White Paper 2 20171024153312

บทที่ 2 SMEs การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) บทที่ 2 การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and I...

0 downloads 120 Views 3MB Size
บทที่ 2

SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs)

บทที่ 2 การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) 2.1 สถานการณการสงออกและนำเขาของ SMEs ป 2550 ในป 2550 มูลคาการคาระหวางประเทศมีจำนวนรวมทัง้ สิน้ 10,126,995.0 ลานบาท โดยเปนมูลคาการสงออกรวม 5,254,999.3 ลานบาท มูลคาการนำเขารวม 4,871,995.7 ลานบาท โดยประเทศไทยไดเปรียบดุลการคาถึง 383,003.6 ลานบาท ซึ่งมากกวาการได เปรียบดุลการคาในป 2549 สำหรับ SMEs ในป 2550 มีมูลคาการคาระหวางประเทศรวม 3,036,484.9 ล า นบาท โดยเป น มู ล ค า การส ง ออกของ SMEs จำนวน 1,583,310.1 ล า นบาท และเปนมูลคาการนำเขาของ SMEs รวม 1,453,174.9 ลานบาท ทั้งนี้การสงออกของ SMEs มีอัตราการขยายตัวถึงรอยละ 10.1 ในขณะที่การนำเขาหดตัวลงกวาปกอนหนาถึง รอยละ 8.8 หากพิจารณาในดานสกุลเงินดอลลาร สรอ. ที่มีอัตราแลกเปลี่ยนผันผวนตลอด 1 - 2 ปที่ผานมา พบวา มูลคาการสงออกและการนำเขาในรูปของเงินดอลลาร สรอ. จะสูงการคำนวณในรูปของคาเงินบาท กลาวคือ อัตราการขยายตัวในภาคการสงออกของ ไทยในรูปของเงินดอลลาร สรอ. สูงขึ้นจากปกอนถึงรอยละ 16.6 และภาคการนำเขาสูงขึ้น รอยละ 9.9 ทั้งนี้ภาคการสงออกของ SMEs มีการขยายตัวถึงรอยละ 20.9 ในขณะที่ ภาคการนำเขาของ SMEs ขยายตัวเพียงรอยละ 0.2 จากผลดังกลาว แสดงใหเห็นวา SMEs ไทยมีศักยภาพในการแขงขันในตลาดโลกเพิ่มมากขึ้น

SMEs 2 - 1

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 2.1

มูลคาการคาระหวางประเทศ ป 2548 - 2550 2548

2549

2550

SMEs EXPORT (ลานบาท) SMEs IMPORT (ลานบาท) SMEs BALANCE (ลานบาท) SMEs TRADE (ลานบาท) SMEs EXPORT GROWTH SMEs IMPORT GROWTH TOTAL EXPORT (ลานบาท) TOTAL IMPORT (ลานบาท) TOTAL BALANCE (ลานบาท) TOTAL TRADE (ลานบาท) TOTAL EXPORT GROWTH TOTAL IMPORT GROWTH SMEs EXPORT (million USD) SMEs IMPORT (million USD) BALANCE (million USD) SMEs EXPORT GROWTH SMEs IMPORT GROWTH TOTAL EXPORT (million USD) TOTAL IMPORT (million USD) BALANCE (million USD) TOTAL EXPORT GROWTH TOTAL IMPORT GROWTH

1,315,688.4 1,547,053.2 -231,364.9 2,862,741.5

1,438,280.1 1,593,624.7 -155,344.6 3,031,904.9 9.3% 3.0% 4,946,452.0 4,871,635.5 74,816.8 9,818,087.3 11.5% 2.1% 38,025.4 42,090.9 -4,065.5 16.5% 9.4% 130,790.3 128,635.5 2,154.8 18.8% 8.5%

1,583,310.1 1,453,174.9 130,135.2 3,036,484.9 10.1% - 8.8% 5,254,999.3 4,871,995.7 383,003.6 10,126,995.0 6.2% 0.01% 45,955.0 42,153.2 3,801.8 20.9% 0.2% 152,469.2 141,346.6 11,122.6 16.6% 9.9%

อัตราแลกเปลี่ยน เฉลี่ย 12 เดือน (บาท / USD)

40.2

37.9

34.5

4,436,676.4 4,769,381.6 -332,705.2 9,206,058.0 32,648.0 38,462.8 -5,814.8 110,110.3 118,528.3 -8,418.0

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 2 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ตารางที่ 2.2

สัดสวนการสงออกของ SMEs ในการคาระหวางประเทศ และ GDP

สัดสวน SMEs EXPORT ตอ TOTAL EXPORT สัดสวน SMEs IMPORT ตอ TOTAL IMPORT สัดสวน SMEs EXPORT ตอ GDP SMEs สัดสวน TOTAL EXPORT ตอ GDP รวมของประเทศ

2548

2549

2550

29.7% 32.4% 40.5% 52.3%

29.1% 32.7% 44.3% 58.3%

30.1% 29.8% 48.8% 61.9%

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

จากตารางที่ 2.2 เมื่ อ พิ จ ารณาการส ง ออกของ SMEs ต อ การส ง ออกรวม และสั ด ส ว นใน GDP พบว า สั ด ส ว นการส ง ออกของ SMEs คิ ด เป น ร อ ยละ 30.1 ของมูลคาการสงออกรวมทั้งหมด ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกวาปกอนหนารอยละ 1.0 ในขณะที่ สัดสวนการสงออกของ SMEs ตอ GDP SMEs เพิ่มขึ้นสูงกวาปกอนหนาเชนกัน ทั้งนี้ เป น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ บทบาทของการส ง ออกใน GDP รวมของประเทศ ซึ่งการสงออกมีสัดสวนรอยละ 61.9 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากปกอนหนารอยละ 3.6

2.2 สถานการณการคาระหวางประเทศของ SMEs ป 2550 ในประเทศคูคาหลัก 2.2.1 สถานการณการสงออกของ SMEs ป 2550 จากตารางที่ 2.3 แสดงมูลคาการสงออกของไทยไปยังตลาดสำคัญ 10 อันดับแรก พบวา ประเทศคูคาสำคัญอันดับหนึ่งของไทย คือ ประเทศญี่ปุน รองลงมา ไดแก สิงคโปร สหรัฐอเมริกา ฮองกง และมาเลเซีย โดยที่สิงคโปรขยับอันดับจากคูคาอันดับที่สามใน ป 2549 เปนคูคาอันดับที่สองในป 2550 และจากประเทศคูคา 5 อันดับแรก พบวา อัตรา การเปลี่ยนแปลงทางการคาที่เกิดจาก SMEs สูงกวาอัตราการเปลี่ยนแปลงของประเทศ ยกเวนสหรัฐอเมริกาที่เปนอัตราการเปลี่ยนแปลงของประเทศสูงกวาอัตราการเปลี่ยนแปลง ของ SMEs ในป 2550 มูลคาการสงออกรวมของไทยไปยังประเทศนำเขา 10 อันดับแรก คิดเปนสัดสวนรอยละ 72.6 ของมูลคาการสงออกรวมของประเทศ สำหรับการสงออกของ SMEs ไปยังประเทศนำเขา 10 อันดับแรก คิดเปนสัดสวนรอยละ 66.2 ของการสงออกรวม ของ SMEs SMEs 2 - 3

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.1 ตลาดสงออกที่สำคัญ 10 อันดับแรกของประเทศ ป 2550 ตลาดสงออกที่สำคัญ 10 อันดับแรกของ SMEs ป 2550 TAIWAN PROVINCE OF CHINA SWITZERLAND AUSTRALIA UNITED KINGDOM CHINA MALAYSIA HONG KONG UNITED STATES SINGAPORE JAPAN

SE ME LE N/A 0

500,000

1,000,000

ลานบาท 1,500,000

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ตารางที่ 2.3

มูลคาการสงออกไปยังตลาดทีส่ ำคัญ 10 อันดับแรกของ SMEs และประเทศ

ประเทศ JAPAN SINGAPORE UNITED STATES HONG KONG MALAYSIA CHINA UNITED KINGDOM AUSTRALIA SWITZERLAND TAIWAN PROVINCE OF CHINA

2550 (ลานบาท) 2549 (ลานบาท) อัตราการเปลีย่ นแปลง SMEs Total SMEs Total SMEs Total 211,815.3 181,100.5 166,645.1 151,805.6 80,281.2 69,037.0 61,406.6 45,275.4 42,056.3 38,155.4

1,004,329.0 917,943.5 710,569.5 305,694.2 208,961.8 217,239.9 120,868.4 150,071.1 83,568.3 97,677.0

193,249.3 167,525.9 176,939.3 117,779.1 74,257.6 65,563.0 57,547.9 41,016.3 25,511.3 35,378.6

1,005,823.5 921,088.5 754,497.5 278,430.7 193,955.0 167,418.0 103,421.5 116,126.9 125,624.6 92,292.6

8.8% 7.5% -6.2% 22.4% 7.5% 5.0% 6.3% 9.4% 39.3% 7.3%

-0.1% -0.3% -5.8% 9.8% 7.7% 29.8% 16.9% 29.2% -33.5% 5.8%

รวม 10 อันดับ 1,047,578.4 3,816,922.9 954,768.4 3,758,678.8 คิดเปนสัดสวนตอทั้งหมด 66.2% 72.6% 66.4% 76.0% การสงออกรวมทั้งหมด 1,583,310.1 5,254,999.3 1,438,280.1 4,946,452.0

9.2% 10.1%

6.2% 6.2%

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 4 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ตารางที่ 2.4

มูลคาการสงออกไปยังประเทศ/ กลุมประเทศตางๆ ป 2550 หนวย : ลานบาท

ประเทศ / กลุมประเทศ ASEAN Singapore Malaysia Vietnam Indonesia

Japan EU27 United Kingdom Germany France Belgium Netherlands

USA Hong Kong Middle East United Arab Emirates Israel Saudi Arabia Iran

สัดสวนตอ สงออก สัดสวน SMEs SMEs ทั้งหมด รวมทัง้ ประเทศ ตอทัง้ หมด 382,459.0

13.3% 12.9%

61,406.6 29,261.0 22,761.0 19,397.7 16,547.7

10.5% 9.6% 4.5%

26,904.6 15,752.1 8,117.6 3,649.4

India Bangladesh

18,635.4 6,771.4

28.1%

1,004,329.0 560,597.1

19.1% 10.7%

120,868.4 76,639.7 47,508.1 43,517.5 94,202.8

166,645.1 151,805.6 70,978.9

69,037.0 45,275.4 42,056.3 38,155.4 37,429.9

1,475,828.5 917,909.8 208,910.2 77,591.3 92,880.4

211,815.3 203,950.4

China Australia Switzerland Taiwan South Asia Korea ,Republic of

24.0%

181,100.5 80,281.2 29,288.1 23,722.7

710,569.5 305,694.2 151,052.2

13.5% 5.8% 2.9%

66,756.6 20,021.8 18,678.3 12,308.5

4.4% 2.9% 2.7% 2.4% 2.4%

217,239.9 150,071.1 83,568.3 97,677.0 102,268.0

4.1% 2.9% 1.6% 1.9% 1.9%

63,455.2 13,115.5

25,082.1

1.6%

78,856.3

1.5%

7,003.9 5,665.5

0.4% 0.4%

12,726.3 25,386.4

0.2% 0.5%

รวม Region อืน่ ๆ นอกจากทีร่ ะบุ 125,950.2 รวมทุกประเทศ 1,583,310.1

8.0% 100.0%

279,135.4 5,254,999.3

5.3% 100.0%

CIS South America

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 5

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

เมื่อพิจารณาโครงสรางการสงออกของไทยตามกลุมประเทศที่นำเขา ดังตาราง ที่ 2.4 พบวากลุมประเทศอาเซียนเปนตลาดสงออกหลักของไทย ในป 2550 ไทย สงออกไปยังกลุมประเทศอาเซียนถึง 1,475,828.5 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.1 ของการสงออกรวมของประเทศ สำหรับการสงออกของ SMEs ไปยังประเทศอาเซียน มีมลู คา 382,459.0 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.0 ของการสงออกของ SMEs ทัง้ หมด ซึ่งประเทศคูคาหลักในอาเซียน คือ สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ประเทศ ญี่ปุนเปนตลาดที่สำคัญของไทยเปนอันดับที่สอง โดยมูลคาการสงออกรวมไปยังญี่ปุนมี จำนวน 1,004,329.0 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.1 ของการสงออกรวมของประเทศ เปนการสงออกของ SMEs จำนวน 211,815.3 ลานบาท คิดเปนรอยละ 13.3 ของการสงออก ของ SMEs ทั้งหมด กลุมประเทศที่เปนตลาดสงออกหลักของไทยเปนลำดับสาม คือ กลุมสหภาพยุโรป 27 ประเทศ โดยมีมูลคาการสงออกรวมทั้งสิ้น 560,597.1 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 10.7 ของการสงออกรวมทั้งประเทศ และเปนการสงออกของ SMEs จำนวน 203,950.4 ลานบาท หรือรอยละ10.5 ของการสงออกของ SMEs ทั้งหมด

2.2.2 แหลงนำเขาที่สำคัญของ SMEs ในป 2550 มูลคาการนำเขารวมทั้งประเทศเทากับ 4,871,995.7 ลานบาท เพิ่มขึ้นกวาป 2549 ถึง 360.4 ลานบาท และเปนมูลคาการนำเขาที่เกิดจาก SMEs 1,453,174.9 ลานบาท ซึ่งลดลงกวาป 2549 ถึง 140,449.9 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 8.8 ของการนำเขารวมของ SMEs ทั้งหมด ประเทศที่เปนแหลงนำเขาที่สำคัญ คือ ประเทศจีน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย และเยอรมนี ตามลำดับ โดยมูลคาการนำเขา 10 อันดับแรก คิดเปนรอยละ 65.5 ของการนำเขารวมทัง้ หมด สำหรับ SMEs มีอตั ราการเปลีย่ นแปลงการนำเขาเพิม่ สูงขึน้ จาก ประเทศเยอรมนี อินโดนีเซีย มาเลเซีย และจีน ตามลำดับ และมีการนำเขาลดลงจาก ประเทศสิงคโปร ออสเตรเลีย ไตหวัน และญี่ปุน เมื่อพิจารณาในดานกลุมประเทศหรือกลุมภูมิภาคดังตารางที่ 2.6 พบวาประเทศ ญีป่ นุ เปนแหลงนำเขาหลักของไทยทีม่ สี ดั สวนรอยละ 20.3 ของมูลคาการนำเขารวมทัง้ หมด ซึ่ง SMEs มีมูลคาการนำเขาเปนสัดสวนรอยละ 18.1 แตหากพิจารณาการนำเขาของ SMEs แหลงนำเขาหลัก คือ ประเทศจีน โดยไทยนำเขาจากจีนมูลคา 263,965.1 ลานบาท และเปนการนำเขารวม 564,591.0 ลานบาท 2 - 6 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.2 ตลาดนำเขาที่สำคัญ 10 อันดับแรกของประเทศ และ SMEs ป 2550 ตลาดนำเขาที่สำคัญ 10 อันดับแรกของประเทศ และ SMEs ป 2550 SINGAPORE INDONESIA AUSTRALIA KOREA, REPUBLIC OF TAIWAN PROVINCE OF CHINA GERMANY MALAYSIA UNITED STATES JAPAN CHINA

SE ME LE N/A 0

500,000

1,000,000

ลานบาท 1,500,000

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ตารางที่ 2.5

มูลคาการนำเขาจากแหลงนำเขาที่สำคัญ 10 อันดับแรกของ SMEs จำแนกตามขนาดของผูนำเขา

ประเทศ

2550 (ลานบาท) 2549 (ลานบาท) อัตราการเปลีย่ นแปลง SMEs Total SMEs Total SMEs Total

CHINA 263,965.1 JAPAN 262,406.8 UNITED STATES 109,831.1 MALAYSIA 70,181.1 GERMANY 64,664.7 TAIWAN PROVINCE OF CHINA 63,223.8 KOREA , REPUBLIC OF 58,619.4 AUSTRALIA 51,918.1 INDONESIA 49,741.5 SINGAPORE 43,545.2

564,591.0 988,535.7 330,662.9 299,903.4 136,408.2 199,759.1 184,223.3 132,190.7 138,551.3 218,708.4

252,910.9 263,590.1 109,523.2 66,628.5 56,617.8 63,855.8 57,707.9 54,251.6 46,844.8 56,639.0

515,772.5 978,965.9 326,808.0 320,611.9 124,353.5 195,187.8 191,957.0 130,181.2 131,160.9 217,056.6

4.4% -0.4% 0.3% 5.3% 14.2% -1.0% 1.6% -4.3% 6.2% -23.1%

9.5% 1.0% 1.2% -6.5% 9.7% 2.3% -4.0% 1.5% 5.6% 0.8%

มูลคานำเขา 10 ประเทศ 1,038,096.9 3,193,534.1 1,028,569.7 3,132,055.3 0.9% สัดสวนตอการนำเขารวม 71.4% 65.5% 64.5% 64.3% มูลคาการนำเขารวม 1,453,174.8 4,871,995.7 1,593,624.7 4,871,635.3 -8.8%

2.0% 0.0%

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 7

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 2.6

มูลคาการนำเขาจากประเทศ / กลุมประเทศตางๆ ป 2550

ดสวน การนำเขารวม สัดสวน การนำเขาของ ตอสัการนำเข า ของประเทศ ตอการนำเขา SMEs ของ SMEs ทัง้ หมด ประเทศ / กลุมประเทศ ้งหมด (ลานบาท) รวมทั (ลานบาท) (รอยละ) (รอยละ) CHINA 263,965.1 18.2 564,591.0 11.6 JAPAN 262,406.8 18.1 988,535.7 20.3 ASEAN 201,775.2 13.9 872,365.1 17.9 MALAYSIA INDONESIA SINGAPORE

EU27

70,181.1 49,741.5 43,545.2

193,924.6

GERMANY ITALY UNITED KINGDOM FRANCE

MIDDLE EAST ISARAEL SAUDI ARABIA QATAR UNITED ARAB EMIRATES

SOUTH AMERICA AGENTINA BRAZIL

CIS

35,196.8

อื่นๆ รวมทุกประเทศ

2.4

7.6 4.4 4.0 3.6 0.2 1.3

13.0

330,662.9 199,759.1 184,223.3 132,190.7 4,169.7

6.8 4.1 3.8 2.7 0.1

68,060.7

1.4

16,437.7 36,079.0

0.7

7,520.2 1,652.1

60,542.8

1.2

53,599.8 3,965.1

12.4 100.0

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 8 SMEs

631,331.8

2,377.6 1,258.1

9,788.2 5,546.4

180,228.8 1,453,174.8

8.6

18,114.7 158,905.7 71,047.7 237,789.3

1,507.9 875.0

19,098.4

420,606.6 136,408.2 47,389.6 52,723.6 45,163.0

15,847.4 8,962.3 5,203.4 3,995.5

10,183.7

RUSSIAN FEDERATON UKRAINE

13.3

64,664.7 24,812.9 23,043.3 20,079.4

UNITED STATES OF AMERICA 109,831.1 TAIWAN RPOVINCE OF CHINA 63,223.8 KOREA, REPUBLIC OF 58,619.4 AUSTRALIA 51,918.1 SOUTH ASIA 2,803.1 PAKISTAN SRI LANKA

299,963.4 138,551.3 218,708.4

414,956.3 4,871,995.7

8.5 100.0

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.3 บทบาท และแนวโนมของสินคาสงออกที่สำคัญของ SMEs ป 2550 ในตลาดประเทศ / กลุมประเทศที่ทำ FTA แลว 2.3.1 ความตกลงการคาเสรีไทย - ออสเตรเลีย (Thailand - Australia Free Trade Agreement: TAFTA) ความตกลงการคาเสรีไทย - ออสเตรเลีย หรือ Thailand - Australia Free Trade Agreement (TAFTA) ไดมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2548 โดยกำหนดใหไทย และออสเตรเลียเริ่มเปดเสรีการคาทั้งในดานสินคา การบริการ และการลงทุนระหวางกัน รวมทั้งรวมมือกันแกไขปญหาอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษี เชน มาตรการดานสุขอนามัย ที่ เ ข ม งวดของออสเตรเลี ย และมาตรการตอบโต ก ารทุ ม ตลาด และในสาขาต า งๆ เพื่ออำนวยความสะดวกทางการคา อาทิ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ทรัพยสินทางปญญา การจัดซือ้ จัดจางโดยรัฐ และนโยบายการแขงขัน เปนตน ทัง้ นี้ จากการประชุมกรรมาธิการรวมฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2548 ณ กรุงเทพฯ สรุปไดดังนี้ ทั้งสองฝายเห็นวา TAFTA มีสวนทำใหการคาระหวางกันขยายตัวเพิ่มขึ้น ประมาณรอยละ 50.0 ทั้งยังสนับสนุนความรวมมือและแกไขปญหาดานตางๆ โดยเฉพาะ ดานสุขอนามัย ซึ่งเปนอุปสรรคสำคัญในการสงออกผักและผลไมไทยไปยังออสเตรเลีย โดยขณะนี้ ไทยสามารถสงออกลำไย ลิน้ จี่ และมังคุดไปไดแลว และออสเตรเลียจะดำเนินการ ในสินคาอื่นๆ เชน ทุเรียน และมะมวง ตอไป ไทยไดชวนออสเตรเลียเขามารวมลงทุนดานปศุสัตว และผลิตภัณฑนม เพื่อเสริมสรางศักยภาพดานปศุสัตวของไทยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตกลงจัดตั้งคณะทำงานดานการเปดตลาดสินคา เพื่อพิจารณาเรงลดภาษีใน รายการอื่นๆ และพิจารณาการเจรจาการคาบริการ และการลงทุนเพิ่มเติม ออสเตรเลียจะเปนเจาภาพจัดการประชุมคณะกรรมาธิการรวมฯ ครัง้ ที่ 2 ในป 2551 แตยังไมไดกำหนดระยะเวลาที่แนนอน1

1 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ, www.thaifta.com, สิงหาคม 2551

