ฯ ทุ ก กลุ่มเปูาหมายมาวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และวางแผนการพัฒนา แก้ไขปรับปรุงระบบบริการให้มีความครอบคลุมทุกคน 3. ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ 3.๑ มีกระบวนการพัฒนาการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งในเชิงรุกและเชิงรับในระดับโรงพยาบาลและ ชุมชน 3.๒ มีการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพในสถานบริการสาธารณสุขและในชุมชน โดยความร่วมมือของภาคี เครือข่ายในพื้นที่ ตั้งแต่ระดับจังหวัด อาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน โดยเฉพาะศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและเขตชุมชน หนาแน่น 3.๓ มีการจัดทาและนาระบบฐานข้อมูลกลุ่มเปูาหมายที่จาเป็นต้องได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นพิเศษ เช่น ผู้ปุวย Palliative care, ผู้ปุวยมะเร็ง, ผู้ปุวยโรคเอดส์, ผู้ปุวยจิตเวช, ผู้ปุวยวัณโรค, ผู้พิการ, ผู้สูงอายุ และโรคเรื้อรังอื่น ๆ ซึ่งเป็นปัญหาของพื้นที่ มาใช้ในการพัฒนาการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา จังหวัดสามารถวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริการของโรงพยาบาลโดยเทียบเคียงกับค่าเฉลี่ยในกลุ่ม เดียวกันและมีการปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อน เพื่อพัฒนาระบบบริการให้มีศักยภาพสอดคล้องกับระดับบริการที่เป็นอยู่ 2. ประสิทธิภาพการบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จังหวัดสามารถวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริการพื้นฐานด้านส่งเสริมปูองกัน และมีการปรับปรุงแก้ไข ให้มีความครอบคลุมประชากรทุกกลุ่มเปูาหมาย เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๑๙ 3. ประสิทธิภาพการบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ จังหวัดมีรูปแบบการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพในโรงพยาบาลและชุมชน เป็นตัวอย่าง 1 อาเภอ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1. สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ สานักบริหารการสาธารณสุข กลุ่มประกันสุขภาพ สานักตรวจ และประเมินผล 2. สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ผู้รับผิดชอบ ๑. นายวัฒน์ชัย จรูญวรรธนะ ตาแหน่ง นายแพทย์ สานักบริหารการสาธารณสุข สป. โทร. 0 2590 1746 มือถือ: 081 6821305 อีเมล์ [email protected] 2. นางสุนี ชวชลาศัย ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สานักบริหารการสาธารณสุข สป. โทร. 02 5901742 มือถือ: 083 1997556 อีเมล์ [email protected] 3. นายบัญชา ค้าของ ตาแหน่ง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี มือถือ 08 1535 8297 อีเมล์ [email protected] 4. นางอมรรัตน์ พีระพล กลุ่มงานการเงินการคลัง กลุ่มประกันสุขภาพ โทร. 0 2590 1548 โทรสาร. 0 2590 1579 4. นางจารุภา จานงศักดิ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สานักตรวจและประเมินผล โทร. 0 2590 1950 มือถือ 08 4874 4095 อีเมล์ [email protected]

เอกสารประกอบเพิม่ เติมของ หัวข้อ 2.3 ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริมป้องกัน และฟื้นฟู 1. ข้อมูลประกอบเพิ่มเติมในการตรวจราชการฯ เรื่องประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ค่าสาหรับที่ใช้อ้างอิงในการประเมินประสิทธิภาพด้านการรักษา ได้แก่ 1) ค่าน้าหนักสัมพัทธ์หลังปรับค่าแล้ว โดยขอให้เป็นข้อมูลปัจจุบันภายในปี เพื่อวิเคราะห์ความเคลื่อนไหว หรือแนวโน้ม ไม่ควรล่าช้าเกิน 2 เดือน ของทุกกองทุน และควรเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงเวลาเดียวกัน และมี การวิเคราะห์ค่าดังกล่าว เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานและกาหนดแนวทางในการพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนา ระบบบริการ (Service Plan) 2) อัตราส่วนการใช้บริการผู้ปุวยนอกที่หน่วยบริการปฐมภูมิ กับที่โรงพยาบาลแม่ข่าย 3) ค่าต้นทุนผลผลิตสาหรับหน่วยบริการ เช่น ต้นทุนต่อบริการผู้ปุวยนอก ต้นทุนต่อบริการผู้ปุวยใน และ ต้นทุนต่อบริการอื่นๆ 1.1 ข้อมูล ดัชนี Case Mix Index (CMI) สาหรับโรงพยาบาลทุกกลุ่ม (1) ดัชนี Case Mix Index (CMI) ที่ใช้ Adjusted RW เป็นฐานสาหรับโรงพยาบาลประเภทต่างๆ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๐ ประเภทโรงพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป 300 เตียงขึ้นไป โรงพยาบาลทั่วไป น้อยกว่า 300 เตียง โรงพยาบาลชุมชน 120 เตียงขึ้นไป โรงพยาบาลชุมชน 90 เตียง โรงพยาบาลชุมชน 60 เตียง โรงพยาบาลชุมชน 30 เตียง หรือน้อยกว่า

ค่าน้าหนักสัมพัทธ์หลังปรับค่าแล้วเฉลี่ยรวม 1.3 - 1.9 1.0 - 1.4 0.8 - 1.2 0.7 - 0.9 0.6 - 0.8 0.5 - 0.7 0.4 - 0.6

(2) ดัชนี Case Mix Index (CMI) ที่ใช้ Adjusted RW เป็นฐานสาหรับโรงพยาบาลประเภทต่างๆ แยก ประเภทกลุ่มโรค ประเภทโรงพยาบาล

ค่าน้าหนักสัมพัทธ์หลังปรับค่าแล้วเฉลี่ย กลุ่มโรคไม่ผ่าตัด กลุ่มโรคผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ 0.7 - 1.0 2.5 - 3.3 โรงพยาบาลทั่วไป 300 เตียงขึ้นไป 0.6 - 0.8 2.0 - 2.8 โรงพยาบาลทั่วไป น้อยกว่า 300 เตียง 0.5 - 0.7 1.7 - 2.6 โรงพยาบาลชุมชน 120 เตียงขึ้นไป 0.4 - 0.7 1.4 - 2.4 โรงพยาบาลชุมชน 90 เตียง 0.4 - 0.7 1.2 - 2.0 โรงพยาบาลชุมชน 60 เตียง 0.4 - 0.7 1.0 - 1.7 โรงพยาบาลชุมชน 30 เตียง หรือน้อยกว่า 0.4 - 0.6 0.8 - 1.5 1.2 ดัชนี Case Mix Index (CMI) สาหรับโรงพยาบาลศูนย์และทั่วไป (1) ดัชนี CMI เชิงลึก จาแนกประเภทกลุ่มการวินิจฉัยหลัก (Major Diagnostic Category-MDC) และ/ หรือ ประเภทกลุ่มโรคผ่าตัดและไม่ผ่าตัด ตารางที่ 1 ค่าดัชนี CMI ของโรงพยาบาลศูนย์และทั่วไปแยกตามกลุ่มวินิจฉัยโรคหลัก (MDC) กลุ่มวินิจโรคหลัก (Major Diagnostic Category - โรงพยาบาลศูนย์ MDC) Nervous system Eye Ear, Mouth and Throat Respiratory system Circulatory system Digestive system Hepatobiliary system and pancreas Musculoskeletal System and Connective tissue Skin, Subcutaneous tissue and Breast

1.5 - 2.2 1.1 - 1.3 0.5 - 1.1 1.2 - 2.2 1.1 - 3.0 1.2 - 1.9 1.9 - 2.7 1.5 - 2.0 1.1 - 1.7

โรงพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไป ทั่วไป น้อยกว่า 300 เตียง 300 เตียงขึ้นไป 0.9 - 1.7 0.7 - 1.3 1.0 - 1.4 0.9 - 1.4 0.4 - 0.6 0.2 - 0.5 1.0 - 1.6 0.8 - 1.3 1.1 - 1.6 0.9 - 1.4 0.9 - 1.3 0.6 - 1.0 1.6 - 2.1 1.4 - 2.1 1.3 - 1.9 1.2 - 1.9 1.0 - 1.6 0.8 - 1.6

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๑ Endocrine, Nutritional and Metabolic diseases and Disorders Kidney and urinary tract Male reproductive system Female reproductive system Pregnancy, Childbirth and Puerperium Newborns and others neonates with conditions… Blood and Blood Forming Organs and Immunological disorders Myeloproliferative Diseases and Disorders Infectious and Parasitic Diseases Mental Diseases and Disorders Alcohol/Drug use and … Injuries, Poisonings and Toxic effects of Drugs Burns Factors influencing health status and … Multiple significant trauma HIV infections

0.8 - 1.1 1.3 - 1.9 1.1 - 1.7 1.2 - 1.7 0.7 - 0.8 0.5 - 0.9

0.7 - 0.9 1.0 - 1.6 0.8 - 1.4 1.1 - 1.5 0.6 - 0.7 0.3 - 0.7

0.6 - 0.9 0.7 - 1.4 0.5 - 1.5 0.9 - 1.4 0.6 - 0.7 0.2 - 0.6

0.5 - 0.9 2.5 - 3.9 0.8 - 1.2 0.4 - 0.8 0.4 - 0.6 0.6 - 0.9 1.2 - 4.9 0.4 - 1.1 3.7 - 5.5 1.5 - 1.8

0.4 - 0.8 2.0 - 3.4 0.6 - 1.1 0.3 - 0.7 0.3 - 0.6 0.5 - 0.7 0.8 - 3.2 0.5 - 1.1 3.0 - 5.1 1.2 - 1.7

0.4 - 0.8 1.6 - 3.6 0.5 - 1.1 0.3 - 0.7 0.3 - 0.6 0.3 - 0.6 0.7 - 1.7 0.4 - 1.0 2.6 - 5.1 1.1 - 1.7

ตารางที่ 2 ค่าดัชนี CMI ของโรงพยาบาลศูนย์และทั่วไปแยกตามกลุ่มวินิจฉัยโรคหลัก (MDC) และประเภท การรักษา (ผ่าตัด/ไม่ผ่าตัด) กลุ่มวินิจโรคหลัก (Major Diagnostic Category - MDC) Nervous system Eye Ear, Mouth and Throat Respiratory system Circulatory system Digestive system

โรงพยาบาลศูนย์ ไม่ผ่าตัด 1.0 1.5 0.4 0.5 0.3 0.7 0.8 1.2 1.2 1.6 0.6 -

ผ่าตัด 5.5 7.1 1.3 1.5 1.5 1.8 4.2 5.3 3.8 7.5 2.1 -

โรงพยาบาลทั่วไป 300 เตียงขึ้นไป ไม่ผ่าตัด ผ่าตัด 0.9 - 2.8 1.2 6.7 0.4 - 1.2 0.5 1.5 0.3 - 1.3 0.4 1.7 0.7 - 3.9 1.0 5.6 0.9 - 3.0 1.4 5.3 0.4 - 1.8 -

โรงพยาบาลทั่วไป น้อยกว่า 300 เตียง ไม่ผ่าตัด ผ่าตัด 0.7 1.1 1.3 4.8 0.3 1.1 0.6 1.5 0.2 0.9 0.4 1.7 0.6 4.3 0.9 5.5 0.9 2.5 1.3 4.7 0.4 1.5 -

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๒ กลุ่มวินิจโรคหลัก (Major Diagnostic Category - MDC)

โรงพยาบาลศูนย์

ไม่ผ่าตัด 1.1 Hepatobiliary system and pancreas 1.4 1.9 Musculoskeletal System and 0.6 Connective tissue 0.9 Skin, Subcutaneous tissue and Breast 0.8 1.3 Endocrine, Nutritional and Metabolic 0.6 diseases and Disorders 0.8 Kidney and urinary tract 1.0 1.3 Male reproductive system 0.7 1.2 Female reproductive system 0.7 1.4 Pregnancy, Childbirth and 0.3 Puerperium 0.3 Newborns and others neonates with 0.2 conditions … 0.4 Blood and Blood Forming Organs and 0.4 Immunological disorders 0.8 Myeloproliferative Diseases and 2.5 Disorders 3.9 Infectious and Parasitic Diseases 0.7 1.1 Mental Diseases and Disorders 0.4 0.8 Alcohol/Drug use and … 0.4 0.6 Injuries, Poisonings and Toxic effects 0.4 of Drugs 0.7 Burns 0.9 3.2 Factors influencing health status and 0.4 -

ผ่าตัด 2.7 3.4 4.6 2.2 2.9 1.7 2.7 1.7 2.2 2.0 3.2 1.3 2.0 1.5 2.0 1.1 1.2 4.5 8.7 1.9 2.7 2.3 5.9 2.1 4.0 1.8 2.0 1.1 2.0 8.1 16.0 0.5 -

โรงพยาบาลทั่วไป 300 เตียงขึ้นไป ไม่ผ่าตัด ผ่าตัด 0.7 2.4 1.2 - 2.8 1.7 4.0 0.6 - 2.0 0.8 2.9 0.7 - 1.7 1.1 2.9 0.5 - 1.5 0.8 2.5 0.8 - 1.8 1.2 3.3 0.4 - 1.0 0.9 1.8 0.5 - 1.5 0.9 1.9 0.3 - 1.0 0.3 1.2 0.2 - 4.2 0.4 7.8 0.4 - 1.3 0.7 2.8 2.0 - 0.9 3.4 5.3 0.6 - 1.4 1.0 4.4 0.4 0.7 0.3 0.6 0.3 - 1.1 0.5 1.7 0.8 - 6.8 2.5 15.0 0.4 - 0.8 -

โรงพยาบาลทั่วไป น้อยกว่า 300 เตียง ไม่ผ่าตัด ผ่าตัด 0.6 2.1 1.2 2.4 1.7 3.8 0.6 1.8 0.9 2.9 0.6 1.4 1.1 3.3 0.5 1.1 0.8 3.3 0.6 1.2 1.1 3.8 0.3 0.3 1.1 2.8 0.5 1.3 0.8 1.8 0.3 1.0 0.3 1.2 0.2 4.6 0.3 9.0 0.4 1.2 0.7 3.3 1.7 1.0 3.7 3.5 0.5 2.1 1.0 4.4 0.3 0.6 0.3 0.6 0.3 0.7 0.5 2.3 0.7 1.7 0.4 0.5 -

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๓ กลุ่มวินิจโรคหลัก (Major Diagnostic Category - MDC) … Multiple significant trauma HIV infections

โรงพยาบาลศูนย์ ไม่ผ่าตัด 0.8 3.2 5.5 1.4 1.8

ผ่าตัด 2.9 3.7 5.6 1.7 4.4

โรงพยาบาลทั่วไป 300 เตียงขึ้นไป ไม่ผ่าตัด ผ่าตัด 1.0 2.6 2.6 - 2.9 5.8 5.1 1.2 - 1.4 1.6 4.0

โรงพยาบาลทั่วไป น้อยกว่า 300 เตียง ไม่ผ่าตัด ผ่าตัด 1.0 2.9 2.0 2.6 5.5 5.1 1.1 1.2 1.7 3.3

