kna1

1 กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี ๒๕๕๕ คณะที่ ๑ : การติดตามนโยบายและปั...

0 downloads 4 Views 659KB Size
1

กรอบประเด็นการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจาปี ๒๕๕๕ คณะที่ ๑ : การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข หัวข้อ

ประเด็นการตรวจราชการ

1.1 การพัฒนา 1.1.1 การบริหารจัดการ หน่วยบริการปฐม ระบบปฐมภูมิทั้งเขตเมือง ภูมิในเขตเมืองและ และชนบท ชนบท

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ ๑. มีกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากร ทั้งหมดอย่างมีภาวะการนาองค์กรที่ดี (Leadership) ๒. มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รพ.สต./ศสม. ๓. มีการกระจายบุคลากรที่เหมาะสมลงในรพ. สต./ศสม. (๑:๑,๒๕๐) ๔. มีการจัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคขั้นพื้นฐาน ตามบัญชีรายการบริการขั้นพื้นฐาน (Basic Service) ๕. มีการประเมินการเข้าถึงบริการทั้งเชิงรับ/รุก ๖. มีการเชื่อมโยงระหว่างรพ.สต./ศสม. กับ รพ. แม่ข่ายได้ ๗. มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการ ดาเนินงาน ๘. มีการพัฒนาของ รพ.สต.แต่ละตาบลหรือ ระหว่างตาบลแบบเครือข่าย โดยเรียนรู้จาก ปัญหาจริงตามบริบท (Context Base Learning

ผลสาเร็จ หรือค่าตัวเลขที่ใช้ในการ ติดตาม ๑. ร้อยละ ๖๐ ของหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตเมือง (ศูนย์สุขภาพชุมชน เมือง) และ เขตชนบทผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ๖ ข้อ ตาม นโยบายการพัฒนา

แนวทางการสนับสนุนจาก ส่วนกลาง - การนิเทศจากกรม สานัก ต่างๆ - วิชาการจากวิทยากร ส่วนกลาง หน่วยงานที่รับผิดชอบ - สน.ประสานการพัฒนา รพ. สต. - สบรส. สป. - กรมวิชาการทุกกรม

2

หัวข้อ

ประเด็นการตรวจราชการ

1.2 สร้างสุขภาพ 1.2.1 กระบวนการสร้าง เพื่อลดผลกระทบ สุขภาพระดับตาบลที่มี จากโรคไม่ติดต่อ ส่วนร่วมทุกภาคส่วน เรื้อรัง(สุขภาพดีวิถี ชีวิตไทย)

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ

ผลสาเร็จ หรือค่าตัวเลขที่ใช้ในการ ติดตาม ๑.) จังหวัดมีการบูรณาการโครงการต่างๆ ภายใต้ ๒. รพ.สต.ขนาดใหญ่ (๑,๐๐๐ แห่ง ใน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยครอบคลุม ชุมชน และ ๒๑๕ แห่ง ในเขตเมือง) ผ่าน การดาเนินงานทั้งในกลุ่มสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยง เกณฑ์ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย และกลุ่มป่วย ตามมาตรฐานที่กาหนดอย่างน้อยร้อยละ ๒.) มีผู้รับผิดชอบในระดับอาเภอ (Case/Care 10 อยู่ในระดับดีมากขึ้นไป Manager) CUP ทั้งอาเภอ/จังหวัดในรูป กรรมการ ๓.) มีมาตรการ Lifestyle Modification ที่ดีต่อ โรคสาคัญทั้ง ๕ โรค (DM, HT, หลอดเลือด หัวใจ, หลอดเลือดสมอง, มะเร็งปากมดลูก) ๔.) มีมาตรการ Non Drug Therapy ในชุมชน เช่น ออกกาลังกาย งดบุหรี่ เลิกเหล้า และ ส่งเสริมสุขภาพจิตทั้งในผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง ในชุมชน ๕.) มีกระบวนการพัฒนาที่มีส่วนร่วมจากทุก ภาคส่วนทั้ง อปท.และประชาคม ในการ กาหนดกิจกรรมและแผนการสร้างสุขภาพเพื่อ การพึ่งพาตนเองในที่สุด 6.) มีการเรียนรู้ ถ่ายทอดจากชุมชนสู่ชุมชนและ มีหมู่บ้านต้นแบบด้านต่างๆ ๗ ) มีระบบประกันคุณภาพทางห้องปฎิบัติการใน การทดสอบที่ได้ดาเนินการใน รพ.สต