SMEs 2 - 9

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.3.1.1 ปริมาณการคารวม และ SMEs ในป 2547 - 2550 มูลคาการคาระหวางประเทศของไทย - ออสเตรเลีย เพิม่ ขึน้ มาโดยตลอด โดยเฉพาะในป 2548 เพิม่ ขึน้ จากป 2547 ถึง 53.6 พันลานบาท และเปน การเพิม่ ขึน้ จากมูลคาการคาของ SMEs 25.9 พันลานบาท และในป 2550 ไทย - ออสเตรเลีย มีมูลคาการคาเทากับ 282.3 พันลานบาท เปนสวนที่เพิ่มขึ้นจาก SMEs 97.2 พันลานบาท ซึง่ นับไดวา มูลคาการคาทีเ่ พิม่ ขึน้ ดังกลาวอาจเปนผลมาจากการเปดเสรีทางการคาระหวาง กันตั้งแตความตกลงมีผลบังคับใชในป 2548 (ภาพที่ 2.3) เมื่อพิจารณาถึงการสงออก และนำเขาระหวางไทย - ออสเตรเลียแลว พบวา ไทย นำเขาจากออสเตรเลียมากกวาการสงออกทั้งในภาพรวม และสวนของ SMEs มาตั้งแต ป 2547 ทำใหไทยขาดดุลกับออสเตรเลียมาตลอดป 2547 - 2550 แตอยางไรก็ดี ในป 2550 ไทยมีการสงออกรวมมากกวาการนำเขารวม ทำใหไทยไดดลุ การคา เทากับ 17.9 พันลานบาท แตยังขาดดุลการคาในสวนของ SMEs อยู 6.6 พันลานบาท (ภาพที่ 2.4) จากปริมาณการคารวมระหวางไทย - ออสเตรเลีย ในป 2550 เห็นไดวา วิสาหกิจ ขนาดใหญมีบทบาทสำคัญในตลาดออสเตรเลีย ในขณะที่ SMEs มีสัดสวนมูลคาการคา เพียงรอยละ 34.4 ของมูลคาการคารวมไทย - ออสเตรเลีย

2 - 10 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.3 มูลคาการคารวม ไทย - ออสเตรเลีย ป 2547 - 2550 พันลานบาท มูลคาการคารวม ไทย - ออสเตรเลีย ป 2547 - 2550 300.0 282.3 246.3 250.0 220.2 200.0 166.6 150.0 97.2 95.3 93.1 100.0 67.2 50.0 2547 2548 2549 2550

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.4 การสงออกและการนำเขา ไทย - ออสเตรเลีย ป 2547 - 2550 พันลานบาท การสงออกและการนำเขา ไทย - ออสเตรเลีย ป 2547 - 2550 200.0 150.1 150.0 116.1 89.3 100.0 77.7 45.3 50.0 24.0 41.0 27.8 17.9 0.0 Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance 13.314.1 11.1 65.3 6.6 50.0 43.2 19.2 37.541.6 54.3 51.9 100.0 88.8 130.9 130.2 132.2 150.0 2547 2548 2549 2550

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 11

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.3.1.1 สินคาสงออกที่สำคัญของไทย - ออสเตรเลีย จากตารางที่ 2.8 สิ น ค า ส ง ออกอั น ดั บ หนึ่ ง ของไทยไปยั ง ออสเตรเลี ย คื อ ไขมุกธรรมชาติ หรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติหรือกึ่งรัตนชาติ (พิกัด 71) โดยมีสินคาที่สำคัญ คือ ทองคำที่ยังไมไดขึ้นรูป (710812) สวนประกอบเครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ ทำดวยโลหะมีคา (711319) โดยมีการสงออกเพิ่มมากขึ้นในป 2549 ซึ่งขยายตัวสูงขึ้น 4 เทาจากมูลคาการสงออกในป 2548 และในป 2550 ก็ยังมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง ทั้งนี้เปนการเพิ่มขึ้นจากการสงออกของ SMEs รอยละ 51.3 ของมูลคา การสงออกรวมทั้งหมด สินคาสำคัญที่ไทยสงออกไปอันดับสอง คือ กลุมพลาสติก และของที่ทำดวย พลาสติ ก (พิ กั ด 39) มี สิ น ค า สำคั ญ คื อ ของที่ ใ ช ล ำเลี ย งสิ น ค า หรื อ บรรจุ สิ น ค า รวมทั้งจุก ฝา และที่ปดครอบอื่นๆ ที่ทำดวยโพลิเมอรของเอทิลีน (392321) พลาสติกและ ของที่ทำดวยพลาสติก โพลิเมอรของเอทิลีนที่มีความถวงจำเพาะนอยกวา 0.94 (390110) และพลาสติกและของที่ทำดวยพลาสติก โพลิเมอรของเอทิลีนที่มีความถวงจำเพาะตั้งแต 0.94 เปนตนไป (390120) โดยมีอตั ราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ในป 2549 ซึง่ เปนการขยายตัวของ SMEs มากกวาการขยายตัวรวม และในป 2550 ก็มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเชนกัน สินคาสำคัญลำดับที่สามที่ไทยสงออกไปยังออสเตรเลีย คือ ของทำดวยเหล็ก หรือเหล็กกลา (พิกัด 73) สินคาที่สำคัญ คือ สิ่งกอสราง หรือสวนประกอบของสิ่งกอสราง ทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา รวมทั้งแผน เสน มุม หรืออื่นๆ (730890) รองลงมา คือ ลูกกลมสำหรับบดและของทีค่ ลายกันใชกบั เครือ่ งจักรสำหรับบดทีไ่ ดจากการหลอทีท่ ำดวย เหล็กหรือเหล็กกลา (732591) และหลอดหรือทอ และโพรไพลกลวงอื่นๆ ที่มีภาคตัดขวาง เปนรูปสี่เหลี่ยม มีอัตราการขยายอยางมากในป 2548 และลดลงในป 2549 และหดตัวลง ในป 2550 และเปนที่นาสังเกตวา SMEs มีบทบาทสูงในสินคาหมวดนี้

2 - 12 SMEs

2547 Import Balance Export

2548 Import Balance Export

2549 Import Balance Export

Import Balance

2550

หนวย : ลานบาท

ไขมกุ ธรรมชาติ หรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก ของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล เชือ้ เพลิงทีไ่ ดแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑทไ่ี ดจากการกลัน่ ยานบก นอกจากรถทีเ่ ดินบนรางรถไฟ หรือรางรถราง เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ ธัญพืช ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา หรือสัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย

71 39 73 84 27 87 94 85 10 16

2548

2549

2550

หนวย : ลานบาท

Growth 48/47 Growth 49/48 Growth 50/49

3,694.7 4,029.9 2,690.6 10,966.3 3,330.2 22,606.2 1,269.6 2,717.8 1,386.8 4,176.2 56,868.3 73.1% 77,746.4

1,955.4 2,329.2 5,007.9 1,463.0 2,788.0 619.9 1,200.9 603.3 593.3 727.2 17,288.1 62.2% 27,784.8

1,988.0 10,834.8 10,868.7 16,397.6 4,236.3 3,492.4 5,418.9 4,935.8 6,159.9 8,706.8 10,130.8 3,453.3 10,479.8 1,743.1 14,131.0 3,169.5 3,252.4 1,431.3 2,077.2 1,805.0 28,160.5 1,141.0 33,355.5 1,799.2 1,303.1 1,562.9 1,720.8 1,751.2 3,535.3 738.1 5,684.3 971.0 1,662.0 566.7 1,415.9 775.1 5,010.5 586.6 4,947.0 733.8 65,787.8 30,803.8 89,750.0 35,791.5 73.6% 75.1% 77.3% 79.4% 89,326.0 41,016.3 116,126.9 45,275.4

20,242.7 7,210.2 4,774.4 16,935.0 4,001.5 53,549.1 2,093.1 4,811.9 1,789.7 5,290.8 120,698.4 80.6% 150,071.1

446.7% 27.9% 64.5% 34.8% -36.1% 18.4% 32.1% 60.8% -14.8% -1.3% 36.4%

51.3% 41.3% -60.3% 81.8% 26.1% 57.7% 12.0% 31.5% 36.8% 25.1% 16.2%

86.2% 33.1% -52.9% 19.8% 92.6% 60.5% 21.6% -15.3% 26.4% 7.0% 34.5% 15.6% 14.9% 47.6% 30.0% 10.4% 29.2%

-46.7% -46.2% 454.1% 37.0% 5.1% 49.9% 339.7% 128.9% 73.9% 25.2% -4.4% 19.1% 16.4% -2.3% -48.7% 18.8% 24.6% 84.1% 7.3% 2.6% 30.1% -13.1% 30.1% 22.3% 37.5% 19.8% -4.5% -50.6% 20.0% -19.3% 20.8% 15.7% 78.2%

SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total 3,668.3 1,700.2 1,138.9 1,168.9 2,395.2 521.9 1,119.1 694.5 431.5 1,473.4 14,311.8 59.6% 24,025.3

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม 10 อันดับ สัดสวนตอทัง้ หมด รวมทัง้ หมด

รายการสินคา

2547

สินคาสงออกที่สำคัญของไทยไปยังออสเตรเลีย ตามรายการสินคา 10 อันดับแรก ป 2550

24,025.3 43,192.6 -19,167.3 41,016.4 54,251.6 -13,235.3 27,784.9 65,253.2 -37,468.4 45,275.4 51,918.1 -6,642.8 77,746.4 88,821.8 -11,075.4 116,126.9 130,181.2 -14,054.3 89,326.0 130,893.4 -41,567.4 150,071.1 132,190.7 17,880.4

Export

มูลคาการคาระหวางประเทศ ไทย - ออสเตรเลีย ป 2547 - 2550

HS2

ตารางที่ 2.8

SMEs Total

ตารางที่ 2.7

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

SMEs 2 - 13

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.3.1.2 โอกาสและคูแขงทางการคาของไทยในตลาดออสเตรเลีย ในป 2550 ไทยเปนคูคาอันดับที่เจ็ดของออสเตรเลีย โดยมีสวนแบงการตลาด ในสินคานำเขาทั้งหมดของออสเตรเลียเพียงรอยละ 4.2 โดยตลาดนำเขาที่สำคัญของ ออสเตรเลีย คือ จีน สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ สิงคโปร เยอรมนี และสหราชอาณาจักร หากพิจารณา เฉพาะประเทศในอาเซียน ไทยจะเปนคูคาอันดับที่หนึ่ง และมาเลเซียเปนอันดับที่สอง จากภาพที่ 2.6 มูลคาการนำเขารวมของออสเตรเลีย ในป 2548 - 2550 เห็นไดวา อันดับคูคาของออสเตรเลียไมมีการเปลี่ยนแปลงแตอยางใด หากแตมีมูลคาการนำเขาที่ สูงขึ้น โดยเฉพาะประเทศจีน ญี่ปุน เยอรมนี สหราชอาณาจักร และไทย และมีมูลคาการ นำเขาที่ลดลงในประเทศสหรัฐอเมริกา สิงคโปร และเกาหลี ภาพที่ 2.5 สัดสวนสินคาจากไทยในตลาดออสเตรเลีย ป 2550 สัดสวนการนำเขาของออสเตรเลีย ป 2550 Others 32.4% Rep, of Korea 3.2% New Zealand 3.3% Malaysia 3.9%

China 15.5%

USA 12.9%

Japan 9.6% Singapore 5.6% United Kingdom 4.3% Germany 5.2%

Thailand 4.2%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 14 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.6 มูลคาการนำเขารวมในตลาดออสเตรเลีย เรียงตามประเทศที่มูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

Chi

Jap Sing an apo re G Uni erma ted ny Kin gdo Tha m ilan Ma d New laysi Z a Rep ealan , of d Kor ea

30,000,000,000 25,000,000,000 20,000,000,000 15,000,000,000 10,000,000,000 5,000,000,000 0

na USA

ดอลลาร สรอ.

มูลคาการนำเขารวมของออสเตรเลีย จากประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

2548

2549

2550

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 15

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 2.9

มูลคาการสงออกของ SMEs ไทยไปออสเตรเลีย ป 2550 ใน 20 ลำดับ สูงสุดตามพิกัดศุลกากร 2 หลัก หนวย : ลานบาท

อันดับ HS6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

71 39 73 84 27 87 94 85 10 16 20 03

13 14 15

21 40 48

16

62

17

63

18 19 20

69 70 95

รายการสินคา ไขมกุ ธรรมชาติ หรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก ของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล เชือ้ เพลิงทีไ่ ดแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑทไ่ี ดจากการกลัน่ ยานบก นอกจากรถทีเ่ ดินบนรางรถไฟ หรือรางรถราง เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ ธัญพืช ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา หรือสัตวนำ้ จำพวก ครัสตาเซีย ของปรุงแตงทำจากพืชผัก ผลไม ลูกนัต หรือจากสวนอืน่ ของพืช ปลา สัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก และสัตวนำ้ ทีไ่ มมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ ของปรุงแตงเบ็ดเตล็ดทีบ่ ริโภคได ยางและของทำดวยยาง กระดาษและกระดาษแข็ง ของทำดวยเยือ่ กระดาษ หรือทำดวยกระดาษหรือกระดาษแข็ง เครือ่ งแตงกายและของทีใ่ ชประกอบกับเครือ่ งแตงกาย ทีไ่ มไดถกั แบบนิตหรือแบบโครเชต ของทำดวยสิง่ ทอทีจ่ ดั ทำแลวอืน่ ๆ ของเปนชุด เสือ้ ผาทีใ่ ชแลว และของทีใ่ ชแลวทำดวยสิง่ ทอ ผาขีร้ ว้ิ ผลิตภัณฑเซรามิก แกวและเครือ่ งแกว ของเลน ของเลนเกม และของใชทจ่ี ำเปนในการเลนกีฬา สวนประกอบและอุปกรณประกอบ

รวม 20 อันดับ ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 16 SMEs

SMEs

Total

16,397.6 20,242.7 4,935.8 7,210.2 3,453.3 4,774.4 3,169.5 16,935.0 1,805.0 4,001.5 1,799.2 53,549.1 1,751.2 2,093.1 971.0 4,811.9 775.1 1,789.7 733.8 5,290.8 699.9 1,335.6 681.8 1,853.8

% 81.0% 68.5% 72.3% 18.7% 45.1% 3.4% 83.7% 20.2% 43.3% 13.9% 52.4% 36.8%

639.0 552.0 485.0

1,129.6 2,065.6 1,924.9

56.6% 26.7% 25.2%

339.4

376.2

90.2%

266.5

606.3

44.0%

263.0 255.8 251.8

908.7 1,032.0 395.4

28.9% 24.8% 63.7%

40,225.7 32,326.4 30.4%

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

เมื่อพิจารณาสินคาสงออกอันดับหนึ่งของไทยไปยังออสเตรเลีย ในป 2550 คือ ไขมุกธรรมชาติ หรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติหรือกึ่งรัตนชาติ (พิกัด 71) โดยใชขอมูลจาก มูลคาการคาระหวางประเทศที่แตละประเทศไดรายงานไปยัง United nation พบวา สินคา ไทยที่สงออกไปอันดับหนึ่งนั้นสามารถครองสวนแบงตลาดไดเพียงรอยละ 10.1 และเปน คูคาอันดับที่สี่ของออสเตรเลียในพิกัด 71 นอกจากนี้ออสเตรเลียไดนำเขาสินคานี้จาก สหราชอาณาจักร ปาปวนิวกินี และสิงคโปร ตามลำดับ สำหรับในป 2548 - 2550 ออสเตรเลียไดนำเขาพิกดั 71 จากประเทศสหราชอาณาจักร ปาปวนิวกินี และไทยเพิ่มสูงขึ้นมาโดยตลอด โดยนำเขาเพิ่มขึ้นจากสหราชอาณาจักรสูง ที่สุดถึงสองเทา และนำเขาเพิ่มขึ้นจากไทยรอยละ 71.4 และไดลดการนำเขาจากสิงคโปร ในป 2550 ภาพที่ 2.7 สัดสวนการนำเขาไขมุกธรรมชาติ หรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติหรือกึ่งรัตนชาติ (พิกัด 71) ของออสเตรเลีย ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 71 ของออสเตรเลีย ป 2550 India 2.5% Australia 3.2% USA 3.7% Indonesia 6.3%

Others 10.0% United Kingdom 22.8% Papua New Guinea 13.1%

New Zealand 8.0% Japan 9.6%

Thailand 10.1%

Singapore 10.7%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 17

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.8 การนำเขาไขมกุ ธรรมชาติ หรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ (พิกดั 71) ของออสเตรเลีย ป 2548 - 2550 การนำเขาพิกัด 71 ของออสเตรเลีย ป 2548 - 2550 ดอลลาร สรอ.

2,000,000,000 1,500,000,000 1,000,000,000 500,000,000 -

2548 United Kingdom Un Japan Ja Australia Au

2549 Papua New Guinea Pa NNew Zealand InIndia

Singapore Sin Indonesia Ind

2550 Thailand Th USA US

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

สินคาสงออกอันดับสองของไทยไปยังออสเตรเลีย ในป 2550 คือ พลาสติก และของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) โดยไทยไดสวนแบงตลาดรอยละ 3.7 ของมูลคา ตลาดทั้งหมด โดยคูคาหลักของสินคาพลาสติกของออสเตรเลีย คือ จีน โดยมีสวนแบง ตลาดรอยละ 18.3 จากประเทศอื่นๆ รอยละ 17.7 และสหรัฐอเมริการอยละ 13.1 และไทย ซึ่งเปนคูคาอันดับที่เจ็ดของสินคาในพิกัดนี้ เมื่อพิจารณาการสงออกพลาสติกและของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) ในป 2548 - 2550 พบวา จีนเปนคูคาอันดับหนึ่งในสินคานี้ โดยมีมูลคาการซื้อขายเพิ่มขึ้นมา โดยตลอด โดยเฉพาะอยางยิ่งในป 2550 จีนไดสงออกเพิ่มขึ้นกวาหนึ่งเทาจากป 2549 และการนำเขาจากประเทศอืน่ ๆ ของออสเตรเลียก็เพิม่ ขึน้ เชนกัน โดยประเทศทีม่ กี ารสงออก เพิ่มขึ้นกวาสองเทา คือ เยอรมนี นิวซีแลนด ประเทศอื่นๆ ในเอเชีย และมาเลเซีย สำหรับ ไทยมีการสงออกเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 2.5 ในป 2549 และเพิ่มขึ้นกวาหนึ่งเทาในป 2550 แสดงใหเห็นวาในป 2550 ออสเตรเลียมีอัตราการบริโภคสินคาพลาสติกและของที่ทำดวย พลาสติกเพิ่มสูงขึ้นกวาปกอนหนาเปนจำนวนมาก 2 - 18 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.9 สัดสวนการนำเขาพลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก (พิกดั 39) ของออสเตรเลีย ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 39 ของออสเตรเลีย ป 2550 Rep, of Korea 3.7%

Japan 3.5%

Thailand 3.7% Malaysia 3.8% Other Asia, nes 4.5% New Zealand 4.7% Germany 5.1%

Others 22.0% China 18.3% USA 13.1%

Areas, 17.7%nes

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.10 การนำเขาพลาสติกและของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) ของออสเตรเลีย ป 2548 - 2550

ดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 39 ของออสเตรเลีย ป 2548 - 2550 1,600,000,000 1,400,000,000 1,200,000,000 1,000,000,000 800,000,000 600,000,000 400,000,000 200,000,000 2548 China C New Ne Zealand Rep, Re of Korea

2549 Areas, Ar nes Other O Asia, nes Japan Ja

USA US Mal M aysia

2550 Germany G Thail Thh and

ที่มา: www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 19

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

สิ น ค า ส ง ออกที่ ส ำคั ญ อั น ดั บ สามของไทยไปยั ง ออสเตรเลี ย ในป 2550 คื อ ของทำด ว ยเหล็ ก หรื อ เหล็ ก กล า (พิ กั ด 73) โดยไทยได ส ว นแบ ง ตลาดร อ ยละ 2.5 ของมูลคาตลาดทั้งหมด และเปนคูคาลำดับที่สิบเอ็ด โดยคูคาหลักของออสเตรเลีย คือ จีน โดยมีสว นแบงตลาดรอยละ 36.5 ญีป่ นุ สวนแบงตลาดรอยละ 11.8 และสหรัฐอเมริกา รอยละ 10.6 เมือ่ พิจารณาการสงออกของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา (พิกดั 73) ในป 2548 - 2550 พบวา จีนเปนคูคาอันดับหนึ่ง โดยมีมูลคาการซื้อขายเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด โดยเฉพาะ อยางยิ่งในป 2550 มีมูลคาการนำเขาประมาณ 900,000 ดอลลาร สรอ. มีอัตรา การขยายตัวรอยละ 45.4 จากป 2549 สวนประเทศที่มีอัตราการขยายตัวมากที่สุด คือ สิงคโปร คือ ขยายตัวรอยละ 52.7 แตยังมีมูลคาการนำเขาที่นอยกวาจีนเปนอยางมาก สำหรับไทยมีการสงออกลดลงในป 2550 กวารอยละ 31.9 แสดงใหเห็นวาไทยอาจจะมี ความสามารถในการแขงขันสินคาเหล็กในตลาดนี้ลดลง ภาพที่ 2.11 สัดสวนการนำเขาของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา (พิกัด 73) ของออสเตรเลีย ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 73 ของออสเตรเลีย ป 2550 Rep, of Korea 2.5% New Zealand 2.6% Italy 4.0% Thailand 2.5% Germany 4.5% Others 19.6% Singapore 4.8% Other Asia, nes 5.8% China 29.3% Areas, nes 6.3% USA 8.5% Japan 9.5%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 20 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.12 การนำเขาของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา (พิกัด 73) ของออสเตรเลีย ป 2548 - 2550 การนำเขาพิกัด 73 ของออสเตรเลีย ป 2548 - 2550 ดอลลาร สรอ.