การคานวณค่า CMI แต่ละโรงพยาบาลจะต้องนาไฟล์ 12 แฟูม ไปเข้าโปรแกรม DRG Grouper ก่อน หลังจากได้ไฟล์สุดท้าย ซึ่งมีข้อมูล รหัส DRG และ ค่า adjusted RW แล้ว จึงนาไปคานวณหาค่า CMI ดังกล่าวต่อไป โดย 1) สาหรับการหาค่า CMI เฉลี่ยทั้งโรงพยาบาล ได้จากนาข้อมูลทั้งหมดไปหาค่าเฉลี่ยของ adjusted RW 2) สาหรับการหาค่า CMI เฉลี่ยรายกลุ่มวินิจฉัยโรคหลัก (MDC) ให้ใช้ข้อมูลตัวเลข 2 หลักแรกของรหัสกลุ่ม วินิจฉัยโรคร่วม (DRG) ซึ่งแสดงถึง กลุ่มโรคทั้ง 25 กลุม่ โรคในตาราง เรียงตั้งแต่ รหัส 01-25 3) สาหรับการหาค่า CMI เฉลี่ยเป็นกลุ่มผ่าตัดและไม่ผ่าตัด ให้ใช้ข้อมูลตัวเลขหลักที่ 3 และ 4 ของรหัสกลุ่มวินิจ โรคร่วม (DRG) โดยกลุ่มผ่าตัดได้จากตัวเลขหลักที่ 3 และ 4 ของรหัสกลุ่มวินิจโรคร่วม (DRG) ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 01-49 สาหรับกลุ่มที่ไม่ผ่าตัดในแต่ละกลุ่มวินิจฉัยโรคหลัก จะมีค่า ตั้งแต่ 50 ขึ้นไป 4) สาหรับการหาค่า CMI 2 มิติ หมายถึง การหาค่า CMI รายกลุ่มวินิจฉัยโรคหลัก (MDC) ก่อน แล้วนาไปแยก เป็นกลุ่มผ่าตัดและไม่ผ่าตัดอีกครั้งหนึ่งภายในกลุ่มวินิจฉัยโรคหลักเดียวกัน ซึ่งในทางปฏิบัติ ทาได้พร้อมกัน เช่น ในการทา Pivot table

1.3 อัตราส่วนการใช้บริการผู้ป่วยนอกที่หน่วยบริการปฐมภูมิ กับที่โรงพยาบาลแม่ข่าย คานวณดังนี้ OP visit หน่วยบริการปฐมภูมิ(ประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ) OP visit รพ.แม่ข่าย (ประชากรในพืน้ ที่รับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ) ซึ่งควรมีค่ามากกว่า 0.88 การนิเทศติดตามสามารถดูในภาพรวมของจังหวัด/อาเภอ ในส่วนภาพ จังหวัดสามารถคานวณได้ดังนี้ OP visit หน่วยบริการปฐมภูมิทั้งหมด หารด้วย จานวน OP visit ของรพ.ทั้งหมด และใช้เกณฑ์ > 0.88 เช่นกัน

1.4. การวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต (Unit costing) ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงระบบการเงินโรงพยาบาลภาครัฐเข้าสู่ ระบบกองทุนหลั กประกันสุ ขภาพ แห่งชาติ ในปี 2545 ครอบคลุมประชาชนทั่วประเทศ ระบบการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้รับบริการโดยตรงเดิม ซึ่ง เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๔ กาหนดราคาตามรายชิ้นงานบริการในผู้ปุวยแต่ละราย ถูกปรับเป็นการจัดสรรเป็นเงินกองทุนล่วงหน้าเหมาจ่ายปลาย ปิดปรับเกลี่ยผลงานตามวงเงินกองทุนส่วนที่เหลือ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมามีการขยายตัวการเข้าถึงบริการของประชาชนเป็น อย่างมากด้วยการดาเนินการสุขภาพเชิงรุกมากขึ้น อย่างมาก แต่ด้วยการควบคุมงบประมาณค่าใช้จ่ายจากรัฐตาม กระบวนการงบประมาณ และการควบคุมค่าใช้จ่ายกองทุนทุกกองทุนที่จ่ายให้หน่วยบริการเพื่อผลักดันประสิทธิภาพ ไปพร้อมๆกับการกาหนดสิทธิประโยชน์ที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายที่อาจทาให้การเงินครัวเรือนล่ม สลาย ทั้งหมดเป็นไปโดยการกาหนดการจัดสรร และการชดเชยค่าใช้จ่ายโดยกองทุนหรือหน่วยผู้ซื้อเกือบทั้งหมด แม้ หน่วยบริการจะมีหลักฐานการกาหนดราคาตามมาตรฐานและแสดงด้วยบัญชีราชการที่ตรวจสอบได้ว่าได้รับชดเชยไม่ เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในการบริการอย่างชัดเจน ทั้งปรากฏเป็นปัญหาการขาดสภาพคล่องทางการเงินในวงกว้างเกือบ 80% ของหน่วยบริการในปี 2553 ทั้งหมดเป็นที่มาของนโยบายกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องการดาเนินการศูนย์ ต้นทุนของหน่วยบริการ เพื่อศึกษาพิสูจน์ต้นทุนในการดาเนินการที่แท้ จริง และเพื่อเป็นข้อเสนอการกาหนดการจัดสรร ที่เหมาะสมเป็นธรรมแก่หน่วยบริการเพื่อไปจัดบริการที่มีคุณภาพเพื่อประชาชนต่อไป ในขณะเดียวกันหลังจากการกาหนดนโยบายของสานักงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเร่งจัดสรรให้มีงบใน กองทุนประจาปีคงเหลือไม่เกินร้อยละ 5 ทาให้สถานการณ์การเงินในหน่วยบริการดีขึ้น มีแนวโน้มสูงในการประเมิน สาเหตุความไม่เพียงพอค่าใช้จ่ายเกิดจากการขาดการบริหารจัดการการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ จาเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องมีต้นทุนของแต่ละหน่วยบริการเพื่อเป็นกลไกประเมินและพัฒนาประสิทธิภาพโดยเป็นเครื่องมือให้ผู้บ ริหารทุก ระดับนาไปใช้ในการปรับเกลี่ยการจัดสรรให้เป็นธรรมในกลุ่มหน่วยบริการด้วยกันเอง และเป็นตัวบ่งชี้ยืนยันว่าหน่วย บริการมีประสิทธิภาพเพื่อให้การขอสนับสนุนงบจากกองทุนและรัฐบาลมีความสมเหตุสมผลอย่างเพียงพอ ปัจจัยที่มีผลทาให้เกิดปัญหาการเงินโรงพยาบาลรัฐสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. งบจัดสรรจากภาครัฐต่ากว่าผลงานการให้บริการจริง ในขณะที่มีอัตราบริการเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว 2. งบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในหน่วยบริการ จากการหลักเกณฑ์การจัดสรรซึ่งกัน เงินกองกลางค้างเหลือในบัญชีกองทุนจานวนมาก 3. หลักเกณฑ์การจัดสรรและการหักเงินเดือนงบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่สอดคล้องกับบริบทที่แท้จริงของ หน่วยบริการ 4. แนวโน้มการเข้ารับบริการสิทธิรักษาพยาบาลประกันสังคมและข้าราชการในโรงพยาบาลของรัฐที่ลดลง 5. ค่าใช้จ่ายหมวดบุคลากรมีการขยายตัวอย่างมาก ข้อเสนอเพื่อการแก้ปัญหาการเงินการคลังในระบบสุขภาพ 1. ในระยะสั้นจาเป็นต้องปรับหลักเกณฑ์การจัดสรร เพื่อลดปัญหาการเหลื่อมล้าในอัตราค่าใช้จ่ายรายหัว การเร่ง การจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพให้ไม่เหลือค้างในบัญชีกองทุนมากเกินไป และการพึ่งงบประมาณงบ กลางรัฐมาช่วยเหลือในหมวดค่าตอบแทน 2. ในระยะยาวต้ อ งปรั บ เพิ่ ม ค่ า ใช้ จ่ า ยจากกองทุ น ต่ า งๆ ให้ เ ป็ น ธรรม เพื่ อ น ามาสู่ ค วามเพี ย งพอของเงิ น โรงพยาบาล ด้วยการจัดสรรตามต้นทุนที่แท้จริงจากการบริการ 3. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง โดยการนาต้นทุนบริการมาเป็นเครื่องมือในการประเมิน ความมีประสิทธิภาพการดาเนินงาน 4. การพัฒนาช่องทางการเงินสู่ระบบบริการสุขภาพที่มั่นคง โดยการจัดทาคาของบประมาณบนพื้นฐานข้อมูล ค่าใช้จ่ายที่เป็น ธรรม ตามต้นทุนที่แท้จริงและปริมาณบริการจริง รวมถึงการร่ว มจ่ายล่ว งหน้าในลั กษณะ ประกันเงินออมเพื่อเป็นกลไกการมีส่วนร่วมและตระหนักในการใช้บริการอย่างมีคุณค่า เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๕ นโยบายการดาเนินการศูนย์ต้นทุนหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. กาหนดเป็นนโยบายกระทรวงสาธารณสุขเร่งด่วน มีเปูาหมายทุกโรงพยาบาล โดยเป็นลักษณะการพัฒนาสู่ ระบบศูนย์ต้นทุนถาวรในระยะยาวอย่างยั่งยืน โดยทุกระดับมีการพัฒนาระบบข้อมูล ระบบบัญชี กระบวนงาน และการจัดการความรู้รองรับอย่างเป็นทางการร่วมกันเป็นเครือข่าย 2. กาหนดให้ดาเนินการโดยวิธีมาตรฐาน FULL COST METHOD โดยมีการกาหนดรายละเอียดที่สมบูรณ์ ครบถ้วน โดยปรับให้พัฒนาตามสถานการณ์ข้อมูลการบริการและบัญชีเกณฑ์คงค้างในปัจจุบันเป็นผลสาเร็จ เบื้องต้นใช้งานได้ ไปสู่ระบบบัญชีต้นทุนเพื่อเป็นมาตรฐานการทาต้นทุนที่สมบูรณ์ในที่สุดในระยะต่อไป 3. พัฒนามาตรฐานการจัดทาต้นทุนบริการ เพื่อการยอมรับนาไปเป็นข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณ โดยที่มี ปรึกษา นักวิชาการ และคณะดาเนินการในส่วนกลางกาหนดหลักเกณฑ์ระเบียบวิธีอย่างมีหลักวิชา 4. ให้มีการจัดตั้งเครือข่ายศูนย์ต้นทุนในทุกระดับ เพื่อจัดทาให้การดาเนินการจัดทาต้นทุนบริการมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วยศูนย์ต้นทุนระดับกระทรวงสาธารณสุข จัดการวางระบบจากศูนย์กลาง โดยการประสานศูนย์ ต้นทุนระดับเขต ในบทบาทพี่เลี้ยงระดับเขตให้คาปรึกษา ขับเคลื่อนไปยังศูนย์ต้นทุนจังหวัดในฐานะผู้สนอง นโยบายกากับพัฒนาศูนย์ต้นทุนโรงพยาบาลซึ่งเป็นฐานปฏิบัติการจัดทาต้นทุนบริการมาตรฐาน 5. ปรับปรุงการติดตามข้อตรวจราชการ ที่ 0203 จากการทาต้นทุนแบบ Quick method ปรับเป็นแบบ Full Cost Method โดยแจ้งเรียนประสานผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ขับเคลื่อนกลไกการเครือข่ายศูนย์ ต้นทุนจากระดับเขตลงไปครอบคลุมทุกหน่วยบริการในสังกัด 6. พัฒนาระบบงานส่ วนกลางสนับสนุน รองรับการดาเนินการศูนย์ต้นทุนในหน่วยบริการ โดยจัดทาต้นแบบ เตรียมเครื่องมือ การจัดทาคู่มือ การพัฒนาพัฒนาบุคลากรผู้ประสานกากับและวิทยากรกระบวนการในพื้นที่ ระบบให้คาปรึกษา ระบบสื่อสาร ถ่ายทอดบทเรียนข้อความรู้ web site และ web board ฯลฯ 7. มอบให้ทุกหน่วยถือเป็นนโยบายในการดาเนินการ เพื่อให้ศูนย์ต้นทุนบรรลุเปูาหมาย โดยการประกาศนโยบาย การดาเนินการศูนย์ต้นทุน การสนับสนุนอัตรากาลังทั้งในศูนย์ต้นทุนโรงพยาบาล ศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ การกาหนดให้ความร่วมมือเรื่องการเข้าถึงและได้มาของข้อมูลทุกประเภทและ การติดตามกากับแก้ปัญหาของผู้บริหารทุกระดับอย่างจริงจัง