แนวทางการสนับสนุนจาก ส่วนกลาง - National M&E - ทา KM โดยกรมที่เกี่ยวข้อง หาต้นแบบที่เป็น Model Development ดีๆ หน่วยงานที่รับผิดชอบ -กรม สบส. -กรมอนามัย -กรมควบคุมโรค -สานักยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถี ชีวิตไทย - กรมวิทย์ฯ

3

หัวข้อ

ประเด็นการตรวจราชการ

การตรวจราชการเชิงกระบวนการ

1.2 สร้างสุขภาพ เพื่อลดผลกระทบ จากโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง (สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย) (ต่อ)

1.2.๒ การป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อรัง และการ พัฒนาระบบบริการและ การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ สาคัญ ๕ กลุ่มโรคคือ ๑) DM ๒) HT ๓) หลอดเลือดหัวใจ ๔) หลอดเลือดสมอง ๕) มะเร็งปากมดลูก - DM & HT

๑. มีการจัดตั้งคณะกรรมการควบคุมป้องกันโรค ไม่ติดต่อระดับจังหวัดและมี Case Management ระดับอาเภอ ๒. มีการดาเนินการกิจกรรมดังนี้ - มีการคัดกรอง DM & HT รายใหม่ในประชากร อายุ 35 ปี ขึ้นไป - รณรงค์ 3 อ 2 ส (ออกกาลัง อาหาร อารมณ์ สุราและยาสูบ) - มีการให้คาปรึกษา และติดตามผล ประชาชน กลุ่ม Pre-DM และ Pre-HT - ผู้ป่วย DM & HT สามารถควบคุมน้าตาลและ ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม - มีการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย DM & HT และดูแลได้อย่างเหมาะสมครบวงจร - มีการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม - มีระบบข้อมูลผู้ป่วยDM & HT ระดับ จังหวัด

ผลสาเร็จ หรือค่าตัวเลขที่ใช้ในการ ติดตาม ๓. อย่างน้อยควรจะบรรลุผลสาเร็จ ดังนี้ - ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการ คัดกรองสุขภาพ DM&HT ร้อยละ ๙๐ - ประชาชน Pre DM, Pre HTป่วยเป็น โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ไม่ เกินร้อยละ ๕ - ผู้ป่วยเบาหวานมีระดับค่าน้าตาลอยู่ใน เกณฑ์ที่ควบคุมได้(ระดับHbA๑Cครั้ง สุดท้ายน้อยกว่าร้อยละ ๗ หรือ FBS >70- < ๑๓๐ มก./ดล. ๓ ครั้ง ติดต่อกัน) เพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ ๓ เมื่อเทียบกับข้อมูลของจังหวัดในปี 2554 - ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับ ความดันโลหิตได้ตามเป้าหมาย (ผู้ป่วย ทั่วไป BP๑๒ >๑๕ ๑๔. ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ๑๔.๑ หน่วยงาน: กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ผู้อานวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน โทร. ๐-๒๕๙๐-๑๕๓๒, ๐-๒๕๙๐-๑๕๔๓ มือถือ: ๐๘๙-๙๖๗๔๒๗๙ นางสาวสุธาทิพย์ จันทรักษ์ ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ โทร ๐-๒๕๙๐-๑๕๔๓ มือถือ ๐๘๑-๙๒๗๖๗๗๘ นางอมรศรี ยอดคา ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ โทร ๐-๒๕๙๐-๑๕๔๓ มือถือ ๐๘๙-๗๙๓๑๑๑๗ ๑๔.๒ หน่วยงาน: สานักโภชนาการ กรมอนามัย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ ผู้อานวยการสานักโภชนาการ เบอร์โทรศัพท์ ๐-๒๕๙๐-๔๓๒๘ ดร.วณิชา กิจวรพัฒน์ นักโภชนาการ ชานาญการพิเศษ เบอร์โทรศัพท์ ๐-๒๕๙๐-๔๓๒๗ มือถือ ๐๘๓-๕๔๑๘๑๑๘ e-mail: [email protected] ๑๔.๓ หน่วยงาน: สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ดร.นพ.ภาณุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อานวยการสานักโรคไม่ติดต่อ โทร ๐-๒๕๙๐-๓๙๘๑ พญ.จุรีพร คงประเสริฐ นายแพทย์ เชี่ยวชาญ