1,000,000,000 800,000,000 600,000,000 400,000,000 200,000,000 -

2548

C China OOther Asia, nes New Zealand Ne

2549 Japan Ja Singapore Sin Rep, Re of Korea

2550 US USA GGermany Thailand Th

AAreas, nes Italy ItIta

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2.3.2 ความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจที่ใกลชิดกันยิ่งขึ้นไทย - นิวซีแลนด (Thailand - New Zealand Closer Economic Partnership: TNZCEP) ไทยและนิวซีแลนดไดเริ่มการเจรจาจัดทำความตกลงการคาเสรีระหวางกัน เมื่อเดือนพฤษภาคม 2547 และสามารถสรุปการเจรจาไดในเดือนพฤศจิกายน 2547 และมีการลงนามความตกลงฯ ในเดือนเมษายน 2548 เพื่อใหความตกลงฯ มีผล ใชบงั คับในวันที่ 1 กรกฎาคม 2548 ซึง่ จะครอบคลุมทัง้ เรือ่ งการเปดตลาดดานการคาสินคา บริการ การลงทุน และความรวมมือที่เกี่ยวของกับการคา เชน พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ทรัพยสินทางปญญา การจัดซื้อจัดจางโดยรัฐ และนโยบายการแขงขัน เปนตน การเปดเสรีการคาสินคา ในภาพรวม ไทยไดรบั ประโยชนจากการทีน่ วิ ซีแลนดจะมี ภาษีเปน 0 ประมาณรอยละ 79.0 ของรายการสินคา หรือประมาณรอยละ 85.0 ของมูลคา การนำเขาของนิวซีแลนดจากไทยทันทีทคี่ วามตกลงฯ มีผลใชบงั คับ โดยสินคาสงออกสำคัญ ของไทย ไดแก รถปกอัพ ทูนากระปอง เม็ดพลาสติก ของปรุงแตงจากธัญพืช อัญมณี และเครื่องประดับ กุงแชแข็ง เครื่องใชไฟฟา แกวและเครื่องแกว เปนตน สำหรับสินคาที่ เหลือทั้งหมดจะลดภาษีเปน 0 ภายในป 2553 ยกเวน สินคาสิ่งทอ เสื้อผา และรองเทา ซึ่งนิวซีแลนดจะคอยๆ ทยอยลดภาษีเปน 0 ในป 2558 SMEs 2 - 21

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ในทางกลับกัน ไทยจะลดภาษีเปน 0 สำหรับสินคาที่นำเขาจากนิวซีแลนด ประมาณรอยละ 54.0 ของจำนวนรายการทัง้ หมด หรือรอยละ 49.0 ของมูลคานำเขาทัง้ หมด จากนิวซีแลนด ทันทีที่ความตกลงมีผลใชบังคับ โดยสินคาสำคัญของนิวซีแลนด ไดแก อาหารปรุงแตงสำหรับเลี้ยงทารก ไมและของทำดวยไม ขนแกะ พลาสติกและของทำดวย พลาสติก สัตวนำ้ กระดาษและของทำดวยกระดาษ เครือ่ งจักร น้ำตาลและของทำจากน้ำตาล ของปรุงแตงสำหรับบริโภค เชน วิตามิน และโปรตีน อาหารสำหรับเลี้ยงสัตว และผักพืช ผลไม และไทยจะคอยๆ ทยอยลดภาษีเปน 0 ภายในป 2553 อีกประมาณรอยละ 10.0 ของการนำเขาจากนิวซีแลนด สวนสินคาออนไหวของไทย เชน นมและผลิตภัณฑ เนื้อวัว เนื้อหมู หัวหอมและเมล็ด เปนตน จะทยอยลดภาษีเปน 0 ในป 2558 - 2563 พรอมกันนี้ ไทยจะยกเลิกโควตาภาษีสินคาเกษตร 18 รายการจาก 23 รายการที่ ไทยไดผูกพันไวภายใต WTO สวนที่เหลืออีก 4 รายการ ไดแก นมพรอมดื่ม มันฝรั่ง หัวหอม และเมล็ดหัวหอม ไทยไดระบุปริมาณใหแกนิวซีแลนดเปนการเฉพาะ (Specific Quota) นอกเหนือจากที่กำหนดใหสมาชิก WTO โดยมีสัดสวนประมาณรอยละ 10.0 ของปริมาณทีไ่ ทยผูกพันไวภายใต WTO ป 2547 สวนนมผงขาดมันเนยซึง่ เปนสินคาออนไหว มากจะไมมีการเปดโควตาเพิ่มเติมใหแตอยางใดในชวงเวลา 20 ป กอนการเปดเสรี นอกจากนั้น ไทยและนิวซีแลนดไดตกลงใหมีการใชมาตรการปกปองพิเศษ (Special Safeguards) สำหรับสินคาเกษตรทีเ่ ปนสินคาออนไหวเพือ่ ใหภาคการผลิตภายใน ประเทศมีเวลาปรับตัว กลาวคือ หากมีการนำเขาสินคาดังกลาวเกินปริมาณที่กำหนด (Trigger Volume) ประเทศผูน ำเขาสามารถกลับไปขึน้ ภาษีทอี่ ตั ราเดิมกอนเริม่ ลดหรืออัตรา MFN ในขณะนั้น โดยใชอัตราใดอัตราหนึ่งที่ต่ำกวา สำหรับไทยไดมีการใชมาตรการ ปกปองพิเศษสำหรับสินคา 41 รายการ ไดแก เนื้อวัว เนื้อหมู เครื่องในสัตว นมและครีม หางนม เนย ไขมันนม เนยแข็ง บัตเตอรมิลค น้ำผึ้งธรรมชาติ สมแมนดาริน องุนสด และมันฝรั่งแปรรูป และไทยสามารถใชมาตรการนี้ไดจนถึงป 2558 และ 2563 สำหรับ สินคาเกษตรและอุตสาหกรรมอื่นๆ หากมีการนำเขาเพิ่มมากขึ้นอันมีสาเหตุ เนื่องมาจาก การลดภาษีจนทำใหอตุ สาหกรรมภายในเสียหายก็สามารถใชมาตรการปกปอง (Safeguards) ไดเปนการชั่วคราว เพื่อใหอุตสาหกรรมภายในมีเวลาปรับตัว

2 - 22 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

แหลงกำเนิดสินคา ในการที่ผูสงออกทั้งสองประเทศจะไดรับสิทธิประโยชนดาน ภาษีศุลกากรภายใตความตกลงนี้ สินคาจะตองมีคุณสมบัติของกฎแหลงกำเนิดสินคาที่ ทัง้ สองฝายไดตกลงกันไวในแตละรายการ ซึง่ แบงออกเปน 2 ประเภทหลักคือ 1) สินคาทีผ่ า น การผลิตในประเทศโดยใชวัตถุดิบภายในทั้งหมด (Wholly Obtained) และ 2) สินคาที่มี การแปรสภาพอยางเพียงพอ (Substantial Transformation) โดยการเปลีย่ นพิกดั (Change of Tariff Classification) เพราะการแปรรูปและการใชวัตถุดิบภายในไทย / นิวซีแลนด เปนสัดสวนสำคัญในการผลิต (Regional Value Content) ซึ่งสวนใหญกำหนดไวที่รอยละ 40.0 และ 45.0 ของราคาสินคา การเปดเสรีการคาบริการและการลงทุน ทัง้ สองฝายจะเจรจาเปดตลาดการคาบริการ ภายใน 3 ป หลังความตกลงฯ มีผลใชบงั คับ โดยในระหวางทีย่ งั ไมมกี ารเจรจา ทัง้ สองฝาย จะอำนวยความสะดวกใหคนไทยและนิวซีแลนดเดินทางไปทำงานและติดตอธุรกิจในอีก ประเทศหนึง่ ไดสะดวกยิง่ ขึน้ โดยนิวซีแลนดจะอนุญาตใหพอ ครัวไทยทีไ่ ดรบั วุฒบิ ตั รจากกรม พัฒนาฝมอื แรงงานเขาไปทำงานไดคราวละ 3 ป และตออายุไดอกี 1 ป โดยมีสญั ญาจางงาน สวนไทยจะอนุญาตใหนกั ธุรกิจนิวซีแลนดทเ่ี ขามาประชุมและติดตองานในไทยสามารถยืน่ ขอ Multiple Entry Visa ณ สถานทูตไทยในตางประเทศได และใหนักธุรกิจเขามาประชุมและ ติดตองานในไทยไดไมเกิน 90 วัน รวมทั้งใหนักลงทุนนิวซีแลนดใชบริการศูนยบริการวีซา และใบอนุญาตทำงานได โดยไมจำกัดวาตองเปนบริษัทที่มีสินทรัพยรวมเกินกวา 30 ลานบาท สวนในเรื่องการลงทุน นิวซีแลนดจะใหคนไทยเขาไปลงทุนในธุรกิจทุกประเภทได รอยละ 100.0 ยกเวนประมง และหากเปนการลงทุนทีม่ ขี นาดเกิน 50 ลานเหรียญนิวซีแลนด จะตองขออนุญาตจากคณะกรรมการการลงทุนตางชาติกอน โดยในอนาคตนิวซีแลนด จะพิจารณาขยายเพดานการลงทุนที่ตองขออนุญาตจาก 50 ลานเหรียญฯ เปน 100 ลานเหรียญฯ ซึ่งจะเปนประโยชนตอคนไทยมากขึ้น สวนไทยจะเปดเสรีการลงทุนทางตรง ใหคนนิวซีแลนดลงทุนไดรอยละ 100.0 ในธุรกิจผลิตสินคาบางประเภทโดยเฉพาะธุรกิจที่ รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการลงทุน โดยตองนำเงินมาลงทุนไมนอยกวา 3 ลานบาท อาทิ ธุรกิจผลิตอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส เครือ่ งใชไฟฟา ซอฟตแวร เครือ่ งจักร ผลิตภัณฑกระดาษ การแปรรูปอาหารที่ใชเทคโนโลยีสมัยใหม และชิ้นสวนยานยนต เปนตน นอกจากนี้ ทัง้ สองฝายจะใหการสงเสริมและคุม ครองการลงทุนระหวางกันโดยมีสาระสำคัญทำนองเดียว กับความตกลงการคาเสรีไทย - ออสเตรเลีย (TAFTA) SMEs 2 - 23

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ความรวมมือดานตางๆ เกี่ยวกับการคา ไทยและนิวซีแลนดจะรวมมือกันพัฒนา ในดานตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับการอำนวยความสะดวกทางการคาและสนับสนุนใหการคาระหวาง สองประเทศมีความคลองตัวยิ่งขึ้น เชน พิธีการดานศุลกากร พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ทรัพยสินทางปญญา นโยบายการแขงขัน โดยจะมีการแลกเปลี่ยนขอมูลการคาระหวางกัน การจัดอบรมและสัมมนาทางวิชาการเพือ่ แลกเปลีย่ นความรูร ะหวางบุคลากรทัง้ สองประเทศ พรอมกันนี้ ไทยและนิวซีแลนดจะจัดตัง้ คณะกรรมการดานมาตรการสุขอนามัยขึน้ เพือ่ แกไข ปญหามาตรการสุขอนามัยพืชและสัตวทเี่ ขมงวดของนิวซีแลนด ซึง่ เปนอุปสรรคในการสงออก สินคาผัก ผลไม และเนื้อสัตวของไทย ทั้งนี้ สินคาเบื้องตน (Priority Products) ที่ไทยได ระบุไวเพื่อใหดำเนินการแกไขภายใน 2 ป ไดแก ลำไย ลิ้นจี่ มังคุด ขิงสด และทุเรียน2 2.3.2.1 ปริมาณการคารวม และ SMEs มูลคาการคาระหวางไทย - นิวซีแลนด ในป 2547 - 2550 มีมลู คาเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยในป 2550 มีมูลคาสูงสุด เทากับ 29 พันลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 19.1 ของมูลคาการคารวม ในขณะที่มูลคาการคาของ SMEs ลดลงจาก 10.2 พันลานบาท เหลือ 9.2 พันลานบาทในป 2550 หรือลดลงรอยละ 8.5 หากพิจารณามูลคาการสงออกและการนำเขาระหวางไทย - นิวซีแลนด ตั้งแต ป 2547 - 2550 (ภาพที่ 2.14) พบวา ไทยขาดดุลการคากับนิวซีแลนดในป 2547 ทั้งภาคการคาของ SMEs และการคาในภาพรวม และเกินดุลในป 2548 สำหรับการคารวม เชนเดียวกับป 2549 และเกินดุลการคาเล็กนอยในป 2550 ทั้งการคาในภาพรวม และ SMEs ดังนั้น จะเห็นไดวาการเปดเสรีทางการคาระหวางไทย - นิวซีแลนด ในกลางป 2548 ทำใหมูลคาการคาระหวางไทย - นิวซีแลนดเพิ่มขึ้น แตสวนใหญจะเปนการเพิ่มขึ้นจาก มูลคาการคาในภาพรวมมากกวามูลคาการคาของ SMEs

2 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ, www.thaifta.com , สิงหาคม 2551.

2 - 24 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.13 มูลคาการคารวม ไทย - นิวซีแลนด ป 2547 - 2550 พันลานบาท 35.0 30.0 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 -

มูลคาการคารวม ไทย - นิวซีแลนด ป 2547 - 2550 29.0 24.3

23.0 18.9 8.6 2547

10.2

10.2

2548

SMEs

2549

9.2 2550

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.14 การสงออกและการนำเขา ไทย - นิวซีแลนด ป 2547 - 2550 มูลคาการคาระหวางประเทศ ไทย - นิวซีแลนด ป 2547 - 2550 พันลานบาท 20.0 14.7 15.0 12.8 12.3 10.0 9.4 4.8 5.0 3.4 2.6 4.1 Import 0.3 4.8 Import Bal a nce Import Import 0.4 0.4 0.0 Export Balance Export Balance Export Balance 1.80.1 Export 2.0 0.6 5.0 4.4 5.2 5.4 6.1 10.0 9.5 10.2 12.0 15.0 14.3 20.0 2547 2548 2549 2550

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 25

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

จากตารางที่ 2.10 เห็นไดวา มูลคาการสงออกของ SMEs เพิ่มสูงขึ้นเล็กนอยใน ป 2548 จาก 3,448.6 ลานบาทในป 2547 เปน 4,804.0 ลานบาทในป 2548 และ ลดลงเล็กนอยในป 2549 และกลับมาเพิม่ ขึน้ อีกครัง้ ในป 2550 อยูท มี่ ลู คา 4,814.5 ลานบาท และในทิศทางเดียวกันมูลคาการนำเขาของ SMEs ก็เพิ่มสูงขึ้นในป 2548 เรื่อยมาจนถึง ป 2549 และลดลงในป 2550 ทำให SMEs ไทยไดดลุ การคานิวซีแลนดเทากับ 366.9 ลานบาท ในดานมูลคาการสงออกและนำเขารวมไทย - นิวซีแลนด ป 2547 - 2550 พบวามูลคา การสงออกรวมเพิ่มขึ้นในป 2548 เทากับ 12,789.3 ลานบาท และลดลงเหลือ 12,309.8 ลานบาทในป 2549 และกลับมาเพิ่มขึ้นอีกครั้งในป 2550 เชนเดียวกับทิศทางการสงออก ของ SMEs แตหากพิจาณาดานดุลการคาแลว จะพบวา การคารวมนั้น ไทยไดดุลการคา จากนิวซีแลนดในป 2548 เรื่อยมาจนถึงป 2550 ในขณะที่การคาของ SMEs ยังขาดดุลบาง ในป 2547 - 2549 และมาไดดุลเล็กนอยในป 2550 2.3.2.1 สินคาสงออกที่สำคัญของไทย - นิวซีแลนด สินคาสงออกที่สำคัญของ SMEs ไทยไปนิวซีแลนดที่มีมูลคาสูงสุด ในป 2550 ไดแก พลาสติกและของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) โดยมีสินคาที่สำคัญ คือ โพลิเอทิลีน ที่มีความถวงจำเพาะตั้งแต 0.94 ขึ้นไปสำหรับใชในอุตสาหกรรมผลิตสายโทรศัพทหรือ สายไฟฟา (390120) โพลิเอทิลนี ทีม่ คี วามถวงจำเพาะนอยกวา 0.94 สำหรับใชในอุตสาหกรรม ผลิตบรรจุภัณฑอาหารหรือเครื่องดื่มในระบบพาสเจอรไรสหรือยูเอชที (390110) และ โพลิเมอรสไตรีนในลักษณะขั้นปฐมอื่นๆ (390319) ซึ่งมีอัตราการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในป 2549 มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปกอนหนารอยละ 81.9 และในป 2550 SMEs มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 95.9 ในดานบทบาทของ SMEs ในการสงออกพิกัดนี้มี สัดสวนรอยละ 59.4 ของการสงออกทั้งหมด

2 - 26 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

สินคาสงออกอันดับทีส่ องของ SMEs ทีม่ มี ลู คาการสงออกสูง ไดแก เชือ้ เพลิงทีไ่ ดจาก แร น้ำมันแร และผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่น (พิกัด 27) สินคาสงออกที่สำคัญของพิกัดนี้ คือ น้ำมันปโตรเลียมดิบ (270910) มีมลู คาสงออก 934.4 ลานบาท และเปนการสงออกของ SMEs 433.0 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 46.3 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด น้ำมันและผลิตภัณฑอื่นๆ ที่ไดจากการกลั่นทารอื่นๆ (270799) ซึ่งเปนการสงออกของ SMEs ทั้งหมด และมีมูลคาการสงออกทั้งหมด 4.0 ลานบาท และน้ำมันปโตรเลียมและ น้ำมันที่ไดจากแรบิทูมินัส นอกจากที่เปนน้ำมันดิบอื่นๆ (271019) โดยวิสาหกิจขนาดใหญ จะเปนผูมีบทบาทในการสงออกสินคานี้ทั้งหมด โดยมีมูลคาการสงออกสูงถึง 271.6 ลานบาท สินคาที่มีมูลคาสงออกสูงเปนอันดับที่สามของ SMEs คือ เครื่องปฏิกรณนิวเคลียร บอยเลอร เครื่องจักร เครื่องกล (พิกัด 84) โดยมีสินคาที่สำคัญในพิกัด ไดแก ตูเย็น ตูแชแข็ง และเครื่องอุปกรณอื่นๆ สำหรับทำความเย็น (841899) ซึ่งเปนการสงออกจาก SMEs ทั้งหมด มีมูลคา 65.6 ลานบาท รองลงมา คือ เครื่องซักผาที่ใชตามบานเรือน หรือในกิจการซักรีดประเภทเครื่องจักรอัตโนมัติ (845011) โดยมีมูลคาการสงออกรวม 91.5 ลานบาท เปนการสงออกของ SMEs 35.4 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 38.6 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด

SMEs 2 - 27

2 - 28 SMEs

3,448.7 9,407.9

2547 5,229.9 9,548.5

-1,781.2 4,804.0 -140.6 12,789.3

Import Balance Export

2548 5,399.8 10,181.9

2549 Import Balance Export

-595.8 4,055.7 6,068.8 -2,013.0 4,814.5 2,607.4 12,309.8 12,042.5 267.3 14,686.8

Import Balance Export

รายการสินคา

366.9 369.4

179.1

77.8

185.3 102.2

201.4

96.4

454.2 106.7 1,074.0 110.2 126.7 92.6 134.3 99.8

38.7% 17.8% 12.9% -22.7% 29.9% 18.2% 175.6%

209.0 17.9% 3.4% 11.4% 8.7% -5.7% 3.8%

969.7 -16.2% 69.3% 18.9% 136.4% 3.3% -9.7% 124.0 -24.9% -27.4% -13.2% 6.0% 7.7% -7.6%

95.9% -6.3% 13.5% -28.3% 1.9% 8.3% 47.4%

2,010.8 3,628.1 3,110.5 5,693.1 2,350.4 6,239.1 3,076.8 7,385.9 54.7% 56.9% -24.4% 9.6% 30.9% 18.4% 58.3% 38.6% 64.7% 44.5% 58.0% 50.7% 63.9% 50.3% 3,448.6 9,407.9 4,804.0 12,789.3 4,055.7 12,309.8 4,814.5 14,686.8 39.3% 35.9% -15.6% -3.7% 18.7% 19.3%

91.8

268.4 89.7 174.6 106.7

107.1 142.1

509.7 980.4 749.3 1,783.1 1,467.8 2,473.1 18.6% 36.0% 47.0% 81.9% 1,457.1 2,181.0 467.0 1,033.0 437.4 1,216.9 189.0% 163.0% -67.9% -52.6% 190.3 861.4 269.8 1,281.5 306.2 1,446.2 -1.6% 14.0% 41.8% 48.8% 314.0 448.6 207.0 257.8 148.4 199.2 11.8% 43.3% -34.1% -42.5% 156.5 246.5 144.2 249.5 146.9 324.2 12.3% 1.9% -7.9% 1.2% 159.0 159.4 122.6 124.1 132.9 146.7 30.2% 29.4% -22.8% -22.1% 35.8 49.7 88.9 100.4 131.0 276.9 153.9% 122.6% 148.4% 102.3%

720.9 829.3 755.6 313.0 241.8 123.1 22.3

429.8 504.1 193.4 280.9 139.4 122.1 14.1

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม 10 อันดับ สัดสวนตอทัง้ หมด Total

พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก เชือ้ เพลิงทีไ่ ดจากแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑทไ่ี ดจากการกลัน่ เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ ของปรุงแตงทำจากพืชผัก ผลไม ลูกนัต หรือจากสวนอืน่ ของพืช ไขมกุ ธรรมชาติ หรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ กระดาษและกระดาษแข็ง ของทำดวยเยือ่ กระดาษ หรือทำดวยกระดาษหรือกระดาษแข็ง 85 เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ 68 ของทำดวยหิน ปลาสเตอร ซีเมนต แอสเบสทอล ไมกาหรือวัตถุทค่ี ลายกัน 10 ธัญพืช

39 27 84 94 20 71 48

HS2

4,447.7 14,317.4

Import Balance

2550

หนวย : ลานบาท

หนวย : ลานบาท 2547 2548 2549 2550 Growth 48/47 Growth 49/48 Growth 50/49 SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total

ตารางที่ 2.11 สินคาสงออกที่สำคัญ ไทย-นิวซีแลนด ตามรายการสินคา 10 อันดับแรก ป 2550

SMEs Total

Export

ตารางที่ 2.10 มูลคาการคาระหวางประเทศ ไทย - นิวซีแลนด ป 2547 - 2550 รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.3.2.2 โอกาสและคูแขงทางการคาของไทยในตลาดนิวซีแลนด ในป 2550 ไทยเปนคูคาอันดับที่แปดของนิวซีแลนดเทากับประเทศมาเลเซีย โดยมีสวนแบงการตลาดในสินคานำเขาทั้งหมดของนิวซีแลนดเพียงรอยละ 2.7 โดยตลาด นำเขาที่สำคัญของนิวซีแลนด คือ ออสเตรเลีย จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สิงคโปร หากพิจารณาเฉพาะประเทศในอาเซียน ไทยจะเปนคูคาอันดับที่แปดเทากับประเทศ มาเลเซีย จากภาพที่ 2.16 มูลคาการนำเขารวมของนิวซีแลนด ในป 2548 - 2550 เห็นไดวา อันดับคูค า ของออสเตรเลียไมมกี ารเปลีย่ นแปลง หากแตมมี ลู คาการนำเขาทีส่ งู ขึน้ โดยเฉพาะ ประเทศสิงคโปรขยายตัวรอยละ 32.0 รองลงมา คือ จีน มีอัตราการขยายตัวรอยละ 27.9 และไทยมีอตั ราการขยายตัวรอยละ 24.1 สูงกวามาเลเซียทีอ่ ยูใ นอันดับเดียวกัน สวนประเทศ ที่มีมูลคาการนำเขาที่ลดลง ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกา ภาพที่ 2.15 สัดสวนสินคาจากไทยในตลาดนิวซีแลนด ป 2550 สัดสวนการนำเขาของนิวซีแลนด ป 2550 Thailand 2.7% Malaysia 2.7% United Kingdom 2.6% Rep, of Korea 2.8% Germany 4.7% Others 26.2% Singapore 5.1% Japan 9.4% Australia 20.6% USA 9.8% China 13.3%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 29

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.16 มูลคาการนำเขารวมในตลาดนิวซีแลนด เรียงตามประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

7,000,000,000 6,000,000,000 5,000,000,000 4,000,000,000 3,000,000,000 2,000,000,000 1,000,000,000 -

Aus

tral ia Chi na USA Jap Sing an apo Ge re Rep rman , of y Kor e Ma a lays ia T h Uni aila ted nd Kin gdo m

ดอลลาร สรอ.