กรอบนโยบายบริหารระบบต้นทุนบริการ 2555 1. ให้ความสาคัญการจัดทาต้นทุนบริการครอบคลุมทุกรพ. อย่างต่อเนื่อง และเน้นตอบสนองให้ทันสถานการณ์ การปรับทิศทางการเปลี่ยนแปลงในระบบหลักประกันสุขภาพ 2. บูรณาการหน่วยดาเนินการด้านการศึกษาต้นทุนให้มีความเป็นเอกภาพและมีสัดส่วนดาเนินการ ที่สอดคล้องไม่ ซ้าซ้อนเป็นภาระในพื้นที่ 3. เน้นให้พัฒนาเป็นระบบมาตรฐานการจัดการต้นทุนครอบคลุมทุกหน่วยบริการ ประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบสนับสนุน (BACK OFFICE) โรงพยาบาล 2) การพัฒนาคุณภาพข้อมูลเพื่อนาเข้าสู่บัญชีต้นทุนต่อยอดจากเกณฑ์คงค้าง 3) การพัฒนาการขับเคลื่อนศูนย์ต้นทุน โดยการกากับทางนโยบาย การกากับโดยการตรวจราชการ 4) การพัฒนาโปรแกรมปฏิบัติการต้นทุนบริการสุขภาพแห่งชาติ ภายใต้การมีส่วนร่วมกาหนดพัฒนาของ คณะทางานด้านวิชาการ นักเขียนโปรแกรม นักวิชาการเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข และที่เกี่ยวข้องทุก ภาคส่วน เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๖ 5) การพัฒนาบุคลากร ทั้งปฏิบัติการ และบริหาร ภายใต้ระบบต้นทุนบริการ แนวทางการดาเนินการศูนย์ต้นทุนหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทิศทางความเชื่อมโยงการขับเคลื่อนเชิงเครือข่าย เพื่อให้การดาเนินเรื่องศูนย์ต้นทุน มีความเชื่อมโยงกับระบบการบริหารจัดการเดิมที่ดาเนินการมาก่อนหน้านี้ และการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์หลักประกันและบริหารการเงินการคลังสุขภาพ จึงนา โครงสร้างการพัฒนาเครือข่ายระบบการเงินการคลังสุขภาพมาเชื่อมโยงการดาเนินการและการติดตามควบคุมกากับ ตลอดจนไปถึงการพัฒนาศักยภาพ โดยมีลักษณะการดาเนินงานดังนี้





CENTRAL

AUDIT TEAM REGION

AUDIT TEAM PROVINCE

AUDIT TEAM CUP

AUDIT TEAM

CENTRAL

CFO  REGION

CFO

PROVINC

CFO

CUP

CFO

ภาพโครงสร้างและความเชื่อมโยงศูนย์ต้นทุนระดับต่างๆ กับศูนย์ปฏิบัติการการเงินการคลัง ผู้บริหารการเงิน การคลัง และผูต้ รวจสอบบัญชี เพือ่ พัฒนาระบบการเงินการคลังสุขภาพ และการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบาย ดทาข้อมูลอย่ 1. ศูระดั นย์บตประเทศโดยการจั ้นทุนระดับโรงพยาบาล เป็านงเป็ ศูนนย์ระบบจากเครื ศึกษาต้นทุนอทีข่า่ดยนี าเนิ้ผ่านนคณะกรรมการคณะกรรมการ การภายใต้ศูนย์บริหารจัดการการเงินการคลัง ยุ ท ธศาสตร์ ห ลั ก ประกั น และบริ ห ารการเงิ น การคลั งสุขภาพ ระดับเครือข่าย ซึ่งตามแนวทางการตรวจราชการจาเป็นต้องมีคณะกรรมการดั งกล่าวเพื่อทาหน้าที่ดาเนินการในส่วน