15

โทร ๐-๒๕๙๐-๓๙๘๕ มือถือ ๐๘๑-๓๔๑๕๔๐๘ e-mail: [email protected] ๑๔.๔ หน่วยงาน: สานักงานบริหารยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย นางสาวสุมาภรณ์ แซ่ลิ่ม ตาแหน่ง : นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการพิเศษ โทร. ๐๒-๕๙๑-๑๓๘๓ มือถือ : ๐๘๓-๕๔๙๓๗๙๑ e-mail: [email protected] นางสาวนิพา ศรีช้าง ตาแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุข ชานาญการ โทร. ๐๒-๕๙๐ ๓๙๖๗ มือถือ: ๐๘๑-๓๖๓๘๘๑๐ e-mail: [email protected]

16

(เอกสารแนบท้ายเพิ่มเติม) หัวข้อ ๑.๒ สร้างสุขภาพเพือ่ ลดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรือ้ รัง (สุขภาพดีวิธีชีวิตไทย) รายละเอียดตัวชี้วัด(KPI template) ของรหัสตัวชี้วัด........๑๐ ๑. คณะที่ ๑ ๒. ภารกิจที่ ๑ ๓. ประเด็นหลักที่ ๑ ๔. หัวข้อที่ ๑.๒ ๕. ยุทธศาสตร์ กระทรวง ๖.ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง ๗.รหัสตัวชี้วัด ๘.ชื่อตัวชี้วัด ๙. เกณฑ์ ๑๐. ผลงาน ๑๐.๑ รายการ ข้อมูล ๑๐.๒ นิยาม

การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน การตรวจติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน มาตรการการสร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง : ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และมะเร็ง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต เสริมสร้างระบบสุขภาพให้มีคุณภาพและมาตรฐานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดลดลง ร้อยละ ๑ ร้อยละ อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดในปี ๒๕๕๕ ต่อแสนประชากร

อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือด หมายถึงจานวนผู้ที่ถึงแก่ความตายและได้รับการวินิจฉัยว่า ตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดหรือโรคที่อยู่ในรหัส I ๒๐-๒๕ (ICD๑๐) คูณด้วย ๑๐๐,๐๐๐ หารด้วยประชากรกลางปี ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ๑๐.๓ วิธีรายงาน รายงานเป็นรายไตรมาส ๑๐.๔ แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้รายงาน ๑๑. กลุ่มเป้าหมาย ๑๑.๑ รายการ อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดในปี ๒๕๕๔ ต่อแสนประชากร ข้อมูล ๑๑.๒ นิยาม อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือด หมายถึงจานวนผู้ที่ถึงแก่ความตายและได้รับการวินิจฉัยว่า ตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดหรือโรคที่อยู่ในรหัส I ๒๐-๒๕ (ICD๑๐) คูณด้วย ๑๐๐,๐๐๐ หารด้วยประชากรกลางปี ณ ช่วงเวลาเดียวกัน

17

๑๑.๓ วิธีรายงาน ประชากรกลางปี 2555 ๑๑.๔ แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ๑๒. การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคานวณ) รหัส = อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดในปี ๒๕๕๕– อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดในปี ๒๕๕๔ X ๑๐๐ อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดในปี ๒๕๕๔ ๑๓. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ร้อยละ ๐.๕ >๑ >๑.๕ >๒ ๑๔. ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ๑๔.๑ หน่วยงาน: สานักงานบริหารยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย นางสาวสุมาภรณ์ แซ่ลิ่ม ตาแหน่ง :นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการพิเศษ โทร. ๐๒-๕๙๑๑๓๘๓ มือถือ : ๐๘๓-๕๔๙๓๗๙๑ e-mail: [email protected]