มูลคาการนำเขารวมของนิวซีแลนด จากประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

2548

2549

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 30 SMEs

2550

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ตารางที่ 2.12 มูลคาการสงออกของ SMEs ไทยไปนิวซีแลนด ป 2550 ใน 20 ลำดับ สูงสุดตามพิกัดศุลกากร 2 หลัก หนวย : ลานบาท

อันดับ HS2 1 2 3 4 5 6 7

39 84 27 94 20 71 48

8 9

85 68

10 11 12

10 73 15

13 14 15

21 16 11

16

33

17

62

18

03

19 20

54 72

รายการสินคา

SMEs

พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก 1,467.8 เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล 437.4 เชือ้ เพลิงทีไ่ ดแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑทไ่ี ดจากการกลัน่ 306.2 148.4 เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ ของปรุงแตงทำจากพืชผัก ผลไม ลูกนัต หรือจากสวนอืน่ ของพืช 146.9 ไขมกุ ธรรมชาติ หรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ 132.9 กระดาษและกระดาษแข็ง ของทำดวยเยือ่ กระดาษ 131.0 หรือทำดวยกระดาษหรือกระดาษแข็ง 110.2 เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ ของทำดวยหิน ปลาสเตอร ซีเมนต แอสเบสทอล 99.8 ไมกาหรือวัตถุทค่ี ลายกัน ธัญพืช 96.4 ของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา 96.4 ไขมันและน้ำมันทีไ่ ดจากสัตวหรือพืช 91.4 และผลิตภัณฑทแ่ี ยกไดจากไขมันและน้ำมัน ของปรุงแตงเบ็ดเตล็ดทีบ่ ริโภคได 88.5 ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา หรือสัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย 86.5 ผลิตภัณฑของอุตสาหกรรมโมสเี มล็ดธัญพืช 83.2 มอลต สตารช อินลู นิ และกลูเทนจากขาวสาลี 82.6 เอสเซนเชียลออยลและเรซินนอยด เครือ่ งหอม เครือ่ งสำอาง หรือสิง่ ปรุงแตงสำหรับประทินรางกายหรือประเทืองโฉม เครือ่ งแตงกายและของทีใ่ ชประกอบกับเครือ่ งแตงกาย 74.6 ทีไ่ มไดถกั แบบนิตหรือแบบโครเชต ปลา สัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก 69.7 และสัตวนำ้ ทีไ่ มมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ ใยยาวประดิษฐ 64.9 เหล็กและเหล็กกลา 60.3

รวม 20 อันดับ

Total

%

2,473.1 1,216.9 1,446.2 199.2 324.2 146.7 276.9

59.4% 35.9% 21.2% 74.5% 45.3% 90.6% 47.3%

969.7 124.0

11.4% 80.4%

209.0 960.2 92.0

46.1% 10.0% 99.3%

132.8 884.9 98.6

66.6% 9.8% 84.4%

961.8

8.6%

79.2

94.3%

159.2

43.8%

121.7 572.4

53.3% 10.5%

3,875.1 11,448.7 33.8%

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 31

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

เมื่อพิจารณาสินคาสงออกอันดับหนึ่งของไทยไปยังนิวซีแลนด ในป 2550 คือ พลาสติกและของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) โดยสินคาไทยที่สงออกไปอันดับหนึ่งนั้น สามารถครองสวนแบงตลาดไดเพียงรอยละ 7.2 และเปนคูคาอันดับที่สี่ของออสเตรเลีย ในพิกัดนี้ นอกจากนี้นิวซีแลนดไดนำเขาสินคานี้จากออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และ จีน ตามลำดับ สำหรับในป 2548 - 2550 นิวซีแลนดไดนำเขาพิกดั 39 จากประเทศตางๆ รวมทัง้ ไทย สูงขึ้นโดยตลอด หากพิจารณาอัตราการขยายตัวในป 2550 แลว ไทยมีอัตราการขยายตัว สูงกวาประเทศอื่นๆ ถึงแมจะเปนคูคาในอันดับที่สี่ คือ ขยายตัวสูงรอยละ 30.7 ในขณะ ที่การนำเขาจากจีนมีอัตราการขยายตัวรอยละ 26.8 สวนออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา มีอัตราการขยายตัวเพียงรอยละ 14.5 และ 11.2 ตามลำดับ ภาพที่ 2.17 สัดสวนการนำเขาพลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก (พิกดั 39) ของนิวซีแลนด ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 39 ของนิวซีแลนด ป 2550 Malaysia 3.2%

Other Asia, nes 3.1%

Germany 3.9% Singapore 4.4% Japan 4.7% Rep, of Korea 5.6%

Others 24.1%

Thailand 7.2%

Australia 21.3%

China 11.1% USA 11.4%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 32 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.18 การนำเขาพลาสติกและของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) ของนิวซีแลนด ป 2548 - 2550

ดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 39 ของนิวซีแลนด ป 2548 - 2550 300,000,000 250,000,000 200,000,000 150,000,000 100,000,000 5,000,000 2548 Australia Au RRep, of Korea Re MMalaysia

2549 USA US Japan Ja Other O Asia, nes

China C Singapore Sin

2550 Thail Th and Germany G

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

สินคาสงออกอันดับที่สองของไทยไปยังนิวซีแลนด ในป 2550 คือ เชื้อเพลิงที่ไดแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่น (พิกัด 84) และไทยเปนคูคาอันดับที่เจ็ดในสินคา พิกัดนี้ ในป 2550 ไทยสามารถครองสวนแบงตลาดไดเพียงรอยละ 3.3 รองจากประเทศจีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน ออสเตรเลีย เยอรมนี อิตาลี และมาเลเซียเปนคูคาในอันดับที่แปด มีสวนแบงตลาดรอยละ 3.1 ของมูลคาตลาดทั้งหมด สำหรับในป 2548 - 2550 นิวซีแลนดไดนำเขาพิกัด 84 จากประเทศตางๆ รวมทั้ง ไทยสูงขึน้ โดยตลอด ยกเวนเพียงมาเลเซียทีอ่ ตั ราการนำเขาหดตัวลงรอยละ 15.1 หากพิจารณา อัตราการขยายตัวในป 2550 แลว ไทยมีอตั ราการขยายตัวสูงกวาประเทศอืน่ ๆ ถึงแมจะเปน คูคาในอันดับที่เจ็ด คือ ขยายตัวสูงรอยละ 40.4 รองลงมา คือ ญี่ปุนมีอตั ราการขยายตัว รอยละ 36.6 และอิตาลีมีอัตราการขยายตัวเพียงรอยละ 32.0

SMEs 2 - 33

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.19 สัดสวนการนำเขาบอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล (พิกดั 84) ของนิวซีแลนด ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 84 ของนิวซีแลนด ป 2550 Other Asia, nes 2.7% Malaysia 3.1%

United Kingdom 2.6%

Thailand 3.3% Italy 4.8% Germany 8.1% Australia 9.4%

Others 20.5% China 18.5% Japan 12.0%

USA 14.8%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.20 การนำเขาบอยเลอร เครื่องจักร เครื่องใชกล (พิกัด 84) ของนิวซีแลนด ป 2548 - 2550 การนำเขาพิกัด 84 ของนิวซีแลนด ป 2548 - 2550 ดอลลาร สรอ.

800,000,000 600,000,000 400,000,000 200,000,000 0 2548 C China GGermany OOther Asia, nes

2549 US USA Ja Japan Italy Thailand Ita Th United Kingdom Un

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 34 SMEs

2550 AAustralia MMalaysia

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

สินคาสงออกอันดับที่สามของไทยไปยังนิวซีแลนด ในป 2550 คือ เชื้อเพลิงที่ไดแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่น (พิกัด 27) โดยนิวซีแลนดนำเขาสินคาพิกัดนี้ จากไทยรอยละ 1.4 ในป 2550 ประเทศผูครองตลาดในสินคานี้ คือ ออสเตรเลีย สิงคโปร และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส สำหรับในป 2550 นิวซีแลนดไดนำเขาพิกัด 27 จากประเทศบรูไนเพิ่มสูงขึ้นมาก ทีส่ ดุ โดยมีอตั ราการขยายตัวกวาหนึง่ เทา นอกจากนีย้ งั เพิม่ การนำเขาจากสาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย และไทย โดยการนำเขาจากไทยมีอัตราการขยายตัวรอยละ 16.5 ภาพที่ 2.21 สัดสวนการนำเขาเชื้อเพลิงที่ไดแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่น (พิกัด 27) ของนิวซีแลนด ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 27 ของนิวซีแลนด ป 2550 Philippines 1.6% Rep, of Korea 2.6% Brunei 3.1% Other Asia, nes 3.3% Malaysia 4.2% Indonesia 5.0%

Nigeria 1.4%

Thailand 1.4% Others 4.2%

Australia 22.8% Singapore 20.3%

Japan 5.9% Qatar 6.1% Saudi Arabia 6.9% United Arab Emirates 11.3% ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 35

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.22 การนำเขา เชื้อเพลิงที่ไดแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่น (พิกัด 27) ของนิวซีแลนด ป 2548 - 2550

ดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 27 ของนิวซีแลนด ป 2548 - 2550 1,200,000,000 1,000,000,000 800,000,000 600,000,000 400,000,000 200,000,000 0 2548 Singapore Australia Au Sin Japan QQatar Ja Brunei OOther Asia, nes Br Thailand Th

2549 United Un Arab Emirates Indonesia In Rep, R of Korea Re

2550 Saudi Sa Arabia Mal M aysia Phil Ph ipines

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2.3.3 เขตการคาเสรีอาเซียน - จีน (ASEAN - China Free Trade Agreement) อาเซียนกับจีน ไดลงนามกรอบความตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจอาเซียน - จีน (Framework Agreement on ASEAN - China Comprehensive Economic Cooperation) เมือ่ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2545 เพือ่ เปนกรอบและแนวทางสำหรับการเจรจาจัดตัง้ เขตการคา เสรีอาเซียน - จีน ทีค่ รอบคลุมทัง้ เรือ่ งการเปดเสรีการคาสินคา การคาบริการ การลงทุน และ ความรวมมือทางเศรษฐกิจตางๆ และตอมาทัง้ สองฝายไดสามารถสรุปการเจรจาและลงนาม ในความตกลงดานการคาสินคาระหวางอาเซียน - จีน (Agreement on Trade in Goods of the Framework Agreement on Comprehensive Economic Co-operation between the ASEAN and China) ในระหวางการประชุมสุดยอดอาเซียน - จีน เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2547 ณ กรุงเวียงจันทน ประเทศลาว การเปดเสรีการคาสินคา แบงออกเปน 2 สวน คือ การลดภาษีสินคาบางสวนทันที (Early Harvest Program) และการลดภาษีสินคาทั่วไป 2 - 36 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

1. การลดภาษีสินคา Early Harvest Program ครอบคลุมสินคาเกษตรภายใต พิกัดศุลกากรตอนที่ 01 - 08 (สัตวมีชีวิต เนื้อสัตว และสวนอื่นของสัตวที่บริโภคได ปลา ผลิตภัณฑนม ไขสัตวปก ผลิตภัณฑจากสัตว ตนไม พืชผักที่บริโภคได และผลไม และลูกนัตที่บริโภคได) รวมทั้งสินคาเฉพาะ (Specific products) ที่มีผลเฉพาะกับประเทศ ที่ตกลงกันสองฝายเทานั้น เริ่มตนการลดภาษีในวันที่ 1 มกราคม 2547 และลดภาษีลงเปน รอยละ 0 ภายในวันที่ 1 มกราคม 2549 และใหความยืดหยุน กับอาเซียนใหม 4 ประเทศ ในอัตรา และระยะเวลาเริม่ ลดภาษีแตตอ งลดภาษีเปนรอยละ 0 ภายในป 2553 ทัง้ นี้ สำหรับสินคาทีม่ ี มาตรการโควตาภาษี เชน หอม และกระเทียม จะลดเฉพาะอัตราภาษีในโควตาเทานั้น ในการนี้ เนื่องจากไทยและจีนเห็นศักยภาพดานการคาระหวางกันในสินคาเกษตร พิกดั ศุลกากร 07 - 08 (ผัก และผลไม) ทัง้ สองฝายจึงไดเห็นชอบและรวมลงนามในความตกลง เรงลดภาษีสนิ คาผักและผลไมระหวางไทย - จีน (Agreement between the Government of the People’s Republic of China and the Government of the Kingdom of Thailand on Accelerated Tariff Elimination under the Early Harvest Programme of the Framework Agreement on Comprehensive Economic Cooperation between ASEAN and China) เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2546 โดยใหนำสินคาในสองหมวดนี้มาเรงลดภาษีระหวางกันกอน ประเทศอาเซียนอืน่ ๆ โดยใหลดอัตราภาษีใหเหลือรอยละ 0 ภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2546 ซึง่ ตอมาสิงคโปรไดเขารวมลงนามในความตกลงฯ นี้ดวย 2. การลดภาษีสนิ คาทัว่ ไป ความตกลงวาดวยการคาสินคาอาเซียน - จีน ไดแบง รายการสินคาออกเปน 2 รายการ ไดแก รายการสินคาปกติ (Normal Track) ซึ่งมี อัตราภาษีสดุ ทาย คือรอยละ 0 และรายการสินคาออนไหว (Sensitive Track) ซึง่ เปนสินคาที่ ตองการความคุมครอง และจะมีระยะเวลาการลด / เลิกภาษีมากกวาสินคาปกติ ดังนี้ 2.1 สินคาปกติ (Normal Track): กำหนดใหลดอัตราภาษีทส่ี งู กวารอยละ 20.0 ใหเหลือรอยละ 20.0 ในวันที่ 1 มกราคม 2548 สวนภาษีที่มีอัตราต่ำกวารอยละ 20.0 ใหลดอัตราภาษีลงตามลำดับ และอัตราภาษี ของสินคาทัง้ หมดจะตองลดลงเหลือ 0% ภายในวันที่ 1 มกราคม 2553 (5 ป) พรอมกับใหสนิ คา จำนวน 150 รายการไดรับความยืดหยุนใหลดภาษีเหลือรอยละ 0 ไดถึงป 2555 (7 ป) รวมทั้งใหเพิ่มสินคาที่จะมีอัตราภาษีอยูที่รอยละ 0 - 5 จากจำนวนรอยละ 40.0 ในป 2548 เปนรอยละ 60.0 ในป 2550 SMEs 2 - 37

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.2 สินคาออนไหว (Sensitive Track) จะมีไดไมเกิน 400 รายการและไมเกินรอยละ 10.0 ของมูลคาการนำเขาโดยกำหนด ใหลดอัตราภาษีเหลือรอยละ 20.0 ในป 2555 และมีอตั ราภาษีสดุ ทายอยูท ร่ี อ ยละ 0 - 5 ในป 2561สวนสินคาออนไหวสูง (Highly Sensitive Track) ไดตกลงในเบื้องตนที่จะกำหนด ไมใหเกินรอยละ 40.0 หรือ 100 รายการของสินคาออนไหวทัง้ หมด โดยตองเลือกหลักเกณฑ ทีม่ จี ำนวนรายการนอยกวา และลดอัตราภาษีเหลือรอยละ 50.0 ในป 2558 ทั้งนี้ สินคาที่จะไดรับสิทธิการลดภาษีภายใตเขตการคาเสรีอาเซียน - จีน จะตอง ไดแหลงกำเนิดของสินคาตามกฎเกณฑทไี่ ดตกลงกัน คือ สินคาบางประเภทตองใชวตั ถุดบิ ภายในทั้งหมด (Wholly Obtained) สวนสินคาอื่นๆ ตองมีมูลคาของวัตถุดิบที่ใชภายใน ประเทศไมตำ่ กวารอยละ 40.0 โดยสามารถนำมูลคาของวัตถุดบิ จากทุกประเทศสมาชิกมา รวมกันได นอกจากนี้ อาเซียนและจีนไดจดั ทำกฎวาดวยแหลงกำเนิดสินคาเฉพาะ (Product Specific Rules: PSR) การเปดเสรีดา นการคาบริการ อาเซียนและจีนไดลงนามความตกลงดานการคาบริการ พรอมขอผูกพันการเปดตลาดกลุมที่ 1 ไดแลวเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2550 ณ เมืองเซบู สาธารณรัฐฟลปิ ปนส โดยความตกลงฯ ครอบคลุมธุรกิจบริการภาคเอกชนทุกสาขา โดยไม ครอบคลุมการใหบริการและการจัดซือ้ จัดจางบริการโดยรัฐ ทัง้ นี้ ไทยเสนอผูกพันเปดตลาด ภายใตกรอบทีก่ ฎหมายปจจุบนั อนุญาตใหตา งชาติประกอบธุรกิจได คือ ใหประเทศสมาชิก อาเซียนและจีนสามารถเขามาประกอบธุรกิจไดโดยถือหุน เกินรอยละ 49.0 และมีเงือ่ นไขอืน่ ตามกฎหมายเฉพาะสาขา เชน ในสาขาวิชาชีพตองเปนไปตามที่สภาวิชาชีพกำหนด การเจรจาดานการลงทุน ขณะนี้อยูระหวางการเจรจา ความรวมมือดานเศรษฐกิจ อาเซียนและจีน รวมทั้งไทย มีกำหนดจะรวมมือ ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะใน 5 สาขา ไดแก เกษตรกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย การลงทุน และการพัฒนาลุมแมน้ำโขง และความรวมมือดานตางๆ อาทิ ศุลกากร การปกปองทรัพยสินทางปญญา การจัดตั้งศูนยกลางในการอำนวยความสะดวก และสงเสริมการคาและการลงทุน การพัฒนาความตกลงใหมีการยอมรับรวมกัน (Mutual Recognition Arrangements: MRA) การดำเนินการตามแผนงานในกรอบความรวมมือ อนุภูมิภาคแมน้ำโขง และการใหความชวยเหลือประเทศสมาชิกใหมอาเซียน3 3 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ, www.thaifta.com , สิงหาคม 2551

2 - 38 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.3.3.1 ปริมาณการคารวม และ SMEs มูลคาการคารวมของไทย - จีน ป 2547 - 2550 ไดเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด กลาวคือ ในป 2547 ไทย - จีนมีมลู คาการคา 454.1 พันลานบาท และเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ปละ 1 แสนลานบาท และในป 2550 มีมูลคาการคาระหวางกัน 781.8 พันลานบาท หากพิจารณาในดานการคา ของ SMEs ไทย - จีนก็มีมูลคาเพิ่มขึ้นเชนกัน โดยในป 2547 SMEs มีมูลคาการคา 202.2 พันลานบาท และเพิม่ ขึน้ มาโดยตลอดจนในป 2550 มูลคาการคาสูงขึน้ ถึง 333.0 พันลานบาท หากแตการเพิม่ ขึน้ ของมูลคาการคา SMEs นอยกวาการเพิม่ ขึน้ ของมูลคาการคารวมพอสมควร ดานการสงออกและนำเขาของไทย - จีน พบวา ตั้งแตป 2547 ไทยขาดดุลการคา กับจีนมาโดยตลอด โดยเฉพาะในป 2549 ไทยขาดดุลการคา 348.4 พันลานบาท โดยเปน การขาดดุ ล จากการนำเข า รวมของประเทศที่ สู ง ถึ ง 515.8 พั น ล า นบาท ในขณะที่ การสงออกรวมมีเพียง 167.4 พันลานบาท เชนเดียวกับป 2550 ที่ไทยยังคงขาดดุลการคา ในระดับที่สูง เปนมูลคา 347.4 พันลานบาท ซึ่งการนำเขารวมยังคงสูงขึ้นตอเนื่องจาก ป 2549 ถึง 564.6 พันลานบาท

SMEs 2 - 39

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.23 มูลคาการคารวม ไทย - จีน ป 2547 - 2550 มูลคาการคารวม ไทย - จีน ป 2547 - 2550 พันลานบาท 900.0 781.8 800.0 683.2 700.0 592.0 600.0 454.1 500.0 400.0 318.5 333.0 300.0 202.2 264.5 200.0 100.0 2547 2548 2549 2550 SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.24 การสงออกและการนำเขา ไทย - จีน ป 2547 - 2550 พันลานบาท มูลคาการคาระหวางประเทศ ไทย - จีน ป 2547 - 2550 600.0 400.0 217.2 167.4 143.0 200.0 124.4 69.0 65.6 53.5 43.8 0.0 Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance 157.0 200.0 158.4 114.6 264.0 195.0 252.5 187.3 205.3 211.0 306.0 346.4 400.0 329.7 347.4 449.0 515.8 600.0 564.6 2547 2548 2549 2550

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 40 SMEs

Import Balance Export

Import Balance Export

รายการสินคา

SMEs 2 - 41

หนวย : ลานบาท

Import Balance

2550

2547

2548

2549

2550

Growth 48/47 Growth 49/48 Growth 50/49

หนวย : ลานบาท

21,689.3 9,565.3 7,887.4 3,038.7 2,657.6 3,335.8 1,736.1

9,936.2 25,523.0 18,332.5 37,262.3 16,933.5 5,981.5 13,251.5 7,903.3 13,899.2 8,259.4 6,172.4 7,366.3 7,865.6 9,396.9 5,840.9 3,545.1 4,597.7 5,238.9 8,261.5 5,808.3 3,590.3 3,704.2 3,552.7 3,662.8 5,057.9 3,145.7 3,992.3 3,866.6 4,916.4 5,002.9 1,105.5 1,655.0 1,410.7 1,846.5 2,831.9

42,156.7 18,305.8 6,824.5 6,814.2 5,200.1 5,764.9 3,223.5

1,003.7 16,477.4 1,597.2 17,214.6 2,161.1 25,509.3 2,594.3 39,008.9 1,466.7 19,823.2 1,678.1 21,236.8 1,714.3 24,405.2 1,689.2 42,938.3 490.9 790.4 1,244.5 1,393.9 1,152.1 1,574.0 1,511.3 2,839.5 29,710.1 87,001.2 37,996.3 99,935.4 53,197.8130,734.2 55,529.5 173,076.4 67.9% 70.0% 71.0% 69.9% 81.1% 78.1% 80.4% 79.7% 43,787.3 124,370.8 53,501.0 142,958.3 65,563.0 167,418.0 69,037.0 217,239.9