การเฝูาระวังทางการเงินการคลัง การประเมินสถานการณ์การเงินการคลังตามข้อมูลรายงานการเงินและดัชนีชี้วัดต่างๆ ตามเกณฑ์การเงิน พร้อมทั้งการบริหารการเงินการคลังในรูปแบบเพื่อสร้างประสิทธิภาพการบริหารระบบ ทั้งการ ควบคุมค่าใช้จ่าย การจัดการด้านรายได้ รวมถึงการปรับปรุงพัฒนาระบบบริหารจัดการที่เกี่ยวข้อง การดาเนินการศูนย์ ต้นทุนจึงสอดคล้องกับการดาเนินการของคณะกรรมการดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อให้มีฐานตัวเลขต้นทุนการดาเนินการกิจการ ของโรงพยาบาลในภาพรวม และต้นทุนต่อกิจกรรมบริการที่แบ่งตามประเภทต่างๆ ที่สามารถประเมินประสิทธิภาพการ จัดบริการโดยเปรียบเทียบกับหน่วยอื่นที่มีภารกิจและขยาดดาเนินการใกล้เคียงกัน ตลอดจนให้มีตั วเลขต้นทุนบริการ เพื่อเป็นข้อเสนอขอรับการจัดสรรที่เป็นธรรมจากแหล่งผู้จ่ายต่างๆ อย่างมีหลักฐานและมีหลักวิชาการ โดยโครงสร้าง ของศูนย์ต้นทุนโรงพยาบาลควรมีองค์ประกอบเป็นบุคลากรที่มีศักยภาพและเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการเงินการ คลัง และข้อมูลที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาล ดังนี้ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๗ 1.1 ผู้อานวยการโรงพยาบาลหรือแพทย์ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการบริหารการเงินการคลังหรือด้าน การศึกษาต้น ทุน บริ ก าร หรื อได้รั บ มอบหมายที่ส ามารถควบคุมกากับการดาเนิน การของคณะทางานศูนย์ต้นทุ น โรงพยาบาลได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพทางการบริหารตามข้อกาหนดนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในประเด็น ปัญหาสาคัญของหน่วยบริการสาธารณสุขในปัจจุบัน 1.2 เจ้าหน้ าที่ซึ่งได้รั บมอบหมายเป็ น ผู้จัดการหลั กของศูนย์ต้นทุนโรงพยาบาล เป็นผู้ ที่เกี่ยวข้องกับการ ประสานการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ที่เกี่ยวกับต้นทุน หรือรายได้ค่าใช้ จ่ายของโรงพยาบาล ซึ่งอาจเป็นฝุาย แผนงานและยุทธศาสตร์ หรือฝุายการเงินและบัญชี แล้วแต่ความเหมาะสมหรือการมอบหมายการดาเนินการที่ผ่านมา ทั้งนี้บุคคลนี้จะเป็นผู้เสนอการดาเนินการพร้อมทั้งเป็นแกนหลักในการจัดทาศูนย์ต้นทุนต่อหัวหน้าศูนย์ต้นทุนอย่าง เนื่องไปถึงอนาคต 1.3 เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลบัญชี รายงานการเงิน ข้อมูลรายงานพัสดุ ตามความเหมาะสม 1.4 เจ้าหน้ าที่ที่เกี่ย วข้องกับการจัดการข้อมูล เช่น เวชสถิติ เจ้าหน้าที่สารสนเทศ เจ้าหน้าที่ฝุ ายเภสัช ที่ เกี่ยวข้องกับจัดการข้อมูลการรายงานการเบิกจ่ายยา พยาบาลผู้ทาหน้าที่ด้านการรวบรวมข้อมูลเรียกเก็บเบิกจ่าย ความ เหมาะสม 1.5 ผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์การจัดทาต้นทุน หรือเกี่ยวข้องที่อาจแต่งตั้งเพิ่มเติมตาม ทั้งนี้อาจตั้งรวมในคณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง หรือตั้งเพิ่มเป็นคณะอนุกรรมการ/คณะทางาน ศูนย์ต้นทุนโรงพยาบาลก็ได้ 2 ศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัด มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาและบริหารการการจัดตั้งศูนย์ต้นทุนในระดับ โรงพยาบาลทุกโรงพยาบาลในจังหวัด ให้ประสบความสาเร็จ ภายใต้การเชื่อมโยงนโยบายส่วนกลางสู่ภูมิภาคผ่านการ รับผิดชอบตามตัวชี้วัดการตรวจราชการข้อ 0203 เรื่องการจัดทาต้นทุนของโรงพยาบาล บทบาทจึงมีฐานะเป็นผู้นิเทศ กากับ ติดตาม การดาเนินการศูนย์ต้นทุนในโรงพยาบาล โดยในระยะแรกควรกาหนดการเตรียมความพร้อมดาเนินการ ในช่วงปีแรก โดยการประกาศนโยบายให้หน่วยบริการได้รับทราบ ร่วมพัฒนาการจัดทาศูนย์ต้นทุนในส่วนการจัดตั้ง คณะกรรมการในระดับจังหวัด โดยเชื่อมโยงกับศูนย์ปฏิบัติการหรือคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัดที่ มีอยู่เดิม โดยพิจารณาผู้ที่มีความรู้เคยศึกษาหรือประสบการณ์ด้านการจัดทาหน่วยต้นทุนในจังหวัดเข้ามาเพิ่มเติม ใน กรณีที่ไม่มีผู้มีความรู้หรือประสบการณ์ดังกล่าวอาจพิจารณาผู้มีความรู้และประสบการณ์การบริหารการเงินการคลังทา หน้าที่ในส่วนดาเนินการพัฒนาศูนย์ต้นทุนของโรงพยาบาลในจังหวัด ทั้งนี้จะเป็นผู้ให้คาปรึกษา ประสานการดาเนินการ ตามขั้นตอนที่กระทรวงกาหนดโดยคณะกรรมการศูนย์ต้นทุนระดับกระทรวง และขอรับคาปรึกษาจากศูนย์ต้นทุนระดับ เขต รวมถึงทาหน้าที่รายงานผลการดาเนินการ ให้คณะกรรมการระดับจังหวัดและผู้บริหารได้ทราบผลความก้าวหน้า ปัญหาในการดาเนินการ และร่วมประชุมเพื่อกาหนดแนวทางดาเนินการและแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ จนสามารถ บรรลุผลการดาเนินการจัดตั้งศูนย์ต้นทุนในทุกโรงพยาบาล และนาผลต้นทุนบริการมาเป็นเครื่องมือบริหารการจัดสรร และพัฒนาประสิทธิภาพหน่วยบริการต่อไป พร้อมทั้งพัฒนาต่อเนื่องในส่วนของระบบบัญชีสู่ระบบบัญชีที่เก็บข้อมูล เพื่อทาบัญชีต้นทุนที่สมบูรณ์แบบมากขึ้นในปีต่อๆไป ตามแนวทางที่ส่วนกลางกาหนด 3 ศูนย์ต้นทุนระดับเขต เนื่องจากการประเมินว่าในหลายจังหวัดไม่ได้มีผู้มีความรู้และประสบการณ์การจัดทา หน่วยต้นทุนบริการ จึงจาเป็นต้องคัดสรรผู้ที่มีคุณสมบัติดังกล่าว เพื่อเป็นที่ปรึกษาในระดับเขต ทาหน้าที่ช่วยเหลือด้าน การให้คาปรึกษา ชี้แนะแนวทางดาเนินการ ตลอดจนการตัดสินปัญหากาหนดการปฏิบัติในรายละเอียดที่จังหวัดและ โรงพยาบาลต่างๆ ในจังหวัดในเขตที่ที่ปรึกษาอยู่ร้องขอเข้ามา โดยเสนอให้แต่งตั้งผู้ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวจาก โรงพยาบาลในเขต เป็นคณะกรรมการฝุายการจัดทาต้นทุนบริการ ทั้งนี้ยังมีหน้าที่ในการประสานแนวทางการ ดาเนินการกับส่วนกลาง ตลอดจนการให้ความเห็นและข้อเสนอแนะนาต่อศูนย์ต้นทุนระดับกระทรวงเพื่อให้การ ดาเนินการสามารถดาเนินการไปได้อย่างเหมาะสมกับพื้นที่ต่างๆทั้งประเทศ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๘ 4 ศูนย์ต้นทุนระดับกระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดให้บริหารจัดการโดยคณะกรรมการศูนย์ต้นทุนกระทรวง สาธารณสุข มีองค์ประกอบ คือ ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานวิชาการ เจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีความรู้และประสบการณ์การศึกษาต้นทุนบริการ เจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญระบบบัญชี ระบบข้อมูลบริการของ หน่วยบริการ และเจ้าหน้าที่หน่วยงานในส่วนกลางที่เกี่ยวข้องกับการรับผิดชอบจัดทาต้นทุนบริการ คือ กลุ่มประกัน สุขภาพ และสานักบริหารการสาธารณสุข ทาหน้าที่เป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนการจัดตั้งศูนย์ต้นทุนระดับต่างๆ การกาหนดหน่วยงาน ขั้นตอนและระยะเวลาดาเนินการจัดทาต้นทุนบริการ การกาหนดแบบและวิธีการศึกษา การ สร้างและพัฒนาเครื่องมือ ได้แก่ คู่มือแนวทางการจัดทาต้นทุนบริการกระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาโปรแกรมรองรับ การพัฒนาบุคลากรของหน่วยบริการและหน่วยบริหารในเรื่องการดาเนินการศูนย์ต้นทุน ในระหว่างดาเนินการ ทา หน้าที่ให้คาปรึกษา กาหนดแนวทางดาเนินการ และแก้ปัญหาเรื่องต่างๆที่มีประเด็นจากพื้นที่ รวมถึงการรวบรวมผล การดาเนินการ รายงานความก้าวหน้าให้คณะกรรมการยุทธศาสตร์หลักประกันและบริหารการเงินการคลังสุขภาพและ ผู้บริหารระดับกระทรวงสาธารณสุขได้รับทราบ จนสามารถบรรลุผลการได้มาซึ่งต้นทุนบริการรายโรงพยาบาล ตาม รายการที่กาหนดศึกษา และพัฒนาระบบการจัดทาต้นทุนบริการต่อไปให้มีมาตรฐาน น่าเชื่อถืออย่างต่อเนื่อง การติดตามควบคุมกากับและการสนับสนุนและการประเมินความก้าวหน้าการจัดทาต้นทุนบริการ ดาเนินการดังนี้ 1. การตรวจราชการจากงานตรวจราชการเขต ผ่านหัวข้อที่ 2.3 : ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริม ปูองกัน ฟื้นฟู ซึ่งกาหนดปรับจากการศึกษาต้นทุนแบบอื่นๆ เป็นแบบมาตรฐาน ( Full method ) ที่กาหนด โดยคณะกรรมการส่วนกลาง โดยเริ่มตั้งแต่หลังการอบรมพัฒนาศักยภาพการจัดทาต้นทุน เป็นต้นไป ซึ่งกาหนดให้แล้ว เสร็จภายในเดือนกันยายน ของปีงบประมาณปัจจุบัน 2. การรายงานผลการดาเนินการให้ส่ วนกลาง ที่กลุ่มประกันสุขภาพทราบ โดยจะมีการกาหนดแบบรายงาน และระบบรายงานทางอีเล็กโทรนิกส์ต่อไป ทาง web site ของกลุ่มประกันสุขภาพ โดยในอนาคตจะพัฒนาเป็น รายงานกลุ่มประเภทเดียวกับงบทดรอง ที่จัดส่งให้กลุ่มประกันสุขภาพที่ผ่านมา ในลักษณะรองรับการจัดทารายงาน ต้นทุนบริการที่มีโปรแกรมโดยตรงต่อไป 3. ศูน ย์ ต้น ทุนระดับ จั งหวัดมีห น้าที่ติดตามการดาเนินการของหน่วยบริการ แล้ว รวบรวมรายงานผลการ ดาเนินการตามขั้นตอนที่กาหนดจากส่วนกลางตามลาดับ และรวบรวมฐานข้อมูลและรายงานที่เกี่ยวข้องตลอดจน ความก้าวหน้านาเสนอคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังและผู้บริหารระดับจังหวัดและระดับเขตตามลาดับ 4. กลุ่มประกันสุขภาพและสานักบริหารการสาธารณสุข เป็นผู้จัดทารายงานประจาปี รายงานหน่วยต้นทุน บริการ ตามหมวดหมู่หน่วยต้นทุนต่างๆที่ได้จากการศึกษาของโรงพยาบาล พร้อมทั้งวิเคราะห์ผล จัดทาข้อเสนอที่ เกี่ย วกับ ประสิ ทธิภ าพโรงพยาบาล และต้น ทุน กลางระดับโรงพยาบาลกลุ่มระดับต่างๆ ตามปัจจัยองค์ประกอบที่ สามารถจัดกลุ่มโรงพยาบาลได้ โดยขอรับคาปรึกษาและความช่วยเหลือจากหน่วยวิชาการและผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับความ ช่วยเหลือสนับสนุนทางวิชาการ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายศูนย์ต้นทุน การดาเนินการระยะเริ่มต้น กาหนดการดาเนินการ ดังนี้ 1. ให้มีการจัดประชุมมอบนโยบายและชี้แจงหน่วยบริหารและหน่วยบริการในการขับเคลื่อนศูนย์ต้นทุนทุก หน่วยพร้อมกันเพื่อเป็นการสร้างการตระหนักรับรู้และการดาเนินการตามนโยบาย กาหนด 1 วัน กิจกรรมประชุม ประกอบ ด้วย พิธีเปิดและมอบนโยบายการจัดตั้งศูนย์ต้นทุน โดยท่านปลัดกระทรวงสาธารณสุข แนวทางบริหารจัดการ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๒๙ และขับเคลื่อนเครือข่ายศูนย์ต้นทุน กระทรวงสาธารณสุข โดยกลุ่มประกันสุขภาพ การดาเนินการจัดทาต้นทุนบริการ ตามมาตรฐานวิธี Full Cost Method การจัดทาต้นทุนบริการกรณีมีข้อจากัดด้านข้ อมูลโดยวิธี Modified Full Method และการอภิปรายซักถาม โดย วิทยากรจากคณะกรรมการศูนย์ต้นทุนกลางกระทรวงสาธารณสุข 2. การพัฒนาศักยภาพจัดทาต้นทุนบริการในกลุ่มโรงพยาบาลแกนนา เพื่อนาร่อง โดยกาหนดความครอบคลุม โรงพยาบาลศูนย์ทุกโรงพยาบาลจานวน 25 โรงพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไปทุกโรงพยาบาลจานวน 70 โรงพยาบาล และโรงพยาบาลชุมชนจานวน 225 โรงพยาบาล ให้มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้เอกสารคู่มือที่เน้นการปฏิบัติ จริงตามขั้นตอน ซึ่งนาเสนอโดยเจ้าหน้าที่และนักวิชาการที่มีประสบการณ์การจัดทาต้นทุนบริการที่ดาเนินการสาเร็จ มาแล้ว กาหนดเนื้ อหาเป็นขั้นตอนพร้อมปฏิบัติควบคู่ไปด้วย กาหนดเปูาหมายให้สามารถดาเนินการได้แล้วเสร็จตาม นโยบายใน 3 เดือน 3. การพัฒนาศักยภาพศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัด ถือเป็นหัวใจในการพัฒนาระยะยาวเพื่อเป็นส่วนกากับนโยบาย การดาเนินการศูนย์ต้นทุนให้เกิดในโรงพยาบาลทุกโรงพยาบาลของจั งหวัด การพัฒนาศักยภาพศูนย์ต้นทุนจังหวัด จึง เน้นความเข้าใจกระบวนการจัดทาต้นทุนบริการ การกาหนดหน่วยต้นทุน การจัดการข้อมูลและการวางผังบัญชีในระบบ บัญชีต้นทุน การจาแนกค่าใช้จ่ายลงหน่วยต้นทุน และกระบวนการพัฒนาโรงพยาบาลในจังหวัดให้มีการจัดตั้งศูนย์ ต้นทุนโรงพยาบาล การพัฒนาความรู้ ทักษะการดาเนินการ และการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านศูนย์ต้นทุน (Cost Analyst) ตลอดจนการติดตามประเมินผลการดาเนินการของศูนย์ต้นทุนรายโรงพยาบาล โดยการประเมินผล ดาเนินการตามขั้นตอนกระบวนงาน การรวบรวมรายงานผลการศึกษาค่าต้นทุนต่อหน่วยต่างๆ เพื่อรายงานต่อผู้บริหาร ตลอดจนระบบงานตรวจราชการ ส่วนที่สาคัญที่สุดจะต้องนาผลการศึกษามาวิเคราะห์ และนาไปใช้เพื่อการบริหาร จัดการด้านประสิทธิภาพของโรงพยาบาล และเพื่อเป็นหลักแนวทางการจัดสรรค่าใช้จ่ายให้โรงพยาบาล ในกรณีที่มี บทบาทปรับเกลี่ยงบประมาณในจังหวัด ตลอดจนนาเสนอกองทุนต่างๆเพื่อขอรับการจัดสรรที่เป็นธรรม 4. การพัฒนาศูน ย์ต้นทุนระดับ เขต ในช่วงต้นมุ่งหมายให้เป็นศูนย์ให้ คาปรึกษาระดับเขต โดยขอสนับสนุน บุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์การดาเนินการศึกษาต้นทุนบริการในพื้นที่เขตเข้ามาช่วยดาเนินการ เนื่องจากใน ระยะแรก ศักยภาพจังหวัดยังไม่เพียงพอในการดาเนินการ จาเป็นต้องมีศูนย์ให้คาปรึกษาคอยให้คาแนะนา อีกทั้งการ ให้ คาแนะน าหรื อข้อคิดเห็ น เพื่อการดาเนิ น การในภาพรวมกระทรวงสาธารณสุ ข โดยการประสานขับเคลื่ อนการ ดาเนินการซึ่งรับผิดชอบโดยกลุ่มงานประกันสุขภาพ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