18

รายละเอียดตัวชี้วัด(KPI template) ของรหัสตัวชี้วัด ๓.๑ ๑. คณะที่ ๑ ๒. ภารกิจที่ ๑ ๓. ประเด็นหลักที่ ๑ ๔. หัวข้อที่ ๑.๒ ๕. ยุทธศาสตร์กระทรวง ๖.ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง ๗.รหัสตัวชี้วัด ๘.ชื่อตัวชี้วัด

การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน การตรวจติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน สร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถชี ีวิตไทย) การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต

๙. เกณฑ์ ๑๐. ผลงาน ๑๐.๑ รายการข้อมูล

ร้อยละ ๙๐

๑๐.๒ นิยาม

๑๐.๓ วิธีรายงาน ๑๐.๔ แหล่งข้อมูล ๑๑. กลุ่มเป้าหมาย ๑๑.๑ รายการข้อมูล

เสริมสร้างระบบสุขภาพให้มคี ุณภาพและมาตรฐานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ เบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙๐

ความดันโลหิต A = จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นความดันโลหิตสูง ได้รบั การคัดกรอง โดยการ วัดความดันโลหิต ทั้งหมด เบาหวาน A = จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นเบาหวาน ได้รับการคัดกรองเบาหวานด้วย วาจา และตรวจน้าตาลในเลือด ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หมายถึง ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ตัวว่าเป็นความดันโลหิตสูง และ/หรือเบาหวาน ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน พร้อมแจ้งผลโอกาสเสีย่ ง และแนวทางการปฏิบัติตนตามสถานะความเสี่ยง รายงานเป็นรายไตรมาส ตามระบบ E – Inspection สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้รายงานผ่านระบบ E – Inspection ความดันโลหิต B = จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นความดันโลหิตสูงทั้งหมด เบาหวาน B = จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ไม่รู้ว่าเป็นเบาหวาน ทั้งหมด

๑๑.๒ นิยาม ๑๑.๓ วิธีรายงาน รายงานเป็นรายไตรมาส ตามระบบ E – Inspection ๑๑.๔ แหล่งข้อมูล สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้รายงานผ่านระบบ E – Inspection ๑๒. การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคานวณ) รหัส = A X ๑๐๐ B

19

๑๓. ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ๑๓.๑ หน่วยงาน: สานักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย นางสาวนิพา ศรีช้าง ตาแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุข ชานาญการ โทร. มือถือ : ๐๘๑-๓๖๓๘๘๑๐ e-mail: [email protected]

20

รายละเอียดตัวชี้วัด(KPI template) ของรหัสตัวชี้วัด ๓.๒ ๑. คณะที่ ๑ ๒. ภารกิจที่ ๑ ๓. ประเด็นหลักที่ ๑ ๔. หัวข้อที่ ๑.๒ ๕. ยุทธศาสตร์กระทรวง ๖.ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง ๗.รหัสตัวชี้วัด ๘.ชื่อตัวชี้วัด