7,496.5 4,195.1 5,698.8 2,510.2 2,585.3 3,052.9 1,210.2

17.7% 38.5% -6.6% 51.3% 39.4% 19.7% -4.7%

84.5% 32.1% 27.4% 47.8% -1.0% 22.9% 27.6%

-7.6% 4.5% -25.7% 10.9% 42.4% 29.4% 100.7%

13.1% 31.7% -27.4% -17.5% 42.0% 17.3% 74.6%

5.3% 29.8%

48.2% 20.0% 52.9% 14.9% -1.5% 75.9% 12.9% 31.2% 80.4% 30.8% 4.4% 32.4%

46.0% 4.9% 27.6% 79.7% -1.1% 23.1% 11.6%

22.2% 14.9% 22.5% 17.1%

59.1% 4.5% 35.3% 14.4% 7.1% 2.2% 153.5% 76.4% -7.4% 27.9% 14.9% 40.0%

32.5% 42.6% 8.3% 41.2% 38.9% 3.0% -8.6%

SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม 10 อันดับ สัดสวนตอทัง้ หมด รวมทัง้ หมด

ยางและของทำดวยยาง พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก ธัญพืช พืชผักรวมทัง้ รากและหัวบางชนิดทีบ่ ริโภคได ผลไมและลูกนัตทีบ่ ริโภคได เปลือกผลไมจำพวกสม ไม และของทำดวยไม ถานไม ปลา สัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก และสัตวนำ้ ทีไ่ มมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ 85 เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ 84 เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล 74 ทองแดงและของทำดวยทองแดง

40 39 10 07 08 44 03

HS2

Import Balance Export

2549

43,787.3 158,269.9 -114,482.6 53,501.0 211,048.2 -157,547.2 65,5623.0 252,910.9 -187,347.9 69,037.0 263,965.1 -194,928.1 124,370.8 329,467.2 -205,096.4 142,958.3 449,030.5 -306,072.2 167,418.0 515,772.5 -348,354.5 217,239.9 564,591.0 -347,351.0

Export

2548

ตารางที่ 2.14 สินคาสงออกที่สำคัญ ไทย-จีน ตามรายการสินคา 10 อันดับแรก ป 2550

SMEs Total

2547

ตารางที่ 2.13 มูลคาการคาระหวางประเทศ ไทย - จีน ป 2547 - 2550

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.3.3.2 โอกาสและคูแขงทางการคาของไทยในตลาดจีน ในป 2550 ไทยเปนคูค า อันดับทีส่ บิ ของจีน โดยมีสว นแบงการตลาดในสินคานำเขา ทั้งหมดของจีนเพียงรอยละ 2.4 โดยตลาดนำเขาที่สำคัญหาอันดับแรกของจีน คือ ญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลี ประเทศอื่นนอกเอเชีย จีน สหรัฐอเมริกา เยอรมนี สวนประเทศในแถบ อาเซียนที่จีนนำเขาสูง ไดแก มาเลเซียซึ่งมีสวนแบงการตลาดรอยละ 3.0 รองลงมา คือ ไทย และฟลิปปนส ที่สวนแบงการตลาดที่เทากัน เมื่อพิจารณาการนำเขารวมของจีน ในป 2548 - 2550 เห็นไดวาอันดับคูคาของจีน ไมมกี ารเปลีย่ นแปลง แตมมี ลู คาการนำเขาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยประเทศทีม่ อี ตั รา การขยายตัวการนำเขาสูงสุด คือประเทศออสเตรเลีย มีอัตราการขยายตัวรอยละ 33.7 ฟลิปปนส มีอัตราการขยายตัวรอยละ 30.8 และไทย มีอัตราการขยายตัวรอยละ 26.2 ตามลำดับ ภาพที่ 2.25 สัดสวนสินคาจากไทยในตลาดจีน ป 2550 สัดสวนสินคาจากไทยในตลาดจีน ป 2550 Thailand 2.4%

Philippines 2.4% Australia 2.7% Malaysia 3.0% Germany 4.7% USA 7.3% China 9.0%

Others 33.1% Japan 14.0%

Other Asia, nes 10.6% ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 42 SMEs

Rep, of Korea 10.9%

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.26 มูลคาการนำเขารวมในตลาดจีน เรียงตามประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

160,000,000,000 140,000,000,000 120,000,000,000 100,000,000,000 80,000,000,000 60,000,000,000 40,000,000,000 20,000,000,000 -

Rep Japa , n Oth of Kor er A ea sia, nes Chi na U Ge SA rma Ma ny lays Aus ia tr Phi alia lipp ine Tha s ilan d

ดอลลาร สรอ.

การนำเขาจีนจากประเทศที่มีมูลคาสูงสุดสิบอันดับแรก ป 2548 - 2550

2548

2549

2550

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 43

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 2.15 มูลคาการสงออกของไทยไปยังจีน ป 2550 ใน 20 ลำดับสูงสุด ตามพิกัดศุลกากร 2 หลัก หนวย : ลานบาท

อันดับ HS2 1 2 3 4 5 6 7

40 39 10 07 08 44 03

8 9 10 11 12

85 84 74 72 11

13 14

29 23

15

56

16 17 18 19 20

27 87 76 41 71

รายการสินคา

SMEs

ยางและของทำดวยยาง 16,933.5 พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก 8,259.4 ธัญพืช 5,840.9 พืชผักรวมทัง้ รากและหัวบางชนิดทีบ่ ริโภคได 5,808.3 ผลไมและลูกนัตทีบ่ ริโภคได เปลือกผลไมจำพวกสม 5,057.9 ไม และของทำดวยไม ถานไม 5,002.9 ปลา สัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก 2,831.9 และสัตวนำ้ ทีไ่ มมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ 2,594.3 เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล 1,689.2 ทองแดงและของทำดวยทองแดง 1,511.3 เหล็กและเหล็กกลา 1,181.5 736.4 ผลิตภัณฑของอุตสาหกรรมโมสเี มล็ดธัญพืช มอลต สตารช อินลู นิ และกลูเทนจากขาวสาลี เคมีภณั ฑอนิ ทรีย 681.0 กากและเศษทีเ่ หลือจากอุตสาหกรรมผลิตอาหาร 656.6 อาหารทีจ่ ดั ทำไวเลีย้ งสัตว แวดดิง้ สักหลาดและผาไมทอ ดายชนิดพิเศษ 602.3 เชือกชนิดทไวน ชนิดคอรเดจ เชือ้ เพลิงทีไ่ ดจากแร น้ำมันแรและผลิตภัณฑทไ่ี ดจากการกลัน่ 524.2 ยานบก นอกจากรถทีเ่ ดินบนรางรถไฟ หรือรางรถราง 499.3 อะลูมเิ นียมและของทำดวยอะลูมเิ นียม 480.9 หนังดิบ (นอกจากหนังเฟอร) และหนังฟอก 448.3 427.5 ไขมกุ ธรรมชาติ หรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ

รวม 20 อันดับ ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 44 SMEs

Total

%

42,156.7 18,305.8 6,824.5 6,814.2 5,200.1 5,764.9 3,223.5

40.2% 45.1% 85.6% 85.2% 97.3% 86.8% 87.9%

39,008.9 42,938.3 2,839.5 1,564.9 2,191.1

6.7% 3.9% 53.2% 75.5% 33.6%

2,954.3 1,252.3

23.1% 52.4%

731.3

82.4%

7,726.7 1,336.0 703.8 1,418.3 472.3

6.8% 37.4% 68.3% 31.6% 90.5%

61,767.3 193,427.3 31.9%

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

สินคาสงออกอันดับหนึ่งของไทยไปยังจีน ในป 2550 คือ ยางและของทำดวยยาง (พิกดั 40) แลว พบวา ไทยเปนคูค า อันดับหนึง่ ในสินคายางและของทำดวยยาง โดยมีสว นแบง การตลาดมากทีส่ ดุ ถึงรอยละ 20.6 ของมูลคาการนำเขารวมทัง้ หมด รองลงมา คือ มาเลเซีย ญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลี และอินโดนีเซีย สำหรับในป 2548 - 2550 จีนยังคงนำเขาสินคานี้จากไทยเปนอันดับหนึ่งเชนกัน โดยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในป 2549 มีอัตราการขยายตัวเพิ่มสูงถึงรอยละ 72.9 และหดตัวลงเล็กนอยในป 2550 เหลือรอยละ 17.9 ประเทศที่มีอัตราการขยายตัวสูง ในป 2550 คือ สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย สาธารณรัฐเกาหลี มีการขยายตัวรอยละ 52.7, 31.5 และ 29.2 ตามลำดับ ภาพที่ 2.27 สัดสวนการนำเขายางและของทำดวยยาง (พิกัด 40) ของจีน ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 40 ของจีน ป 2548 - 2550 Germany 3.3% Russian Federation 4.0% Other Asia, nes 5.0% USA 7.2% Indonesia 8.4%

Vietnam 2.9% Others 12.5%

Thailand 20.6% Malaysia 14.9%

Rep, of Korea 8.9% Japan 12.4% ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 45

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.28 การนำเขายางและของทำดวยยาง (พิกัด 40) ของจีน ป 2548 - 2550

ดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 40 ของจีน ป 2548 - 2550 2,500,000,000 2,000,000,000 1,500,000,000 1,000,000,000 500,000,000 0 Th Thailand InIndonesia GGermany

2548 MMalaysia US USA ViVietnam

2549 Ja Japan O Asia, nes Other

2550 Re Rep, of Korea Ru Russian Federation

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

สินคาสงออกสำคัญอันดับสองของไทยไปยังจีน ในป 2550 คือ พลาสติก และของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) พบวา ไทยเปนคูคาอันดับเกาในสินคาพิกัดนี้ มีสว นแบงการตลาดเพียงรอยละ 3.6 ของมูลคาการนำเขารวมทัง้ หมดของจีน โดยคูค า สำคัญ หาอันดับแรกของจีน คือ ประเทศอื่นๆ นอกเอเซีย สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และสิงคโปร สำหรับในป 2548 - 2550 อันดับคูคาในการนำเขาสินคาพิกัดนี้ของจีนยังคงเดิม โดยในป 2550 ประเทศที่มีอัตราการขยายตัวสูง ไดแก ฮองกง และสหรัฐอเมริกา มีการขยายตัวรอยละ 47.3 และ 43.1 ตามลำดับ ในขณะที่ไทยมีอัตราการขยายตัวเพียง รอยละ 4.6

2 - 46 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.29 สัดสวนการนำเขาพลาสติกและของที่ทำดวยพลาสติก (พิกัด 39) ของจีน ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 39 ของจีน ป 2548 - 2550 Thailand 3.6% Malaysia 2.4%

Germany 3.8% China, Hong Kong SAR 4.3% China 4.3% Singapore 4.6% USA 9.9% Japan 16.6%

Others 15.1% Other Asia, nes 18.5% Rep, of Korea 16.9%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.30 การนำเขาพลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก (พิกดั 39) ของจีน ป 2548 - 2550

ดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 39 ของจีน ป 2548 - 2550 10,000,000,000 8,000,000,000 6,000,000,000 4,000,000,000 2,000,000,000 0 O Asia, nes Other Sin Singapore Th and Thail

2548 Re of Korea Rep, Ch China M aysia Mal

2549 2550 Ja US Japan USA C na, Hong Kong SAR G Chi Germany

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 47

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

สินคาสงออกสำคัญอันดับสามของไทยไปยังจีน ในป 2550 คือ ธัญพืช (พิกัด 10) พบวา ไทยเปนคูค า อันดับหนึง่ ในสินคาธัญพืชนี้ โดยมีสว นแบงการตลาดมากทีส่ ดุ ถึงรอยละ 40.6 ของมูลคาการนำเขารวมทั้งหมด รองลงมา คือ ออสเตรเลีย และแคนาดา สำหรับในป 2548 - 2550 จีนยังคงนำเขาจากไทยเปนอันดับหนึ่ง แตลดปริมาณ การนำเขาลงเปนอยางมากจากทุกประเทศ ทัง้ นีอ้ าจจะเนือ่ งจากจีนสามารถปลูก และผลิต ธัญพืชไดเอง จึงนำเขาจากตางประเทศลดลง แตอยางไรก็ตามไทยยังคงเปนคูค า อันดับหนึง่ และมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นในป 2549 รอยละ 48.6 และหดตัวลงเหลือรอยละ 24.9 ในป 2550 และยังคงมีประเทศที่มีอัตราการขยายตัวสูงในป 2550 คือ ฝรั่งเศส ขยายตัว มากกวา 7 เทา พมา ขยายตัวรอยละ 90.5 อินเดีย ขยายตัวรอยละ 28.9 และสปป.ลาว ขยายตัวรอยละ 19.5 ภาพที่ 2.31 สัดสวนการนำเขาธัญพืช (พิกัด 10) ของจีน ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 10 ของจีน ป 2548 - 2550 Myanmar 0.4% Lao People’s Dem. Rep. 0.7% Vietnam 1.4% USA 1.2% France 4.9%

India 0.2% China 0.1% Others 0.2%

Canada 20.9% Australia 29.4%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 48 SMEs

Thailand 40.6%

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.32 การนำเขาธัญพืช (พิกัด 10) ของจีน ป 2548 - 2550

ดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 10 ของจีน ป 2548 - 2550 600,000,000 500,000,000 400,000,000 300,000,000 200,000,000 100,000,000 Thail Th and Vietnam Vi India InI

2548 AAustralia USA US CChina

2549 Canada C Lao La People’s Dem. Rep.

2550 France Fr Myanmar M

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2.3.4 ความตกลงหุน สวนเศรษฐกิจทีใ่ กลชดิ ไทย - ญีป่ นุ (Japan - Thailand Economic Partnership Agreement: JTEPA) กรอบการเจรจาครอบคลุมความสัมพันธทางเศรษฐกิจทุกดาน โดยใหมีการ เป ด เสรี ทั้ ง ด า นสิ น ค า บริ ก าร และการลงทุ น รวมทั้ ง ความร ว มมื อ ในสาขาต า งๆ โดยการเจรจาแบงออกเปน การคาสินคา (การคาสินคา กฎวาดวยถิ่นกำเนิดสินคา พิธีการศุลกากร การคาไรกระดาษ การยอมรับมาตรฐานรวมกัน) การลงทุน / บริการ (การค า บริ ก าร การลงทุ น การเคลื่ อ นย า ยบุ ค คลธรรมดา) ทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา การจั ด ซื้ อ จั ด จ า งภาครั ฐ นโยบายการแข ง ขั น ความร ว มมื อ (เกษตรและป า ไม การศึ ก ษาและทรั พ ยากรมนุ ษ ย บรรยากาศการลงทุ น การบริ ก ารการเงิ น ICT วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี SMEs การทองเที่ยว การสงเสริมการคาและการลงทุน) การระงับขอพิพาท และบทบัญญัติทั่วไป ไดมีการลงนามความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจที่ ใกลชิดไทย - ญี่ปุน เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2550 โดยนายกรัฐมนตรีของทั้งสองประเทศ และความตกลงมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 เปนตนไป SMEs 2 - 49

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.3.4.1 ปริมาณการคารวม และ SMEs มู ล ค า การค า รวมไทย - ญี่ ปุ น ในป 2547 - 2550 อยู ป ระมาณ 2,000 พันลานบาท โดยเพิ่มขึ้นสูงสุดในป 2548 โดยเพิ่มขึ้น 233.2 พันลานบาทจากปกอนหนา และลดลงเล็กนอยในป 2549 และในป 2550 มีมูลคาการคารวม 1,992.8 พันลานบาท เมือ่ พิจารณาการสงออกและนำเขาไทย - ญีป่ นุ ในป 2547 - 2550 พบวาไทยยังขาด ดุลการคากับญีป่ นุ อยูเ ล็กนอยในป 2547 - 2548 และไดดลุ การคาเล็กนอยในป 2549 - 2550 โดยเกินดุลการคารวมมูลคา 15.8 พันลานบาท หากเปนดุลการคาของ SMEs ยังขาดดุลอยู 50.6 พันลานบาท ภาพที่ 2.33 มูลคาการคารวม ไทย - ญี่ปุน ป 2547 - 2550 มูลคาการคารวม ไทย - ญี่ปุน ป 2547 - 2550

พันลานบาท 2,500.0 2,000.0

1,991.6

1,984.8

1,992.8

1,758.4

1,500.0 1,000.0 500.0 -

389.6 2547

467.5 2548

2549

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 50 SMEs

456.8

474.2 2550

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.34 การสงออกและการนำเขา ไทย - ญี่ปุน ป 2547 - 2550 พันลานบาท มูลคาการคาระหวางประเทศ ไทย - ญี่ปุน ป 2547 - 2550 1,500 1,005.8 1,004.3 943.3 1,000 857.3 500 211.8 193.2 191.1 168.9 Import 15.8 0.0 Export Import Balance Export Import Balance Export Import Bala26.8 nce Export Balance 70.4 220.7 51.843.8 276.4 85.3 263.6 262.4 50.6 105.0 500 1,000 988.5 979.0 901.1 1,048.3 1,500 2547 2548 2549 2550

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2.3.4.2 สินคาสงออกที่สำคัญของไทย - ญี่ปุน หากพิจารณาสินคาสงออกที่สำคัญของ SMEs ไทยไปญี่ปุนที่มีมูลคาสุงสุด ในป 2550 ไดแก ยานบก นอกจากรถที่เดินบนรางรถไฟ หรือราง (พิกัด 87) สินคาสงออก ที่สำคัญของพิกัดนี้ ยานยนตสำหรับขนสงของที่มีน้ำหนักรถรวมน้ำหนักบรรทุกไมเกิน 5 ตัน หรือชิ้นสวนครบสมบูรณ (870421) โดยมีมูลคาการสงออกรวม 51,471.5 ลานบาท ซึ่งเปนการสงออกของ SMEs 18,753.6 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 36.4 ของ การสงออกทั้งหมด รองลงมาคือ สวนประกอบและอุปกรณประกอบของยานยนตตาม ประเภทที่ 87.01 ถึง 87.05 อืน่ ๆ เชน ถังเชือ้ เพลิงทีย่ งั ไมไดประกอบ รวมทัง้ ฐานยึดเครือ่ งยนต (870899) มีมูลคาการสงออกรวม 11,630.9 ลานบาท และเปนการสงออกของ SMEs 4,438.6 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 38.2 ของการสงออกทัง้ หมด และสวนประกอบ และอุปกรณประกอบของยานยนตตามประเภทที่ 87.01 ถึง 87.05 อื่นๆ เชน องคประกอบ ของชุดประกอบประตูดานใน (870829) มีมูลคาการสงออกรวม 7,118.5 ลานบาท โดยเปนการสงออกของ SMEs รอยละ 36.7 ของการสงออกทั้งหมด SMEs 2 - 51

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

สินคาสงออกสำคัญอันดับทีส่ อง คือ เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล (พิกดั 84) สินคาสงออกทีส่ ำคัญของพิกดั นี้ คือ เครือ่ งประมวลผลขอมูลอัตโนมัติ และหนวยตางๆ ของเครื่อง เชน หนวยรับเขาหรือหนวยสงออกจะมีหนวยเก็บอยูใน เรือนเดียวกันหรือไมก็ตาม (847160) มีมูลคาสงออกรวม 29,138.7 ลานบาท ซึ่งเปน มูลคาการสงออกของ SMEs 3,519.0 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 12.1 ของ การสงออกทัง้ หมด รองลงมา คือ เครือ่ งจักรซึง่ ทำหนาทีต่ งั้ แต 2 หนาทีข่ นึ้ ไป เชน การพิมพ การทำสำเนา หรือการสงโทรสารที่สามารถตอเขากับเครื่องประมวลผลขอมูลอัตโนมัติ (844331) มีมูลคาสงออกรวม 4,512.6 ลานบาท ซึ่งเปนมูลคาการสงออกของ SMEs 2,244.9 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 49.7 ของการสงออกทัง้ หมด และสวนประกอบ และอุปกรณประกอบอื่นๆ ของเครื่องพิมพ (844399) มีมูลคาสงออกรวม 5,208.4 ลานบาท ซึ่งเปนมูลคาการสงออกของ SMEs 1,452.5 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 27.9 ของการสงออกทั้งหมด สินคาสำคัญอันดับทีส่ าม คือ เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) สินคาสงออกที่สำคัญของพิกัดนี้ คือ สวนประกอบที่เหมาะสำหรับใชเฉพาะกับ เครื่องสงสำหรับวิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน (852990) มีมูลคาสงออกรวม 7,479.6 ลานบาท ซึ่งเปนมูลคาการสงออกของ SMEs 2,235.8 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 29.9 ของการสงออกทัง้ หมด รองลงมา คือ เตาอบไมโครเวฟ (851650) และเคเบิลรวมแกน และตัวนำไฟฟารวมแกนอื่นๆ ที่ติดกับขั้วตอ (854442) 2.3.4.3 โอกาสและคูแขงทางการคาของไทยในตลาดญี่ปุน ในป 2550 ไทยเปนคูค า อันดับทีส่ บิ ของญีป่ นุ โดยมีสว นแบงการตลาดในสินคานำเขา ทั้งหมดรอยละ 2.9 โดยตลาดนำเขาที่สำคัญหาอันดับแรกของญี่ปุน คือ จีน สหรัฐอเมริกา ซาอุดิอารเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และออสเตรเลีย สวนประเทศในแถบอาเซียนที่ญี่ปุน นำเขาสูง ไดแก อินโดนีเซียซึ่งมีสวนแบงการตลาดรอยละ 4.3 และไทยเปนคูคาอันดับสอง ของญี่ปุนในกลุมประเทศอาเซียน

2 - 52 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

เมื่อพิจารณาการนำเขารวมของญี่ปุน ในป 2548 - 2550 เห็นไดวาอันดับคูคา ไมมีการเปลี่ยนแปลงแตอยางใด มีมูลคาการนำเขาที่เพิ่มสูงขึ้นจากประเทศคูคาในสิบ อันดับแรกในป 2549 และลดการนำเขาลงในประเทศซาอุดิอารเบีย และประเทศอื่นๆ ในเอเซียในป 2550 สำหรับประเทศที่มีอัตราการขยายตัวการนำเขาสูงในป 2550 ไดแก ประเทศออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ไทย จีน โดยอัตราการขยายตัวรอยละ 11.9, 9.9, 8.5 และ 7.9 ตามลำดับ สินคาสงออกสำคัญอันดับหนึ่งของ SMEs ไทยไปยังญี่ปุนในป 2550 คือ ยานบก นอกจากรถที่เดินบนรางรถไฟ หรือราง (พิกัด 87) มีมูลคาการสงออกในป 2550 จำนวน 29,680 ลานบาท และมูลคาการสงออกทั้งหมดเทากับ 103,077.0 ลานบาท หากพิจารณา สัดสวนการนำเขาของญีป่ นุ ในพิกดั 87 พบวา ไทยมีสว นแบงตลาดรอยละ 3.7 และเปนคูค า อันดับหกในสินคานี้ โดยมีประเทศคูค า หลัก คือ เยอรมนี จีน สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แอฟริกาใต และไทย สำหรับในป 2548 - 2550 ญี่ปุนนำเขาจากสินคาจากเยอรมนีเปนอันดับหนึ่ง โดยตลอด หากแตลดปริมาณการนำเขาลงเล็กนอยทัง้ ในป 2549 และ 2550 ในขณะทีม่ กี าร นำเขาเพิม่ ขึน้ จากสหราชอาณาจักร ไทย อิตาลี และจีน โดยมีอตั ราการขยายตัวรอยละ 50.0, 24.1, 19.5, และ 18.4 ตามลำดับ และลดการนำเขาจากสหรัฐอเมริกา และแอฟริกาใต