การดาเนินการระยะต่อเนื่อง พัฒนาไปสู่ความครอบคลุมในทุกโรงพยาบาลในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยอาศัยกลไกเชิง นโยบายและการตรวจราชการ ศูนย์ระดับจังหวัดต้องปรับศักยภาพให้มีความพร้อมดาเนินการด้วยตัวเองอย่างสมบูรณ์ โรงพยาบาลทุกโรงพยาบาลสามารถดาเนินการศูนย์ ต้นทุนได้อย่างครอบคลุม ศูนย์ต้นทุนระดับเขต ยังคงมีบทบาทใน การพัฒ นาเชื่อมโยงกับส่ ว นกลางด้ว ยการประเมินปัญหา และแนวทางแก้ไข พร้อมกับกาหนดรูปแบบการพัฒ นา ต่อเนื่องในระยะยาว ทั้งนี้จะเป็นระยะเวลาในการจัดเตรียมผังบัญชีและซอฟแวร์ที่เป็นบัญชีต้นทุนอย่างสมบูรณ์ ควบคู่ กับบัญชีเกณฑ์คงค้าง

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๓๐ การดาเนินการระยะยาว ให้ความสาคัญเรื่องมาตรฐานข้อมูลและการจัดเก็บ การพัฒนาไปสู่การจัดทาศูนย์ต้นทุนที่มีรายละเอียดสมบูรณ์ ทั้งในระดับหน่วยต้นทุน จนไปถึงต้นทุนรายกิจกรรม โดยบัญชีจะได้รับการพัฒนาเป็นบัญชีเพื่อการจัดทาต้นทุนบริการ อย่างสมบูรณ์ โรงพยาบาลต่างๆ สามารถจัดทาต้นทุนได้ด้วยตัวเอง มีการตรวจรับรองกระบวนการจัดทาต้นทุนบริการ (Unit Cost Audit) ในลักษณะเดียวกับกระบวนการตรวจรับรองบัญชี (Account Audit) ในภาพรวมจะเห็นว่าเป็นการ พัฒนาผ่านระบบบัญชีที่ได้ดาเนินการมาจนมีคุณภาพในระดับหนึ่งมาเกือบ 10 แล้ว การสร้างขวัญและกาลังใจ เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ด้านการจัดทาต้นทุนบริการเป็นภาระงานที่เพิ่มขึ้นจากงานประจาเดิม ที่ทาอยู่ แต่ภายใต้ระบบการจัดสรรงบประมาณแบบกองทุนปลายปิดของกองทุนหลักของประเทศเป็นเรื่องที่หลายฝุาย เห็นพ้องต้องกันว่า จะต้องดาเนินการให้มีต้นทุนบริการขึ้น เพื่อรองรับการขอรับงบค่ารักษาพยาบาลที่เหมาะสมเป็น ธรรม แก้ปัญหาความเสี่ยงทางการเงินที่ยั่งยืน และลดข้อกล่าวหาในเรื่องการประสบปัญหาทางการเงินจากการขาด ประสิทธิภาพทางการบริหารจัดการโรงพยาบาล โดยการนาต้นทุนมาเป็นเครื่องมือพัฒนาประสิทธิภาพอย่างจริงจัง นอกจากการติดตามกากับให้การดาเนินการเป็นไปตามนโยบายแล้ว การให้กาลังใจโดยผู้บริหารและคณะผู้ ดาเนินงานในระดับต่างๆ ก็นับว่ามีความสาคัญอย่างยิ่ง ที่จะทาให้การพัฒนาศูนย์ต้นทุนประสบความสาเร็จ จึงควร พิจารณาการตอบแทนในระดับต่างๆตามความเหมาะสม ทั้งนี้ส่วนกลางเองก็มีบทบาทดูแลในส่วนนี้ ได้แก่ การพัฒนา ด้านความรู้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์เพื่อสั่งสมศักยภาพในเจ้าหน้าที่ และการพิจารณาประเมินรางวัลตอบแทนไป พร้อมๆกับการพัฒนาระบบบัญชีที่มีคุณภาพซึ่งดาเนินมาก่อนแล้ว แนวทางการประเมินการบริหารการจัดทาต้นทุนบริการ ผู้ทาหน้าที่ตรวจราชการระดับเขตตามระบบตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ควรมีบทบาทหน้าที่เป็น ผู้เกี่ยวข้องกับบริหารการเงินการคลัง ซึ่งคัดเลือกจากผู้ที่มีความรู้และเข้าใจการจัดทาต้นทุนบริการที่เป็นวิทยากรระดับ กระทรวง หรือผ่านอบรมจากหลักสูตรต้นทุนที่กระทรวงสาธารณสุขดาเนินการไปแล้ว เมื่อได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ตรวจ ราชการในหัวข้อ 2.3 นี้ มีแนวทางการประเมินการบริหารจัดการศูนย์ต้นทุนระดับจังหวัดดังนี้ ระดับความสาเร็จ 1 ระดับความสาเร็จ 2