๙. เกณฑ์ ๑๐. ผลงาน ๑๐.๑ รายการข้อมูล

๑๐.๒ นิยาม

๑๐.๓ วิธีรายงาน

การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน การตรวจติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน สร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถชี ีวิตไทย) การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต เสริมสร้างระบบสุขภาพให้มคี ุณภาพและมาตรฐานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี -ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน (Pre-diabetes) ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ ๕ -ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) ป่วยเป็นโรคความดันโลหิต สูง ไม่เกินร้อยละ ๕ ไม่เกินร้อยละ ๕ ภาวะเบาหวาน A=จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน (pre-diabetes, FPG or FCG = ๑๐๐-๑๒๕ mg/dl) ในปี ๒๕๕๔ และได้รับการตรวจเลือดในปี ๒๕๕๕ แล้วพบว่าป่วยหรือ สงสัยเป็นโรคเบาหวาน (DM, FPG/FCG ≥๑๒๖ มก./ดล.) ทั้งหมด โรคความดันโลหิตสูง A = จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่มภี าวะเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง(Pre-hypertension) ในปี ๒๕๕๔ และได้รับการตรวจติดตามในปี ๒๕๕๕ แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง -ภาวะ Pre-diabetes หมายถึง ผู้ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน และตรวจเลือด (Fasting plasma glucose (FPG) หรือ Fasting capillary blood glucose (FCG)) แล้วพบว่ามีระดับน้าตาลในเลือด ๑๐๐-๑๒๕ มก./ดล. -ภาวะเบาหวาน (DM) หมายถึง ผูท้ ี่ได้รับการคัดกรองเบาหวานและตรวจเลือด (FPG หรือ FCG) แล้ว พบว่ามีระดับน้าตาลในเลือด มากกว่าหรือเท่ากับ ๑๒๖ มก./ดล. -ประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปีขนึ้ ไป ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานและตรวจเลือด หมายถึง ประชาชนไทย อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ตัวว่าป่วยเป็นเบาหวาน ได้รับการคัดกรองเบาหวานและการตรวจเลือด ทั้งหมด -ภาวะ Pre-hypertension หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวัดความดันโลหิตตามมาตรฐาน แล้วพบว่ามีระดับ ความดันโลหิต systolic >๑๒๐ - ๘๐ - ๑๔๐มม.ปรอทหรือ diastolic >๙๐ มม.ปรอท -ประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ได้รับการวัดความดันโลหิตตามมาตรฐาน หมายถึง ประชาชนไทย อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ไม่รู้ตัวว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตตามมาตรฐาน ทั้งหมด รายงานเป็นรายไตรมาส ตามระบบ E – Inspection

21

๑๐.๔ แหล่งข้อมูล ๑๑. กลุ่มเป้าหมาย ๑๑.๑ รายการข้อมูล

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้รายงานผ่านระบบ E – Inspection ภาวะเบาหวาน B = จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองโดยการตรวจเลือด แล้วพบว่ามีภาวะ เสี่ยงสูงต่อเบาหวาน (pre-diabetes, FPG or FCG =๑๐๐-๑๒๕ มก./ดล.) ปี ๒๕๕๔ ทั้งหมด โรคความดันโลหิตสูง B = จานวนประชาชนไทยอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่ได้รับการวัดความดันโลหิต แล้ว พบว่ามีภาวะเสีย่ งสูง ต่อความดันโลหิตสูง (pre-hypertension) ในปี ๒๕๕๔ ทั้งหมด

๑๑.๒ นิยาม ๑๑.๓ วิธีรายงาน รายงานเป็นรายไตรมาส ตามระบบ E – Inspection ๑๑.๔ แหล่งข้อมูล สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้รายงานผ่านระบบ E – Inspection ๑๒. การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคานวณ) รหัส = A X ๑๐๐ B ๑๓. ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ๑๓.๑ หน่วยงาน: สานักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย นางสาวนิพา ศรีช้าง ตาแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุข ชานาญการ โทร. มือถือ : ๐๘๑-๓๖๓๘๘๑๐ e-mail: [email protected]

22

รายละเอียดตัวชี้วัด(KPI template) ของรหัสตัวชี้วัด ๓.๓ ๑. คณะที่ ๑ ๒. ภารกิจที่ ๑ ๓. ประเด็นหลักที่ ๑ ๔. หัวข้อที่ ๑.๒ ๕. ยุทธศาสตร์กระทรวง ๖.ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง ๗.รหัสตัวชี้วัด ๘.ชื่อตัวชี้วัด

๙. เกณฑ์ ๑๐. ผลงาน ๑๐.๑ รายการข้อมูล ๑๐.๒ นิยาม

การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน การตรวจติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน สร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถชี ีวิตไทย) การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต เสริมสร้างระบบสุขภาพให้มคี ุณภาพและมาตรฐานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับค่าน้าตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (ระดับHbA1C ครั้งสุดท้าย น้อย กว่าร้อยละ ๗ หรือระดับ Fasting blood sugar > ๗๐ – < ๑๓๐ mg/dl ๓ ครั้งสุดท้าย ติดต่อกัน) เพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ ๓ เมื่อเทียบกับข้อมูลของจังหวัดในปี ๒๕๕๔ ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับค่าน้าตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ ๑.ระดับค่าน้าตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ หมายถึง ๑.๑ ค่าระดับ HbA1C ครั้งสุดท้าย น้อยกว่าร้อยละ ๗ หรือ ๑.๒ ค่าระดับ Fasting blood sugar ๓ ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน > ๗๐ – < ๑๓๐ mg/dl โดยเป็นค่าระดับค่าน้าตาลของผู้ปว่ ยเบาหวานที่มารับการตรวจติดตามในคลินิกเบาหวานตามนัด ๒. ผลงานเพิ่มขึน้ มากกว่าร้อยละ ๓ หมายถึง มีผลการดาเนินงานเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๓ ในปี ๒๕๕๕ เมื่อเทียบกับผลการดาเนินงานปี ๒๕๕๔ เช่น จากที่เคยทาได้ ร้อยละ ๓๐ ในปี ๒๕๕๔ เป็น ร้อยละ ๓๓ ในปี ๒๕๕๕ ถือว่าผ่านเกณฑ์ รายงานเป็นรายไตรมาส ตามระบบ E – Inspection สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้รายงานผ่านระบบ E – Inspection

๑๐.๓ วิธีรายงาน ๑๐.๔ แหล่งข้อมูล ๑๑. กลุ่มเป้าหมาย ๑๑.๑ รายการข้อมูล ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจติดตามที่คลินิกเบาหวาน ๑๑.๒ นิยาม ๑๑.๓ วิธีรายงาน รายงานเป็นรายไตรมาส ตามระบบ E – Inspection ๑๑.๔ แหล่งข้อมูล สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้รายงานผ่านระบบ E – Inspection ๑๒. การประมวลผลตัวชี้วัด(สูตรการคานวณ) รหัส = A - B A = ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานทีม่ ีระดับค่าน้าตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ ในปี ๒๕๕๕ = ผู้ป่วยเบาหวานที่มรี ะดับค่าน้าตาลในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ ในปี ๒๕๕๕ X ๑๐๐ ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจติดตามที่คลินิกเบาหวาน B = ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานทีม่ ีระดับค่าน้าตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ ในปี ๒๕๕๔ = ผู้ป่วยเบาหวานที่มรี ะดับค่าน้าตาลในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ในปี ๒๕๕๔ X ๑๐๐ ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจติดตามที่คลินิกเบาหวาน

23

๑๓. ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ๑๓.๑ หน่วยงาน: สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ นายแพทย์สมเกียรติ โพธิสัตย์ ตาแหน่ง : นายแพทย์ ทรงคุณวุฒิ โทร. - มือถือ : ๐๘๑-๙๑๖๙๕๒๐ e-mail: [email protected] ๑๓.๒ หน่วยงาน: สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ แพทย์หญิงเนติมา คูนยี ์ ตาแหน่ง : นายแพทย์ ปฏิบัติการ โทร. - มือถือ : ๐๘๗-๓๕๒๒๓๔๖ e-mail: [email protected]

24

รายละเอียดตัวชี้วัด(KPI template) ของรหัสตัวชี้วัด ๓.๔ ๑. คณะที่ ๑ ๒. ภารกิจที่ ๑ ๓. ประเด็นหลักที่ ๑ ๔. หัวข้อที่ ๑.๒ ๕. ยุทธศาสตร์กระทรวง ๖.ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง ๗.รหัสตัวชี้วัด ๘.ชื่อตัวชี้วัด

๙. เกณฑ์ ๑๐. ผลงาน ๑๐.๑ รายการข้อมูล ๑๐.๒ นิยาม

๑๐.๓ วิธีรายงาน ๑๐.๔ แหล่งข้อมูล ๑๑. กลุ่มเป้าหมาย ๑๑.๑ รายการข้อมูล

การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน การตรวจติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข การดาเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน สร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถชี ีวิตไทย) การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต เสริมสร้างระบบสุขภาพให้มคี ุณภาพและมาตรฐานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเป้าหมาย (ในผู้ป่วยทั่วไป BP