SMEs 2 - 53

2 - 54 SMEs

2547

2548 Import Balance Export

ยานบก นอกจากรถทีเ่ ดินบนรางรถไฟ หรือราง เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา หรือสัตวนำ้ จำพวก ครัสตาเซีย ปลา สัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก และสัตวนำ้ ทีไ่ มมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ ยางและของทำดวยยาง เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ ของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา เคมีภณั ฑอนิ ทรีย

87 84 85 39 16 03

2550 Import Balance

2548

2549

2550

หนวย : ลานบาท

Growth 48/47Growth 49/48 Growth 50/49

4,096.7 9,424.6 4,521.8 2,746.2 97,602.7 57.8% 168,892.1

25,442.7 72,369.1 24,489.8 80,335.1 29,680.1 16,773.6 215,472.5 21,543.4 229,813.1 20,304.1 19,810.4 286,264.7 21,719.7 300,687.1 20,052.8 16,375.4 27,364.5 16,821.1 27,608.4 19,936.3 9,204.6 34,999.0 8,591.0 33,936.2 9,224.3 7,856.9 22,687.3 6,798.1 19,860.1 8,747.2

18,641.7 7,323.9 26,521.0 9,027.2 36,002.9 8,375.9 15,069.1 8,971.4 15,164.4 7,726.2 12,616.3 7,657.9 9,750.8 5,633.7 12,592.6 5,902.1 13,261.7 6,678.4 12,535.9 3,893.9 20,370.4 3,709.8 35,119.5 6,080.9 659,032.3 121,286.6 733,805.5 126,328.4 789,240.4 136,738.0 76.9% 63.5% 77.8% 65.4% 78.5% 64.6% 857,273.8 191,128.2 943,280.9 193,249.3 1,005,823.5 211,815.3

63,980.6 190,024.1 272,784.6 21,698.1 30,042.4 24,504.9 38,518.0 10,401.0 13,347.1 32,858.9 772,687.1 76.9% 1,004,329.0

103,077.0 232,393.2 263,442.8 29,043.1 30,348.8 19,257.1

42.3% 23.3% 0.6% -13.9% 29.1% 4.8% 62.5% -4.7% 11.3% 4.2%

13.1% -3.7% 13.4% 28.4% 4.9% 9.6% 26.1% 2.7% 16.5% -6.7% -7.4% -13.5%

35.8% -16.8% 5.3% 72.4% 7.6%

11.0% 6.7% 5.0% 0.9% -3.0% -12.5%

28.3% 1.1% -12.4% 5.2% -10.6% -3.0% -7.2% 7.0% -0.9% -17.6% 13.2% 0.6% 63.9% -6.4% 8.2% -2.1%

21.2% -5.8% -7.7% 18.5% 7.4% 28.7%

13.2% 10.0% 1.1% 6.6% 9.6% -0.1%

78.8% -4.8% 24.6% 41.8% 24.3%

68.4% 10.4% 13.5% 34.6% 8.1% -6.2%

SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total

2547 15,112.6 15,189.4 17,454.0 12,163.8 8,516.6 8,376.9

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม 10 อันดับ สัดสวนตอทัง้ หมด รวมทัง้ หมด

รายการสินคา

HS2

40 94 73 29

2549 Import Balance Export

หนวย : ลานบาท

168,892.1 220,707.9 -51,815.8 191,128.3 276,353.1 -85,224.9 193,249.4 263,590.2 -70,340.8 211,815.3 262,406.8 -50,591.5 857,273.8 901,121.7 -43,848.0 943,280.9 1,048,321.1 -105,040.3 1,005,823.5 978,965.9 26,857.6 1,004,329.0 988,535.7 15,793.3

Import Balance Export

ตารางที่ 22.17 17 สินคาสงออกทีส่ ำคัญ ไทย - ญีป่ นุ ตามรายการสินคา 10 อันดับแรก ป 2550

SMEs Total

Export

ตารางที่ 2.16 มููลคาการคาระหวางประเทศ ไทย - ญญี่ปุน ป 2547 - 2550 รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.35 สัดสวนสินคาสงออกของไทยในตลาดญี่ปุน ป 2550 สัดสวนการนำเขาของญี่ปุน ป 2550 Other Asia, nes 3.2% Germany 3.1% Indonesia 4.3% Thailand 2.9% Rep, of Korea 4.4% Australia 5.0% Others 34.0% United Arab Emirates 5.2% USA 11.6% Saudi Arabia 5.7% China 20.6%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.36 มูลคาการนำเขารวมในตลาดญี่ปุน เรียงตามประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

na Sau USA di A Uni rabia Etmed A ira ra Aus tes b Rep trali , of a Kor Ind ea Oth one er A sia sia, n Ge es rma n Tha y ilan d

140,000,000,000 120,000,000,000 100,000,000,000 80,000,000,000 60,000,000,000 40,000,000,000 20,000,000,000 0

Chi

ดอลลาร สรอ.

มูลคาการนำเขารวมของญี่ปุน จากประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

2548

2549

2550

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 55

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 2.18 มูลคาการสงออกของไทยไปยังญี่ปุน ป 2550 ใน 20 ลำดับสูงสุด ตามพิกัดศุลกากร 2 หลัก หนวย : ลานบาท

อันดับ HS2 1 2 3 4 5 6

87 84 85 39 16 03

7 8 9 10 11 12 13 14 15

40 94 73 29 72 74 71 91 90

16

49

17

61

18 19 20

80 20 44

รายการสินคา ยานบก นอกจากรถทีเ่ ดินบนรางรถไฟ หรือราง เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา หรือสัตวนำ้ จำพวก ครัสตาเซีย ปลา สัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก และสัตวนำ้ ทีไ่ มมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ ยางและของทำดวยยาง เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ ของทำดวยเหล็กหรือเหล็กกลา เคมีภณั ฑอนิ ทรีย เหล็กหรือเหล็กกลา ทองแดงและของทำดวยทองแดง ไขมกุ ธรรมชาติ หรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ นาิกาชนิดคล็อก และชนิดวอตซ และสวนประกอบของนาิกา อุปกรณและเครือ่ งอุปกรณทใ่ี ชในทางทัศนศาสตร การถายรูป การถายทำภาพยนตร การวัด การตรวจสอบ หนังสือทีพ่ มิ พเปนเลม หนังสือพิมพ รูปภาพ และผลิตภัณฑอน่ื ๆ ของอุตสาหกรรมการพิมพ เครือ่ งแตงกายและของทีใ่ ชประกอบกับเครือ่ งแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต ดีบกุ และของทำดวยดีบกุ ของปรุงแตงทำจากพืชผัก ผลไม ลูกนัต หรือสวนอืน่ ของพืช ไมและของทำดวยไม ถานไม

รวม 20 อันดับ ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 56 SMEs

SMEs Total

%

29,680.1 103,077.0 20,304.1 232,393.2 20,052.8 263,442.8 19,936.3 29,043.1 9,224.3 30,348.8 8,747.2 19,257.1

28.8% 8.7% 7.6% 68.6% 30.4% 45.4%

8,375.9 7,657.9 6,678.4 6,080.9 4,892.8 4,555.4 4,505.8 3,681.9 3,680.0

38,518.0 10,401.0 13,347.1 32,858.9 6,157.3 11,334.5 6,405.8 3,812.4 48,968.1

21.7% 73.6% 50.0% 18.5% 79.5% 40.2% 70.3% 96.6% 7.5%

3,091.9

3,143.5

98.4%

2,874.4

3,821.1

75.2%

2,735.2 2,473.8 2,357.5

2,735.2 3,987.7 2,900.1

100.0% 62.0% 81.3%

171,586.7 865,952.9 19.8%

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

สิ น ค า ส ง ออกสำคั ญ อั น ดั บ สองของ SMEs ไทยไปยั ง ญี่ ปุ น ในป 2550 คื อ เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล (พิกดั 84) มีมลู คาการสงออกในป 2550 เทากับ 20,304.1 ลานบาท และมูลคาการสงออกของ SMEs คิดเปนรอยละ 8.7 ของการสงออกทั้งหมด หากพิจารณาสัดสวนการนำเขาของญี่ปุนในพิกัด 84 พบวา ไทยมีสว นแบงตลาดรอยละ 5.6 และเปนคูค า อันดับสีใ่ นสินคานี้ โดยมีประเทศคูค า ทีส่ ำคัญ คือ จีน สหรัฐอเมริกา และ เยอรมนี สำหรับในป 2548 - 2550 ญี่ปุนนำเขาจากสินคาจากจีนเปนอันดับหนึ่งโดยตลอด และเพิ่มปริมาณการนำเขาอยางตอเนื่องทั้งในป 2549 และ 2550 โดยมีสวนแบง การตลาดสูงสุดในป 2550 ถึงรอยละ 38.2 ในขณะที่ลดการนำเขาจากสหรัฐอเมริกาลง รอยละ 2.1 และเพิ่มการนำเขาจากเยอรมนีรอยละ 20.7 ในป 2550 ในดานการนำเขาจาก ไทยมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทั้งป 2549 และ 2550 โดยป 2549 เพิ่มขึ้นรอยละ 5.1 และป 2550 เพิ่มขึ้นรอยละ 5.6 ของมูลคาการนำเขาทั้งหมด สิ น ค า ส ง ออกสำคั ญ อั น ดั บ สามของ SMEs ไทยไปยั ง ญี่ ปุ น ในป 2550 คื อ เครื่องจักรไฟฟา เครื่องอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) มีมูลคาการสงออก ในป 2550 เทากับ 20,052.8 ลานบาท คิดเปนรอยละ 7.6 ของการสงออกทัง้ หมด หากพิจารณา สัดสวนการนำเขาของญีป่ นุ ในพิกดั 85 พบวา ไทยมีสว นแบงตลาดรอยละ 5.2 และเปนคูค า อันดับหกในสินคานี้ โดยมีประเทศคูค า ทีส่ ำคัญ คือ จีน ประเทศอืน่ ในเอเชีย สหรัฐอเมริกา และสาธารณรัฐเกาหลี โดยมีมาเลเซียเปนคูคาอันดับหนึ่งและไทยเปนอันดับที่สองในกลุม ประเทศอาเซียน สำหรับในป 2548 - 2550 ญี่ปุนนำเขาจากสินคาจากจีนเปนอันดับหนึ่งโดยตลอด และเพิ่มปริมาณการนำเขาอยางตอเนื่องทั้งในป 2549 และ 2550 โดยมีสวนแบงการตลาด รอยละ 16.3 ในป 2550 รองจากสาธารณรัฐเกาหลีที่มีการขยายตัวสูงสุด คือ รอยละ 16.7 และไทยมีการขยายตัวสูงเปนอันดับสาม คือ รอยละ 8.0 ในขณะทีล่ ดการนำเขาจากเยอรมนี และประเทศอื่นในเอเชียลง รอยละ 2.7 และ 0.3 ตามลำดับ

SMEs 2 - 57

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.37 สัดสวนการนำเขายานบก นอกจากรถที่เดินบนรางรถไฟ หรือราง (พิกัด 87) ของญี่ปุน ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 87 ของญี่ปุน ป 2550 France 2.8% Rep of Korea 2.7%

Othe Asia, nes 3.1% Italy 3.3%

Thailand 3.7% Other 16.1%

South Africa 5.5% United Kingdom 8.7%

Germany 30.3% USA 9.1% China 14.7%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.38 การนำเขายานบก นอกจากรถทีเ่ ดินบนรางรถไฟ หรือราง (พิกดั 87) ของญีป่ นุ ป 2548 - 2550 ดอลลาร สรอ. 6,000,000,000

การนำเขาพิกัด 87 ของญี่ปุน ป 2548 - 2550

4,000,000,000 2,000,000,000 0

2548 Germany G United U Kingdom Ital It y Rep. R of Korea

2549 China C South S Africa Other O Asia, nes

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 58 SMEs

2550 USA U Thail Th and France Fr

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.39 สัดสวนการนำเขา บอยเลอร เครื่องจักร เครื่องใชกล (พิกัด 84) ของญี่ปุน ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 84 ของญี่ปุน ป 2550 United Kingdom 1.8% Philippines 2.0% France 2.2% Singapore 2.6% Other Asia, nes 3.4% Rep. of Korea 5.5%

Other 12.8%

China 38.2% USA 19.8%

Thailand 5.6% Germany 6.1%% ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.40 การนำเขา บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล (พิกดั 84) ของญีป่ นุ ป 2548 - 2550 ดอลลาร สรอ. 25,000,000,000.0 20,000,000,000.0 15,000,000,000.0 10,000,000,000.0 5,000,000,000.0 0.0

การนำเขาพิกัด 84 ของญี่ปุน ป 2548 - 2550

2548 China C Rep. R of Korea P ippines Phil U USA

2549 OOther Asia, nes UUnited Kingdom GGermany

2550 SSingapore Th Thailand FFrance

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 59

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.41 สัดสวนการนำเขาเครื่องจักรไฟฟา เครื่องอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) ของญี่ปุน ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 85 ของญี่ปุน ป 2550 Indonesia 1.8% Others 7.4% Singapore 2.3% Germany 2.6% Philippines 4.5%

Thailand 5.2%

China 34.7%

Malaysia 5.5% Rep.11.3% of Korea USA Other 12.3% Asia, 12.3%nes

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.42 การนำเขาเครื่องจักรไฟฟา เครื่องอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) ของญี่ปุน ป 2548 - 2550 ดอลลาร สรอ. การนำเขาพิกัด 85 ของญี่ปุน ป 2548 - 2550 30,000,000,000.0 25,000,000,000.0 20,000,000,000.0 15,000,000,000.0 10,000,000,000.0 5,000,000,000.0 0.0 2548 2549 2550 CChina OOther Asia, nes UUSA GGermany MMalaysia Th PPhilippines Thailand SiSingapore InIndonesia RRep. of Korea ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 60 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.4 บทบาท และแนวโนมของสินคาสงออกที่สำคัญของ SMEs ป 2550 ในตลาดประเทศ / กลุมประเทศที่กำลังเจรจา FTA อยู 2.4.1 ความตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN Republic of Korea Free Trade Agreement: AKFTA) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน - เกาหลีที่ประเทศ สปป.ลาว เมื่อ 30 พ.ย. 2547 ผูนำอาเซียนและเกาหลีไดรวมลงนามในปฏิญญารวมอาเซียน - เกาหลี ซึ่งมีเนื้อหา ครอบคลุมถึงการจัดตั้งเขตการคาเสรีระหวางกัน โดยใหเริ่มการเจรจาในชวงตนป 2005 และเสร็จสิน้ ภายในป 2006 และมีเปาหมายทีจ่ ะลดภาษีสนิ คาจำนวนรอยละ 80.0 ของจำนวน รายการสินคาทัง้ หมดลงเหลือรอยละ 0.0 ภายในป 2009 และตอมาในการประชุมผูน ำอาเซียน - เกาหลี เมือ่ เดือนธันวาคม 2005 อาเซียนและเกาหลีไดลงนามในกรอบความตกลงวาดวย ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางอาเซียนและเกาหลี และความตกลงวาดวยกลไกการระงับ ขอพิพาท และการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน - เกาหลี ครัง้ ที่ 3 เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2006 อาเซียน 9 ประเทศ (ยกเวนไทย) และเกาหลีไดลงนามความตกลงวาดวยการคาสินคา กรอบการเจรจา ครอบคลุมความสัมพันธทางเศรษฐกิจในทุกดาน ประกอบดวย การเปดเสรีการคาสินคาความตกลงดานกลไกระงับขอพิพาททางการคา การเปดเสรีการคา บริการ และการลงทุน ความรวมมือทางเศรษฐกิจตางๆ ในการประชุมคณะเจรจาการคาเสรีอาเซียน - เกาหลี (AKTNC) ลาสุด ระหวางวันที่ 7-11 เมษายน 2551 ณ เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต สรุปความคืบหนาไดดังนี้ คือ สมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ (สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และเมียนมาร) และเกาหลี ไดมีการลดภาษีระหวางกันแลว สวนประเทศภาคีอื่นๆ (บรูไน กัมพูชา และ สปป.ลาว) อยูระหวางดำเนินกระบวนการภายใน อาเซียนและเกาหลีสรุปการยกรางพิธีสารเพื่อใหไทยสามารถเขารวมความตกลง วาดวยการคาสินคาและความตกลงวาดวยการคาบริการ ซึง่ อาเซียนอืน่ และเกาหลีไดลงนาม ไปแลว โดยตกลงจะใหมีการลงนามในเดือนสิงหาคม 20084

4 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ, www.thaifta.com , กรกฎาคม 2551

SMEs 2 - 61

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.4.1.1 ปริมาณการคารวม และ SMEs ในระหวางป 2547 - 2550 ไทยและสาธารณรัฐเกาหลี มีมลู คาการคารวมทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทุกป โดยเฉพาะในป 2549 กอนจะชะลอตัวลงในป 2550 ที่มีมูลคาการคารวม 83,701.5 ลานบาทสำหรับ SMEs และ 263,079.6 ลานบาทในการคารวมของประเทศ โดยจากภาพที่ 2.43 จะเห็นไดวา ไทยนำเขามากกวาสงออกคอนขางมากทั้งใน SMEs และรายใหญ ทำให ขาดดุลในระดับที่คอนขางสูงในแตละป อยางไรก็ดี มูลคาการคารวมของ SMEs กับ สาธารณรัฐเกาหลีนั้น คิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 31.8 ของการคารวมของประเทศเทานั้น แสดงใหเห็นวา ผูป ระกอบการรายใหญมบี ทบาทสำคัญในการคาระหวางไทยและสาธารณรัฐ เกาหลี ทั้งในดานการสงออกและการนำเขา ภาพที่ 2.43 มูลคาการคารวมระหวางไทยและสาธารณรัฐเกาหลี ป 2547 - 2550 มูลคาการคารวม ไทย - สาธารณรัฐเกาหลี ป 2547 - 2550 ลานบาท 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0

2547

2548

2549

SMEs

Total

2550

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.44 มูลคาการคาระหวางไทยและสาธารณรัฐเกาหลี ป 2547 - 2550 ลานบาท 100,000 50,000 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000

มูลคาการคา ไทย - สาธารณรัฐเกาหลี ป 2547 - 2550 Balance Export

Import Balance Export

2547

Import Balance Export

2548

SMEs ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 2 - 62 SMEs

Import Balance Export

2549

Total

2550

2549

เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟา และสวนประกอบฯ ยางและของทำดวยยาง กระดาษและกระดาษแข็ง ของทำดวยเยือ่ กระดาษหรือกระดาษ ปลา สัตวนำ้ พลาสติกและของทีท่ ำดวยพลาสติก ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา ไม และของทำดวยไม เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล และสวนประกอบ ของปรุงแตงทำจากพืชผัก ผลไมฯ ทองแดงและของทำดวยทองแดง

85 40 48 03 39 16 44 84 20 74

2548

2549

770.0 3,387.4 2,256.6 2,346.4 697.3 1,209.5 473.5 638.3 330.8 57.2 12,166.9 67.2% 18,113.1

9,628.7 10,498.0 2,617.8 3,418.7 1,289.5 1,775.1 2,536.0 4,089.5 557.8 351.7 36,762.8 68.6% 53,554.8

963.6 4,208.8 2,619.2 2,360.7 1,187.3 1,248.9 542.4 581.3 461.2 79.3 14,252.7 73.1% 19,492.1

12,128.9 13,410.0 2,988.1 3,636.3 1,686.3 2,012.0 3,466.0 2,930.5 657.6 1,195.5 44,111.1 69.7% 63,289.7

4,799.6 3,698.9 2,821.6 2,117.3 1,783.5 1,096.9 671.2 653.4 566.4 525.0 18,733.9 74.7% 25,082.1

19,883.8 11,729.9 3,339.9 3,216.3 2,896.1 1,932.9 2,834.2 3,444.3 741.0 1,584.3 51,602.8 65.4% 78,856.3

SMEs Total SMEs Total SMEs Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม 10 อันดับ สัดสวนตอทัง้ หมด Total

รายการสินคา

HS2

2550

หนวย : ลานบาท

หนวย : ลานบาท

Export Import Balance 25,082.1 58,619.4 - 33,537.3 78,856.3 184,223.3 - 105,367.0

2550

-32.1% 16.9% 163.4% 12.1% -5.2% 1.2% -31.9% 26.8% -12.5% -48.4% 14.8% 2.4%

31.8%

5.4%

-7.4% 12.3% 132.9% 29.0% 10.7% -2.7% 54.2% -37.2% -11.8% 65.3% 3.5%

26.0% 27.7% 14.1% 6.4% 30.8% 13.3% 36.7% -28.3% 17.9% 239.9% 20.0%

398.1% -12.1% 7.7% -10.3% 50.2% -12.2% 23.7% 12.4% 22.8% 562.1% 31.4%

63.9% -12.5% 11.8% -11.5% 71.7% -3.9% -18.2% 17.5% 12.7% 32.5% 17.0% 7.6% 18.2% 28.7% 24.6%

25.1% 24.2% 16.1% 0.6% 70.3% 3.3% 14.6% -8.9% 39.4% 38.6% 17.1%

SMEs Total SMEs Total SMEs Total

Growth 48/47 Growth 49/48 Growth 50/49 24.1% 31.5% 84.5% 65.8% 61.6% 56.7% 23.7% 19.0% 76.4% 33.1% 36.3%

สัดสวน SMEs

Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance 17,686.5 51,582.7 - 33,896.3 18,113.1 54,891.0 - 36,777.9 19,492.1 57,707.9 - 38,215.8 50,826.9 144,305.3 - 93,478.4 53,554.8 155,824.5 - 102,269.7 63,289.7 191,957.0 - 128,667.4