ระดับความสาเร็จ 3 ระดับความสาเร็จ 4 ระดับความสาเร็จ 5

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๓๑ มีการประกาศ นโยบายการบริหาร จัดการต้นทุนบริการ และจัดตั้งศูนย์ต้นทุน ระดับจังหวัดโดยมี รายชื่อกรรมการศูนย์ ต้นทุนโดยอาจ ดาเนินการรวมกับ กรรมการบริหาร การเงินการคลังก็ได้ ทั้งนี้ต้องกาหนด บทบาทภารกิจการ ขับเคลื่อนการจัดทา ต้นทุนในหน่วย บริการที่ชัดเจนใน คาสั่งแต่งตั้ง

มีการประชุมกาหนด ประเด็นดาเนินการ ตามนโยบายเพื่อ ขับเคลื่อนการจัดตั้ง ศูนย์ต้นทุนในหน่วย บริการทุกหน่วย โดยมี รายชื่อกรรมการศูนย์ ต้นทุนในทุกสถาน บริการซึ่งอาจตั้งรวม กรรมการบริหาร การเงินการคลังซึ่งมี การกาหนดบทบาท หน้าที่จัดทาต้นทุนที่ ชัดเจนในคาสั่งแต่งตั้ง

มีแผนงานโครงการ ในการดาเนินการ พัฒนาการจัดทา ต้นทุนในหน่วย บริการกาหนดการ ดาเนินการอย่าง ชัดเจน รวมถึงการ กากับ ติดตามและ สนับสนุนการพัฒนา บุคลากรและการ จัดการโปรแกรม ปฏิบัติการต้นทุน บริการสุขภาพ แห่งชาติ การจัดเก็บ ข้อมูล การจัดการ ข้อมูลเพื่อจัดทา ต้นทุน ให้เป็นไปตาม นโยบายโดยเร่งรัด

มีผลสาเร็จการจัดทา ต้นทุนในโรงพยาบาล ตามแบบ Modified full cost อย่างน้อย 1 แห่งในจังหวัดโดย มีรายงานการ นาเสนอระดับจังหวัด และมีการนาต้นทุน บริการOPD และ IPD ตามแบบ Quick Method ของทุก โรงพยาบาลเป็น เครื่องมือการพัฒนา ประสิทธิภาพการ บริหารการเงินการ คลังโดยปรากฏผล เป็นรายงานในที่ ประชุมระดับจังหวัด

มีผลสาเร็จการจัดทา ต้นทุนในหน่วยบริการ ตามแบบ Modified full cost ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 ของ โรงพยาบาลในจังหวัด โดยมีรายงานการ นาเสนอระดับจังหวัด มีการนารายการ ต้นทุนทั้งแบบใหม่และ แบบ Quick Method ของทุกโรงพยาบาล เป็นเครื่องมือการ พัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการ คลังโดยปรากฏผลเป็น รายงานในที่ประชุม ระดับจังหวัด

การสนับสนุนจากส่วนกลาง 1. การอบรมบุคลากรผู้เกี่ยวข้องกับการจัดทาต้นทุนระดับจังหวัด และโรงพยาบาล โดยใช้โปรแกรมปฏิบัติการ ต้นทุนบริการสุขภาพแห่งชาติ 2. โปรแกรมปฏิบัติการต้นทุนบริการสุขภาพแห่งชาติ 3. คู่มือการจัดทาต้นทุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข 4. การอบรมผู้บริหารการเงินการคลัง ในประเด็นการประยุกต์ใช้ต้นทุนบริการเพื่อบริหารการเงินการคลังใน จังหวัด 5. ข้อมูลต้นทุนบริการ OPD IPD แบบ Quick method จากรายงานการเงินเรื่องดัชนีการเงินหน่วยบริการ ประจาปี 2554 ทั้งนี้ขึ้นกับความสมบูรณ์ของข้อมูลรายโรงพยาบาลที่รายงานเข้ามา ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์บัญชา ค้าของ กลุ่มประกันสุขภาพ คุณอมรรัตน์ พีระพล กลุ่มงานการเงินการคลัง กลุ่มประกันสุขภาพ

การแปลผลวิเคราะห์ในหัวข้อ 2.3 : ประสิทธิภาพการบริการด้านการรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๓๒ 1) ค่า CMI แสดงถึง ประสิทธิภาพในการดาเนินงานรักษาพยาบาลผู้ปุวยใน ค่าดังกล่าวของโรงพยาบาลแต่ละแห่ง ไม่ควร น้อยกว่าค่าพิสัยดังกล่าว (กาหนดโดยใช้ค่า Mean+1SD ของข้อมูลในปีงบประมาณ 2552) ถ้าน้อยกว่าค่าพิสัย อาจ แสดงถึง การให้บริการผู้ปุวยที่ไม่เหมาะสม เช่น เป็นผู้ปุวยที่ไม่ควรนอนโรงพยาบาล เนื่องจากรักษาแบบผู้ปุวยนอกได้ ถ้าโรงพยาบาลใดมีค่าสูงกว่าค่าพิสัยดังกล่าว น่าจะมีการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีการคัดเลือกผู้ปุวยที่ เหมาะสม ถ้าอัตราการตายและอัตราเกิดภาวะแทรกซ้อนไม่สูงมากกว่าปกติ 2) ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ควรจะมีแนวโน้มลดลงหรืออย่างน้อยไม่เพิ่มขึ้น 3) อัตราส่วนการใช้บริการผู้ปุวยนอกที่หน่วยบริการปฐมภูมิ กับที่โรงพยาบาลแม่ข่าย ถ้ามีค่ายิ่งสูง ก็ยิ่งดี เนื่องจาก มีการ ใช้บริการที่หน่วยบริการใกล้บ้าน หรือ มีการใช้บริการส่งเสริมสุขภาพ/ปูองกันโรค มากกว่า การรักษาพยาบาล 4) สาหรับตัวชี้วัดการส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรค ใช้ค่าความครอบคลุมประชากรของประเภทบริการตาม กลุ่มเปูาหมาย มีค่าสูงสุด ร้อยละ 100 (ทุกคนได้รับบริการ) มีค่ายิ่งสูงยิ่งดี

2.ข้อมูลประกอบเพิ่มเติมในการตรวจราชการฯ เรื่องประสิทธิภาพการบริการด้านการส่งเสริมป้องกัน จากการที่คณะที่ 2 ได้กาหนดประเด็นการตรวจราชการในเรื่องประสิทธิภาพการบริการด้านส่งเสริม สุขภาพและปูองกันโรค โดยให้จังหวัดมีการกากับติดตามและประเมินความครอบคลุมการให้บริการพื้นฐานด้านส่งเสริม สุขภาพและปูองกันโรคตามบัญชีรายการบริการขั้นพื้นฐาน (Basic PP service) ดังนั้น สานักตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ร่วมกับ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ (สนย.) และกรมวิชาการที่เกี่ยวข้อง จัดทาร่าง บัญชีรายการบริการ ขั้นพื้นฐานที่จาเป็นด้านส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรค โดยมี

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นกรอบรายการให้สถานบริการสุขภาพ จัดบริการขั้นพื้นฐานที่จาเป็นด้านส่งเสริมสุขภาพและ ปูองกันโรค แก่ประชากรตามกลุ่มอายุในพื้นที่รับผิดชอบ ให้ครอบคลุมทุกคน 2. เพื่อให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ถือเป็นภารกิจ (Core business) ของจังหวัด ในการดาเนินงานให้ เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๓๓ บรรลุผลสาเร็จในเชิงความครอบคลุมประชากรภายในจังหวัด 3. เพื่อให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถกากับติดตามการจัดบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและปูองกัน โรค ของสถานบริการสุขภาพ และประเมินผลความครอบคลุมการจัดบริการดังกล่าวในภาพรวมขอ จังหวัด ได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อสนับสนุนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับเขต ศูนย์วิชาการระดับเขต และการจัดทาฐานข้อมูล สุขภาพระดับประเทศ งานบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและปูองกันโรค

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 วันที่ 26-27 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพมหานคร

๓๔

(ร่าง) บัญชีรายการบริการขั้นพื้นฐานที่จาเป็นด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัย หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็กแรกเกิด –