2548

ตารางที่ 2.20 สินคาสงออกที่สำคัญ 10 ลำดับแรก ของ SMEs ป 2548 - 2550

SMEs Total

2547

ตารางที่ 2.19 มูลคาการคาระหวางไทย และสาธารณรัฐเกาหลี ป 2547 - 2550

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

SMEs 2 - 63

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.4.1.2 สินคาสงออกที่สำคัญของไทย - สาธารณรัฐเกาหลี รายการสินคาสงออกของ SMEs ไปยังสาธารณรัฐเกาหลีทมี่ มี ลู คาสูงสุดไดแก สินคา ในกลุมเครื่องใชไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) โดยสินคาที่สำคัญคือ ชิ้นสวนหรือสวน ประกอบของเครือ่ งรับโทรทัศน (852990) โทรศัพท (851711) ซึง่ มีอตั ราการขยายตัวโดดเดน มากในป 2550 โดยเฉพาะในสวนของผูป ระกอบการ SMEs คือประมาณ 4 เทาจากปกอ นหนา ในขณะทีใ่ นภาพรวมของการสงออกของประเทศนัน้ ก็เติบโตในระดับสูงเชนกัน คือ รอยละ 63.9 อยางไรก็ดี การสงออกสินคาในกลุมนี้ บทบาทสำคัญอยูที่ผูประกอบการขนาดใหญ โดย SMEs นั้น มีสัดสวนการสงออกในป 2550 เพียงรอยละ 24.1 เทานั้น กลุม สินคาทีม่ มี ลู คาการสงออกมากเปนลำดับทีส่ อง คือ ยางและของทำดวยยาง (พิกดั 40) โดยสินคาทีส่ ำคัญคือ ยางแผนรมควัน (400121) อืน่ ๆ ของยางธรรมชาติในลักษณะ ขัน้ ปฐม (400129) น้ำยางธรรมชาติ (400110) แตมลู คาการสงออกของสินคากลุม นีใ้ นป 2550 ลดลงถึงกวารอยละ 12 ทั้ง SMEs และรายใหญ ทั้งนี้ SMEs มีบทบาทในการสงออกสินคา ในกลุมนี้เพียงรอยละ 31.5 ของการสงออกไปสาธารณรัฐเกาหลีทั้งหมดเทานั้น กลุม สินคาทีส่ ง ออกไปเกาหลีใตมากเปนลำดับสาม ไดแก กระดาษและกระดาษแข็ง (พิกัด 48) ซึ่งนับเปนกลุมสินคาที่ SMEs มีบทบาทคอนขางสูง คือมีสัดสวนการสงออกถึง รอยละ 84.5 โดยสินคาทีส่ ำคัญในกลุม นี้ คือ กระดาษและกระดาษแข็ง น้ำหนักตัง้ แต 40 - 150 กรัมตอตารางเมตร เปนมวน (480255) ซึ่งมีการขยายตัวสูงมากในป 2548 กอนจะ สงออกไดชะลอตัวลงในป 2549 - 2550 ลำดับถัดลงไป ไดแก สินคาในกลุมของกุงและปลาแชเย็นแชแข็ง พลาสติก และของทำดวยพลาสติก อาหารปรุงแตงจากเนื้อสัตวและปลา โดยสินคาใน 10 ลำดับแรก ตามตารางที่ 2.20 รวมคิดเปนสัดสวนรอยละ 74.7 ของการสงออกของ SMEs ไปยังประเทศ สาธารณรัฐเกาหลีในป 2550 และมีการขยายตัวถึงรอยละ 31.4 ของการสงออกของ SMEs และมีอัตราการขยายตัวรอยละ 17.0 ของการสงออกไปสาธารณรัฐเกาหลีทั้งหมด

2 - 64 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.4.1.3 โอกาสและคูแขงทางการคาของไทยในตลาดสาธารณรัฐเกาหลี ในป 2550 นัน้ ไทยนับเปนคูค า ลำดับทีย่ สี่ บิ ของเกาหลีใต โดยมีสว นแบงการตลาด ในสินคานำเขาทัง้ หมดของเกาหลีใตเพียงรอยละ 1.1 เทานัน้ แหลงนำเขาทีส่ ำคัญของเกาหลี ไดแก จีน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา ตะวันออกกลาง สหภาพยุโรป สำหรับประเทศในอาเซียน ทีอ่ ยูใ นลำดับทีส่ งู กวาไทยนัน้ ไดแก อินโดนีเซีย ซึง่ มีสว นแบงการตลาดรอยละ 2.6 มาเลเซีย รอยละ 2.4 และสิงคโปร รอยละ 1.9 ในชวงป 2547 - 2550 ที่ผานมา ประเทศที่สามารถสงออกมาเกาหลีใตไดเพิ่ม มากขึน้ อยางมีนยั สำคัญ จนกระทัง่ นำหนาประเทศญีป่ นุ ขึน้ เปนอันดับหนึง่ คือ ประเทศจีน สวนประเทศอื่นๆ นั้น มีอัตราการขยายตัวที่ไมโดดเดนมากนัก ภาพที่ 2.45 สัดสวนสินคาจากไทยในตลาดสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 สัดสวนการนำเขารวมของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 Indonesia 2.6% Kuwait 2.5% Other Asia, nes 2.8% Thailand 1.1% UAE 3.5% Australia 3.7% Germany 3.8% Others 30.3% Saudi5.9% Arabia USA 10.5% China Japan 17.7% 15.8%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 65

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.46 มูลคาการนำเขาของสาธารณรัฐเกาหลี จากประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก และไทย ป 2547 - 2550

70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0

Chi na Jap an Sau USA di A ra Ge bia rma Aus ny tral ia Oth U er A AE sia, Ind nes one sia Kuw a Tha it ilan d

ลานดอลลาร สรอ.

มูลคาการนำเขาของสาธารณรัฐเกาหลี จากประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก และไทย ป 2547 - 2550

2547

2548

2549

2550

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ในส ว นของสิ น ค า ส ง ออกที่ ส ำคั ญ ของ SMEs ไทยในตลาดเกาหลี ใ ต นั้ น สินคาในกลุมยางและของทำดวยยาง (พิกัด 40) ไทยนับเปนแหลงนำเขาอันดับหนึ่งของ เกาหลีใต โดยมีสดั สวนถึงรอยละ 20.1 โดยมีการเติบโตมากในป 2549 และคูแ ขงทีส่ ำคัญคือ ญี่ปุน จีน และอินโดนีเซีย ซึ่งในชวง 3 ปที่ผานมา มีอัตราการเติบโตคอนขางสูงเชนกัน โดยเฉพาะการนำเขาจากจีน ซึ่งเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง

2 - 66 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.47 สัดสวนการนำเขายางและของทำดวยยาง (พิกัด 40) ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 40 ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 Russian Federation 2.0% France 2.4% Vietnam 3.3% Germany 4.2% Malaysia 8.5% USA 9.2%

Others 9.3%

Thail and 20.1% Japan 19.0% Indonesia 10.2% China 11.7%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.48 การนำเขายางและของทำดวยยาง (พิกัด 40) ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2548 - 2550

ลานดอลลาร สรอ.

การนำเขาสินคาพิกัด 40 ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2548 - 2550 450 400 350 300 250 200 150 100 50 0

2548 Th and Thail In Indonesia G Germany

2549 Ja Japan U USA V Vietnam

CChina MMalaysia FFrance

2550 R Russian Federation

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 67

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

สำหรั บ สิ น ค า ในกลุ ม กระดาษและกระดาษแข็ ง และของทำด ว ยกระดาษ (พิกัด 48) ซึ่งเปนสินคาที่ SMEs ไทยสงออกไปมากเปนลำดับที่สองนั้น ปรากฎวา สินคาไทยมีสวนแบงในตลาดนำเขาของเกาหลีรอยละ 7.9 โดยเกาหลีใตนำเขาจากจีน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุนมากที่สุด และนำเขาจากไทยเปนลำดับที่สี่ โดยใน 3 ปที่ผานมา มีอัตราการขยายตัวพอสมควร แตที่โดดเดนที่สุด ไดแก การนำเขาจากจีน ซึ่งมีอัตราการ ขยายตัวที่สูงอยางตอเนื่อง ภาพที่ 2.49 สัดสวนการนำเขากระดาษและกระดาษแข็ง (พิกัด 48) ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 สัดสวนการนำเขาพิกัด 48 ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 Italy 2.8% France 2.9% Finland 3.8% Germany 4.6% Indonesia 5.7%

Other Asia, nes 2.5% Others 16.1% China 20.6%

Thailand 7.9% Japan 16.0%

USA 17.1%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ลานดอลลาร สรอ.

ภาพที่ 2.50 การนำเขากระดาษและกระดาษแข็ง (พิกัด 48) ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2548 - 2550 300 250 200 150 100 50 0

การนำเขาพิกัด 48 ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2548 - 2550

2548 China C Indonesia In Ital It y

2549 UUSA GGermany OOther Asia, nes

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 2 - 68 SMEs

2550 JJapan FFinland Thailand Th

FrFrance

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

สินคาทีส่ ำคัญสำหรับ SMEs ไทยเปนลำดับทีส่ ามคือ สินคาในกลุม เครือ่ งจักรไฟฟา เครื่องอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) นั้น ประเทศเกาหลีใตนำเขาจากไทยเปน ลำดับที่แปด โดยมีสัดสวนเพียงรอยละ 2.3 โดยแหลงนำเขาที่สำคัญของเกาหลีใตในสินคา กลุม นีค้ อื จีน ญีป่ นุ และสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะจากประเทศจีน ทีม่ อี ตั ราการขยายตัวสูงมาก ในระยะ 3 ปที่ผานมาดวย ภาพที่ 2.51 สัดสวนการนำเขาเครื่องจักรไฟฟา เครื่องอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 การนำเขาพิกัด 85 ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2550 Philippines 2.2%

Thailand 2.3% Germany 3.2% Malaysia 3.7% Singapore 8.1% Other Asia, nes11.2%

China, Hong Kong SAR 2.0% Others 8.0% USA 12.2%

China 28.9% Japan 18.2%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.52 การนำเขาเครื่องจักรไฟฟา เครื่องอุปกรณไฟฟาและสวนประกอบ (พิกัด 85) ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2548 - 2550

ลานดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 85 ของสาธารณรัฐเกาหลี ป 2548 - 2550

18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0 2548 C China O Asia, nes Other G Germany

2549 Ja U USA Japan S M aysia Mal Singapore Thh and P ippines Phil Thail

2550 C China, H Kong SAR Hong

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 69

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.4.2 การจัดทำความตกลงการคาเสรีระหวางอาเซียน - สหภาพยุโรป (ASEAN - EU Free Trade Agreement) ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและสหภาพยุโรป ครัง้ ที่ 8 ณ ประเทศบรูไน เมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม 2550 ทัง้ สองฝายไดประกาศเจตนารมณทจี่ ะเจรจาความตกลงการคา เสรีระหวางอาเซียนและสหภาพยุโรปโดยเปนการเจรจาระหวางภูมิภาคตอภูมิภาค การประชุมคณะกรรมการรวมจัดทำความตกลงการคาเสรีอาเซียน - สหภาพยุโรป ไดมีการเจรจามาแลว 3 ครั้ง ลาสุดจัดขึ้นระหวางวันที่ 30 มกราคม - 1 กุมภาพันธ 2551 ณ กรุงบรัสเซลส ประเทศเบลเยี่ยม โดยการประชุมยังอยูในขั้นตอนของการแลกเปลี่ยน ขอคิดเห็นและความคาดหวังของแตละประเทศ โดยในครั้งนี้สหภาพยุโรปไดนำเสนอ หัวขอตางๆ ที่ตองการใหรวมอยูในความตกลง ไดแก การคาสินคา มาตรการสุขอนามัย อุปสรรคทางเทคนิคทางการคา กฏวาดวยถิน่ กำเนิดสินคา การตอตานการฉอโกงทางศุลกากร มาตรการที่มิใชภาษี มาตรการเยียวยาทางการคา การอำนวยความสะดวกทางการคา การคาบริการ การลงทุน การจัดซื้อโดยรัฐ การคุมครองทรัพยสินทางปญญา การแขงขัน การพัฒนาที่ยั่งยืน (สิ่งแวดลอม แรงงาน และสังคม) การเคลื่อนยายเงินทุน และการยุติ ขอพิพาท5 2.4.2.1 ปริมาณการคารวม และ SMEs ในป 2550 ไทยและสหภาพยุโรป (EU27) ไดมมี ลู คาการคารวม 976,687.4 ลานบาท โดยเปนบทบาทการคาของ SMEs รวม 397,953.4 ลานบาท หรือรอยละ 40.7 และมี การขยายตัวอยางตอเนื่อง และในป 2550 มูลคาการคารวมของ SMEs ขยายตัวจาก ปกอนหนารอยละ 3.9 และในภาพรวมของประเทศขยายตัวถึงรอยละ 7.3 คูคาที่สำคัญของไทยในกลุมสหภาพยุโรป 27 ประเทศนั้น เรียงตามลำดับ มูลคาการคารวม ไดแก เยอรมนี สหราชอาณาจักร เนเธอรแลนด ฝรัง่ เศส อิตาลี และเบลเยีย่ ม สำหรับไทยกับเยอรมนีนั้น ไทยเสียเปรียบดุลการคามาโดยตลอดทั้ง SMEs และรายใหญ แตสำหรับไทยและสหราชอาณาจักร ไทยไดเปรียบดุลการคาทัง้ SMEs และรายใหญเชนกัน ซึ่งในการคากับทั้งสองประเทศนี้ SMEs นับวามีบทบาทอยูพอสมควร แตสำหรับการคา กับเนเธอรแลนด จะเห็นวา SMEs มีสดั สวนอยูน อ ยมากทัง้ ในดานการสงออกและการนำเขา 5 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ, www.thaifta.com , กรกฎาคม 2551)

2 - 70 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.53 มูลคาการคารวมระหวางไทยและสหภาพยุโรป (EU27) ป 2550 มูลคาการคารวมระหวางไทยและ EU27 ป 2550

GER NET MANY HER L U FRAANDKS NC BEL ITLAYE GIU M SWSPAIN E D I DERNELANEN D AUMAR FIN STRIAK L CZAEND P C HUNOLANH GA D POGREECRY SLORTUGAE RO VANI L M A CYAPNIA M RU LUX BULGALTAS EM AR SLOBOURIA LITHVAN G U IA EST ANIA O LATNIA VIA

ลานบาท 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 -

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.54 มูลคาการคาระหวางไทยและคูคาสำคัญใน EU27 ป 2547 - 2550 ลานบาท

มูลคาการคา ไทย - เยอรมนี

100,000 50,000 0 Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance 50,000 100,000 150,000 2547 2548 2549 2550

มูลคาการคา ไทย - สหราชอาณาจักร 120,000 80,000 40,000 0 Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance 40,000 80,000 2547 2548 2549 2550 มู ล ค า การค า ไทย เนเธอร แ ลนด 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 Import Import Import Import 20,0000 Export Balance Export Balance Export Balance Export Balance 20,000 40,000 2547 2548 2549 2550

SMEs

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 71

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ตารางที่ 2.21 มูลคาการคารวมระหวางไทยและสหภาพยุโรป ป 2547 - 2550 2547

2548

2549

หนวย : ลานบาท ว 2550 อัตราการขยายตั ป 2550

SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total Total 353,026.7 814,341.4 380,023.0 881,192.2 382,875.1 910,380.0 397,953.4 976,687.4 3.9% 7.3% EU27 ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ตารางที่ 2.22 มูลคาการนำเขาและสงออกระหวางไทยและสหภาพยุโรป ป 2547 - 2550 หนวย : ลานบาท

EU27 AUSTRIA BELGIUM BULGARIA CYPRUS CZECH REP. DENMARK ESTONIA FINLAND FRANCE GERMANY GREECE HUNGARY

SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total

2 - 72 SMEs

Export 47 Import 47 1,523.0 4,817.8 5,649.4 8,519.9 19,868.4 13,151.4 40,479.4 28,539.6 145.0 432.7 242.8 477.1 421.2 64.7 1,074.4 68.4 900.6 1,103.6 4,168.9 2,100.6 4,197.1 4,311.2 9,606.4 7,902.3 90.5 412.0 151.8 499.3 884.1 8,584.1 2,580.8 11,676.5 20,354.6 16,855.9 39,400.2 42,026.9 24,433.1 49,783.1 53,475.7 114,374.3 1,893.4 275.5 3,066.4 753.6 507.0 747.0 3,322.7 1,320.2

Export 48 Import 48 1,982.4 3,400.3 6,544.2 6,251.8 18,828.9 15,428.9 39,178.6 24,794.5 185.8 488.6 404.2 737.6 464.8 161.6 1,085.4 161.8 1,451.4 1,357.1 5,110.5 2,563.1 5,161.9 4,678.2 11,276.8 7,817.8 123.8 103.1 171.9 137.6 793.1 7,935.1 3,037.0 11,067.5 20,806.6 21,975.2 41,871.3 75,415.2 26,508.4 56,482.1 57,150.5 128,748.4 2,390.4 401.4 3,381.9 1,114.2 451.3 443.5 3,012.1 1,410.1

Export 49 Import 49 1,856.7 3,496.4 7,949.9 7,016.1 18,569.6 15,109.4 36,484.6 26,314.2 153.8 343.0 509.1 4,815.8 624.6 106.8 1,340.5 110.3 1,960.6 2,185.5 6,077.2 3,719.1 6,839.4 4,509.8 15,372.1 8,857.5 208.4 89.3 297.7 624.0 1,040.6 7,973.5 3,457.8 11,619.7 20,522.4 19,860.2 41,527.1 55,867.4 29,359.7 56,617.8 65,173.4 124,353.5 1,943.1 229.9 3,306.2 779.4 527.9 797.5 5,866.7 2,710.9

Export 50 Import 50 4,516.9 4,473.1 13,424.6 8,887.8 19,397.7 14,475.6 43,517.5 24,896.4 231.9 455.8 733.9 1,049.4 561.3 78.8 1,793.0 91.0 2,540.7 1,923.1 11,093.7 3,833.0 6,806.8 4,000.7 17,534.9 7,162.3 277.9 31.6 580.7 73.8 1,536.3 5,945.9 4,913.8 11,044.2 22,761.0 20,079.4 47,508.1 45,163.0 29,261.0 64,664.7 76,639.7 136,408.2 2,576.4 162.8 4,802.6 1,212.4 645.3 700.8 7,783.3 2,369.1

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ตารางที่ 2.22 (ตอ) มูลคาการนำเขาและสงออกระหวางไทยและสหภาพยุโรป ป 2547 - 2550 หนวย : ลานบาท

EU27 IRELAND ITALY LATVIA LITHUANIA LUXEMBOURG MALTA NETHERLANDS POLAND PORTUGAL ROMANIA SLOVAKIA SLOVENIA SPAIN SWEDEN UNITED KINGDOM

SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total SMEs Total

Export 47 Import 47 1,988.3 2,719.4 22,252.2 7,478.8 12,696.1 22,300.0 29,947.6 40,661.5 133.6 55.3 163.1 94.1 80.6 18.4 218.7 35.1 324.7 86.5 1,532.3 222.5 180.0 331.4 364.4 2,812.4 13,996.6 8,929.6 76,792.0 26,216.7 1,304.4 2,685.9 2,278.0 4,546.4 1,079.9 404.6 1,936.7 811.1 492.5 327.6 834.6 938.8 125.8 233.3 190.8 364.7 72.5 268.6 147.3 393.4 6,842.0 5,077.2 17,272.2 10,925.1 3,774.0 8,448.7 10,828.6 15,416.6 59,903.3 22,388.7 105,984.0 51,204.1

Export 48 Import 48 Export 49 Import 49 2,167.4 2,114.3 2,784.8 2,558.9 25,087.7 7,207.9 24,660.6 6,844.2 12,987.1 23,761.2 13,860.1 24,398.3 27,379.1 45,579.0 32,107.3 56,543.4 172.7 36.1 238.7 24.7 357.1 47.3 618.3 39.8 78.9 16.3 102.3 28.0 316.7 60.3 205.1 78.4 388.1 93.4 406.7 119.0 1,415.8 217.1 1,158.4 273.5 110.4 16.0 87.0 52.2 339.9 1,412.0 314.8 1,599.8 15,083.5 10,943.4 16,202.1 10,765.5 81,766.4 28,876.4 90,003.4 28,022.3 1,196.5 2,442.9 1,567.5 2,101.8 2,519.3 4,912.7 4,661.4 3,658.0 966.7 1,070.5 1,010.0 1,016.9 2,237.3 1,328.0 2,441.7 1,930.7 515.9 762.7 597.4 327.2 895.5 1,168.0 975.1 639.8 146.7 224.2 118.5 101.7 455.4 495.9 344.6 592.2 128.0 320.8 148.3 332.5 202.4 472.7 226.5 499.7 6,798.7 6,424.6 7,240.3 7,168.4 18,155.1 13,546.1 22,439.0 13,358.5 3,809.5 9,803.9 4,436.1 9,362.9 10,372.7 17,827.5 11,759.7 17,273.1 59,948.0 25,490.9 57,547.9 23,243.2 102,667.9 51,429.2 103,421.5 49,538.9

Export 50 Import 50 2,364.3 2,160.9 21,966.9 6,756.3 13,329.7 24,812.9 37,748.5 47,389.6 217.7 27.5 454.1 40.6 170.3 61.9 669.6 101.0 386.8 142.4 1,445.1 259.0 280.1 54.3 450.8 1,391.7 16,547.7 10,172.1 94,202.8 30,523.4 1,866.5 1,354.4 5,672.7 2,416.2 1,024.6 549.8 3,429.6 1,153.3 602.5 176.8 1,403.5 488.7 168.0 181.7 2,101.3 533.9 204.6 276.4 407.2 448.1 9,220.7 6,276.7 25,704.9 14,287.3 5,047.0 7,719.8 13,745.8 15,386.9 61,406.6 23,043.3 120,868.4 52,723.7

Total EU27 SMEs 178,212.3 174,814.5 183,646.9 196,376.2 189,954.7 192,920.5 203,950.4 194,002.9 Total 433,961.3 380,380.1 446,392.6 434,799.5 482,699.8 427,680.2 560,597.1 416,090.3 ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 73

2 - 74 SMEs

รายการสินคา SMEs

Total

สัดสวน SMEs

7,085.3 8,591.9 5,142.1 6,222.4 110,683.7 60.3% 183,646.9

62,000.1 9,639.2 66,707.3 15,410.1 268,467.2 60.1% 446,392.6

7,458.7 8,457.8 6,560.4 7,340.7 113,464.1 59.7% 189,954.7

53,461.4 9,469.9 71,275.3 18,399.3 272,698.3 56.5% 482,699.8

8,565.1 8,406.7 7,099.0 6,938.9 120,903.3 59.3% 203,950.4

88,791.8 10,061.9 83,124.8 20,727.5 338,573.2 60.4% 560,597.1

52.8 20.2 9.4 -0.8 7.1 3.0

9.6% 83.5% 8.5% 33.5% 35.7% 36.4%

2.9

3.4

28.1 5.3 14.7 -1.6 -10.6 27.6 11.0 18.0 7.8 2.5

8.1

-13.8 -1.8 6.8 19.4 1.6

21.7 7.9 2.0

7.7 -21.6 3.1

7.4

14.8 -0.6 8.2 -5.5 6.6

16.1

66.1 6.3 16.6 12.7 24.2

4.2 17.4 38.1 32.2 -7.7 -6.1

8.6 15.2 22.9 20.2 -15.3 -11.3

SMEs Total SMEs Total SMEs Total

32.6 35.8 2.7 27.3 44.5 19.8 3.4 -3.0 1.4

SMEs Total

หนวย : ลานบาท

Growth 48/47 Growth 49/48 Growth 50/49

9,833.9 23,269.1 10,100.5 28,307.9 10,523.6 33,232.2 31.7% 6,341.7 16,100.2 7,599.1 17,377.1 10,496.3 22,974.6 45.7% 9,455.4 10,518.6 9,587.3 10,732.4 8,851.2 10,076.7 87.8%

Total

2550 -4.0 -1.6 6.4 -0.9 0.5 -21.3 2.0 4.0 2.6

SMEs

2549

27,583.6 30,017.8 29,345.4 32,330.4 31,863.5 37,248.8 85.5% 17,566.7 18,373.8 13,816.7 14,411.3 16,980.2 17,316.9 98.1% 12,860.9 16,431.0 13,197.4 16,933.4 11,178.8 15,017.9 74.4%

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม 10 อันดับ สัดสวนตอทัง้ หมด Total

71 ไขมกุ รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ 17 น้ำตาลและขนมทำจากน้ำตาล 61 เครือ่ งแตงกายและของทีใ่ ชประกอบกับเครือ่ งแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต 16 ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา หรือสัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย 39 พลาสติกและของทำดวยพลาสติก 62 เครือ่ งแตงกายและของทีใ่ ชประกอบกับเครือ่ งแตงกาย ทีไ่ มไดถกั แบบนิตหรือแบบโครเชต 84 บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกลและสวนประกอบ 94 เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ 85 เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟา และสวนประกอบ 40 ยางและของทำดวยยาง

HS2

2548

ตารางที่ 2.23 สินคาสงออกสำคัญ 10 ลำดับแรก จากไทยไปสหภาพยุโรป (EU27) ป 2548 - 2550

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.4.2.2 สินคาสงออกที่สำคัญของไทย - สหภาพยุโรป สินคาสงออกที่สำคัญของ SMEs ไทย ในตลาดสหภาพยุโรป (EU27) ที่มีมูลคา สูงสุดในป 2550 ไดแก สินคาในหมวด HS71 ไขมุกธรรมชาติ หรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติ หรือกึ่งรัตนชาติ ซึ่ง SMEs มีสัดสวนถึงรอยละ 85.5 ของการสงออกไปยัง EU27 ทั้งหมด โดยสินคาในหมวดนี้ที่สำคัญ ไดแก เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและสวนประกอบของ ดังกลาว ทำดวยเงิน (HS711311) และทำดวยโลหะมีคาอื่นๆ (HS711319) จะชุบหรือหุม ติดดวยโลหะมีคา หรือไมกต็ าม และเพชร จะตกแตงหรือไมกต็ าม แตไมไดประกอบกับตัวเรือน ไมใชในทางอุตสาหกรรม ซึ่งการสงออกสินคาในหมวดนี้นั้น มีอัตราการขยายตัวที่ดีขึ้น ตามลำดับในชวง 3 ปที่ผานมา สินคาสงออกทีส่ ำคัญของ SMEs ในลำดับทีส่ อง ไดแก น้ำตาล และขนมทำจากน้ำตาล (HS17) ซึ่งรายการพิกัดยอยที่สำคัญ ไดแก น้ำตาลที่ไดจากออย (HS170111 และ 170199) ซึ่งเคยสงออกไดลดลงในป 2548 - 2549 แตกลับมามีอัตราการขยายตัวเปนบวกอีกครั้งใน ป 2550 สินคาสงออกในลำดับที่สามของ SMEs ในตลาด EU27 ไดแก สินคาในหมวด HS61 เครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต โดยรายการสินคาในพิกดั ยอยทีส่ ำคัญ คือ HS611030 เจอรซี่ พูลโอเวอร เสือ้ ชนิดคารดแิ กน เสื้อกั๊กและเสื้อที่คลายกัน ถักแบบนิตหรือโครเชต ทำดวยเสนใยประดิษฐ และพิกัด HS 610990 ทีเชิต้ เสือ้ ชัน้ ในชนิดซิงเกลต และเสือ้ ชัน้ ในอยางอืน่ ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต ทำดวยวัตถุทออื่นๆ โดยการสงออกสินคาในหมวดนี้ไปยังตลาด EU27 นั้น SMEs มีบทบาทถึงรอยละ 74.4 แตในป 2550 สงออกไดลดลงจากปกอนหนาถึงรอยละ 15.3 สินคาทีส่ ำคัญในลำดับรองลงมา ไดแก ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว (พิกดั ยอยทีส่ ำคัญ ไดแก (HS160232) พลาสติก (ที่สำคัญ คือ HS390120 เม็ดพลาสติกโพลีเอทีลีน และ HS392331 กระสอบหรือถุงทำดวยโพลีเอทีลีน) โดยสินคาในกลุม 10 ลำดับแรกนั้น มีมูลคาคิดเปนรอยละ 59.3 ของสินคาที่ SMEs สงออกไปยังตลาดสหภาพยุโรปทั้งหมด และขยายตัวจากปกอนหนารอยละ 6.6 ซึ่งนอยกวาการขยายตัวของการสงออกโดยรวม คอนขางมาก เพราะสามารถขยายตัวไดถึงรอยละ 24.2

SMEs 2 - 75

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.4.2.3. โอกาสและคูแขงทางการคาของไทยในตลาดสหภาพยุโรป ประเทศตางๆ ในสหภาพยุโรป 27 ประเทศนั้น ทำการคาภายในกลุมสหภาพยุโรป ดวยกันเองมากกวากึ่งหนึ่ง แหลงนำเขาอื่นๆ นอกยุโรปที่สำคัญไดแก จีน สหรัฐอเมริกา ตะวันออกกลาง อาเซียน ญี่ปุน และเกาหลีใต โดยสำหรับประเทศไทยนั้น มีสัดสวนอยู ประมาณรอยละ 0.5 เทานั้น และในชวงระยะ 3 ปที่ผานมานั้น การนำเขาจากแตละแหลง ไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ภาพที่ 2.55 สัดสวนการนำเขารวมของสหภาพยุโรป ป 2550 การนำเขารวมของสหภาพยุโรป ป 2550 Malaysia 0.5% Singapore 0.6% Thailand 0.5% India 0.8% Rep. of Korea 1.0%

Indonesia 0.3%

Japan 2.4% Asia Middle East 2.6% USA 5.8% China 6.4%

Others 25.5% European Union 53.6%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.56 มูลคาการนำเขารวมของสหภาพยุโรป จากประเทศทีม่ มี ลู คาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

2548

Asia USA Mid Easdle Japt an Rep Kor . of ea Ind ia Sing apo re Ma lays ia Tha ilan d

2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

Euro Unipoean Chni na

ลานดอลลาร สรอ.

มูลคาการนำเขารวมของสหภาพยุโรป จากประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก ป 2548 - 2550

2549

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 2 - 76 SMEs

2550

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

สินคาในหมวดที่ SMEs สงออกไปสหภาพยุโรปไดสูงที่สุด คือ HS71 ไขมุก รัตนชาติหรือกึ่งรัตนชาติ หรือหมวดเครื่องประดับและอัญมณี นั้น ไทยมีสวนแบงใน การนำเขาสินคาในหมวดนี้เพียงรอยละ 2.1 เทานั้น โดยสวนใหญสหภาพยุโรปจะนำเขา จากภายในสหภาพยุโรปดวยกันเอง ซึ่งมีมูลคาเพิ่มสูงมากขึ้นตลอดชวง 3 ปที่ผานมา แหลงนำเขาอื่น ไดแก สหรัฐอเมริกา จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง ซึ่งมูลคาการนำเขาในป 2550 ไมแตกตางจากปกอนหนามากนัก ภาพที่ 2.57 สัดสวนการนำเขาสินคาในหมวดไขมุกธรรมชาติหรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติ หรือกึ่งรัตนชาติ (พิกัด 71) ของสหภาพยุโรป ป 2550 การนำเขาพิกัด 71 ของสหภาพยุโรป ป 2550 Others 50.0%

Singapore 0.1% Indonesia 0.1% Rep. of Korea 0.4%

European 27.5%Union USA 6.8% China 4.4% India 4.2% Asia Middle East 3.5% Thailand 2.1% Japan 1.0%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 77

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.58 การนำเขาสินคาในหมวดไขมุกธรรมชาติหรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติหรือ กึ่งรัตนชาติ (พิกัด 71) ของสหภาพยุโรป ป 2548 - 2550

ลานดอลลาร สรอ.

20,000

การนำเขาพิกัด 71 ของสหภาพยุโรป ป 2548 - 2550

15,000 10,000 5,000 0 2548 EEuropean Union InIndia Japan Ja

2549 UUSA AAsia Middle East RRep. of Korea

Chiana C Thail Th and Indonesia In

2550 Singapore Si

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

สินคาทีส่ ง ออกไดมากเปนลำดับทีส่ องคือ น้ำตาล หรือขนมทำจากน้ำตาล ในหมวด พิกดั HS 17 นัน้ สหภาพยุโรปนำเขาจากไทยเพียงรอยละ 0.2 เทานัน้ โดยเกือบ 3 ใน 4 ของ การนำเขาทัง้ หมด มาจากในสหภาพยุโรปดวยกันเอง และการนำเขาจากประเทศอืน่ ๆ นัน้ มีการเปลี่ยนแปลงนอยมากในชวง 3 ปที่ผานมา ภาพที่ 2.59 สัดสวนการนำเขาสินคาน้ำตาล (พิกัด 17) ของสหภาพยุโรป ป 2550 การนำเขาพิกัด 17 ของสหภาพยุโรป ป 2550 China 0.7% Thailand 0.2% USA 0.8%

Asia Middle East 1.0% India 1.1%

Japan 0.0% Others 23.0%

European 73.1%Union

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 78 SMEs

Indonesia 0.0% Mal 0.0% 0.0% Rep.aysia of Korea

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.60 การนำเขาสินคาน้ำตาล (พิกัด 17) ของสหภาพยุโรป ป 2548 - 2550 การนำเขาพิกัด 17 ของสหภาพยุโรป ป 2548 - 2550 ลานดอลลาร สรอ.

8,000 6,000 4,000 2,000 0 2548 EEuropean Union UUSA JJapan a

India In China C Indonesia In

2549 AAsia Middle East Thailand Th MMalaysia

2550 Rep. R of Korea

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

สำหรับสินคาที่ SMEs ไทยสงออกไปสหภาพยุโรปในมูลคาสูงเปนลำดับที่สามคือ เครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต นั้น ในป 2550 สหภาพยุ โ รปนำเข า จากประเทศภายในกลุ ม ด ว ยกั น เองร อ ยละ 27.8 จากประเทศจีนรอยละ 20.8 ตะวันออกกลางรอยละ 13.2 อินเดียรอยละ 4.6 อินโดนีเซีย รอยละ 1.6 และไทยรอยละ 1.3 ซึ่งถึงแมไทยจะอยูในลำดับตนๆ แตสัดสวนในตลาดนั้น ตางจากประเทศในลำดับทีส่ งู กวาอยูม าก และในชวง 3 ปทผี่ า นมานัน้ การนำเขาจากในตลาด สหภาพยุโรปดวยกันเองมีแนวโนมลดลง ในขณะทีก่ ารนำเขาจากจีนเพิม่ มากขึน้ อยางตอเนือ่ ง

SMEs 2 - 79

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.61 สัดสวนการนำเขาเครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต (พิกัด 61) ของสหภาพยุโรป ป 2550 การนำเขาพิกัด 61 ของสหภาพยุโรป ป 2550

Singapore 0.1% USA 0.4% Malaysia 0.4% Rep. of Korea 0.6%

Thailand 1.3%

European Others 27.8%Union 29.3% China Asia EastMiddl 13.2%e 20.8% India 4.6% Indonesia 1.6%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.62 การนำเขาสินคาเครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต (พิกัด 61) ของสหภาพยุโรป ป 2548 - 2550

ลานดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 61 ของสหภาพยุโรป ป 2548 - 2550 20,000 15,000 10,000 5,000 0 2548 EEuropean Union InIndia RRep. of Korea

2549 CChina InIndonesia MMalaysia

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 80 SMEs

Asia A Middle East Thail Th and USA U

2550 Singapore S

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.4.3 เขตการคาเสรีไทย - สหรัฐอเมริกา (Thailand - US Free Trade Agreement) ในการประชุมรัฐมนตรีการคาเอเปค 2002 เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2002 ณ เมือง ลอสคาบอส ประเทศเม็กซิโก รมว.พณ.ไทยและสหรัฐฯ รวมลงนามกรอบความตกลงดาน การคาและการลงทุน (Trade and Investment Framework Agreement between the United States and the Kingdom of Thailand: TIFA) เพื่อแกไขปญหาและอุปสรรคทางการคา ระหวางกัน รวมทั้งเพื่อปูทางสำหรับการจัดตั้งเขตการคาเสรีในอนาคต ในการประชุมผูนำเอเปค 2003 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2003 ณ กรุงเทพฯ ผูนำของ ทั้งสองประเทศไดเห็นชอบใหเริ่มการเจรจาจัดทำเขตการคาเสรีระหวางกัน โดยใหเริ่ม การเจรจาในป 2004 กรอบการเจรจา ครอบคลุมเรื่องการเปดเสรีดานการคาสินคา การคาบริการ และการลงทุน รวมทัง้ ความรวมมือทางเศรษฐกิจในสาขาตางๆ การเจรจาแบงออกเปนกลุม 22 กลุม ไดแก (1) การเปดตลาดสินคาเกษตร (2) การเปดตลาดสินคาอุตสาหกรรม (3) การเป ด ตลาดสิ่ ง ทอและเสื้ อ ผ า สำเร็ จ รู ป (4) กฎว า ด ว ยแหล ง กำเนิ ด สิ น ค า (5) การคาบริการ (6) การลงทุน (7) โทรคมนาคม (8) การเปดเสรีภาคการเงิน (9) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (10) ระเบียบพิธีการศุลกากร (11) มาตรการสุขอนามัย (12) มาตรการเยี ย วยาทางการค า (13) ความโปร ง ใส (14) การระงั บ ข อ พิ พ าท (15) การจัดซื้อโดยรัฐ (16) นโยบายการแขงขัน (17) วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (18) วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม (SMEs) (19) ทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา (20) อุ ป สรรคทางเทคนิ ค ต อ การค า (21) การสร า งขี ด ความสามารถทางการค า (22) แรงงานและสิ่งแวดลอม ไทยและสหรัฐอเมริกาไดดำเนินการเจรจาจนถึงรอบที่ 6 ระหวางวันที่ 9 - 13 มกราคม 2549 ที่เชียงใหม แตปจจุบันสหรัฐฯ ขอหยุดเจรจา โดยใหมีการสานตอความสัมพันธทาง การคาและการหารือในประเด็นตางๆ ไดตามปกติ6

6 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ, www.thaifta.com , กรกฎาคม 2551

SMEs 2 - 81

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

2.4.3.1 ปริมาณการคารวม และ SMEs ปริมาณการคารวมระหวางไทยและสหรัฐอเมริกา มีมลู คา 1,041,232.4 ลานบาท ในป 2550 โดยในชวงระยะ 4 ปที่ผานมามีการเติบโตคอนขางสูงในป 2548 กอนจะชะลอลงในป 2549 และลดลงเล็กนอยในป 2550 สำหรับ SMEs ไมมกี ารเปลีย่ นแปลงมากนัก และมีบทบาท นอยเมื่อเทียบกับมูลคาการคารวมทั้งหมด โดยในป 2550 SMEs มีมูลคาการคารวมเพียง 276,476.2 ลานบาท หรือ รอยละ 26.6 ของมูลคาการคารวมระหวางสองประเทศ อยางไรก็ดี ทัง้ SMEs และในภาพรวมของประเทศ ยังคงไดดลุ การคากับสหรัฐอเมริกามาอยางตอเนือ่ ง ภาพที่ 2.63 มูลคาการคารวมระหวางไทย - สหรัฐอเมริกา ป 2547 - 2550 ลานบาท 1,200,000 1,000,000 900,000 600,000 400,000 200,000 0

มูลคาการคารวม ไทย - สหรัฐอเมริกา ป 2547 - 2550

2547

2548

SMEs ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 82 SMEs

2549

Total

2550

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.64 มูลคาการคาระหวางไทย-สหรัฐอเมริกา ป 2547 - 2550 ลานบาท 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0 200,000 400,000 600,000

มูลคาการคา ไทย - สหรัฐอเมริกา ป 2547 -2550

Export

Import Import Import Import Balance Export Balance Export Balance Export Balance

2547

2548

SMEs

2549

2550

Total

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 83

2 - 84 SMEs

2549

รายการสินคา

2550

7,210.6 8,800.9 8,082.7 6,874.1 121,075.8 69.0% 175,406.1

182,655.0 14,509.9 11,494.0 19,128.0 516,054.2 74.8% 690,215.0

6,881.2 5,849.1 7,399.5 7,333.6 119,443.0 67.5% 176,939.3

192,851.8 11,084.8 9,965.4 17,446.7 563,498.4 74.7% 754,497.5

8,642.3 5,991.7 5,934.1 5,606.6 112,396.1 67.4% 166,645.1

185,807.1 9,845.6 7,106.0 14,282.9 532,294.5 74.9% 710,569.5

0.1

23.5%

3.6 17.0

0.9

4.7% -1.6 9.7 -4.6 60.9% 3.4 3.8 -33.5 83.5% 31.4 3.4 -8.5 39.3% 87.3 91.8 6.7 21.1% 1.7 21.8 -1.3

8,350.2 137,861.1 8,354.9 180,816.0 9,790.0 175,812.4 5.6% -20.1 56.3

9.3

5.6 -23.6 -13.3 -8.8 9.2

31.2

10.0 -8.8

11.6

-7.5 -2.4

-5.8

25.6 2.4 -19.8 -23.5 -5.9

17.2

-23.2 -17.2

-1.2

1.2 -8.9

-5.8

-3.7 -11.2 -28.7 -18.1 -5.5

-2.8

-12.0 -17.9

-5.4

2.0 -8.8

SMEs Total SMEs Total SMEs Total

-3.0 2.0 8.2 -7.6 -3.1 -7.6

สัดสวน SMEs

13,998.9 36,936.3 15,142.0 40,616.9 11,636.2 35,748.9 32.5% 14,592.0 22,153.5 13,485.4 20,198.4 11,168.8 16,592.1 67.3%

Total

1.3 27.9 21.1

Total SMEs

หนวย : ลานบาท

Growth 48/47 Growth 49/48 Growth 50/49

9,787.7 23,109.6 11,855.3 25,796.6 11,712.7 24,394.8 48.0%

SMEs

2550 4.4 37.0 4.5 -3.6 5.2 -7.2

Total

2549

24,659.4 36,559.7 25,763.4 33,833.8 26,078.1 34,522.6 75.5% 18,719.2 31,647.2 17,378.5 30,888.1 15,835.6 28,182.1 56.2%

SMEs

ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

รวม 10 อันดับ สัดสวนตอทัง้ หมด Total

71 ไขมกุ รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ 61 เครือ่ งแตงกายและของทีใ่ ชประกอบกับเครือ่ งแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต 03 ปลา สัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก สัตวนำ้ ไมมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ 16 ของปรุงแตงจากเนือ้ สัตว ปลา หรือสัตวนำ้ จำพวกครัสตาเซีย 62 เครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ทีไ่ มไดถกั แบบนิตหรือแบบโครเชต 84 บอยเลอร เครือ่ งจักร เครือ่ งใชกล และสวนประกอบของเครือ่ งดังกลาว 85 เครือ่ งจักรไฟฟา เครือ่ งอุปกรณไฟฟา และสวนประกอบ 94 เฟอรนเิ จอร เครือ่ งเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ 99 ธุรกรรมพิเศษ 39 พลาสติกและของทำดวยพลาสติก

HS2

2548

ตารางที่ 2.25 สินคาสงออกที่สำคัญ ไทย - สหรัฐอเมริกา ตามรายการสินคา 10 ลำดับแรก ป 2548 - 2550

SMEs Total

2548

หนวย : ลานบาท

Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance Export Import Balance 169,263.1 89,161.6 80,101.5 175,406.1 110,910.8 64,495.2 176,939.3 109,523.2 67,416.1 166,645.1 109,831.1 56,814.0 589,802.5 291,196.7 298,605.8 690,215.0 349,469.1 340,745.9 754,497.5 326,808.0 427,689.5 710,569.5 330,662.9 379,906.7

2547

ตารางที่ 2.24 มูลคาการคาระหวางประเทศไทย - สหรัฐอเมริกา ป 2547 - 2550 รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

2.4.3.2 สินคาสงออกที่สำคัญของไทย - สหรัฐอเมริกา ในการสงออกไปยังสหรัฐอเมริกานัน้ SMEs มีบทบาทรวมเพียงรอยละ 23.5 เทานัน้ และสินคาในสิบลำดับแรกนัน้ คิดเปนมูลคารวมรอยละ 67.4 ซึง่ สินคากลุม ทีม่ มี ลู คาสูงสุดนัน้ คือ หมวด HS71 ไขมกุ ธรรมชาติหรือไขมกุ เลีย้ ง รัตนชาติหรือกึง่ รัตนชาติ โดยสินคาในหมวด พิกัดยอยที่สำคัญคือ เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณและสวนประกอบของของดังกลาว ทำดวยโลหะมีคา อืน่ ๆ (HS711319) และทำดวยเงิน (HS711311) จะชุบหรือหุม ติดดวยโลหะ มีคาหรือไมก็ตาม โดยการสงออกในหมวดนี้ SMES มีสัดสวนสูงถึงรอยละ 75.5 สินคาทีม่ มี ลู คาสูงเปนลำดับทีส่ อง ไดแก สินคาในหมวดพิกดั HS61 เครือ่ งแตงกาย และของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต โดยพิกัดยอยที่สำคัญ คือ เสื้อผาและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกายของเด็กเล็ก (HS611120) แตการสงออก ของสินคาในหมวดนี้ของ SMEs มีอัตราการขยายตัวที่ติดลบมาตลอด 3 ปที่ผานมา ลำดับที่สามไดแก สินคาในหมวด HS03 ปลา สัตวน้ำจำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก สัตวน้ำไมมีกระดูกสันหลังอื่นๆ ซึ่งพิกัดยอยที่มีมูลคาในลำดับสูงไดแก กุงแชเย็นแชแข็ง (HS030613) โดย SMEs มีบทบาทในการสงออกสินคาในหมวดนี้ไปยังสหรัฐอเมริกา รอยละ 48.0 ซึ่งในป 2550 มีการสงออกไดลดลง หลังจากที่ขยายตัวไดคอนขางสูงในป 2549 2.4.3.3. โอกาสและคูแขงทางการคาของไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกานัน้ นับเปนตลาดสงออกในลำดับตนของไทยมาโดยตลอด ในป 2550 มีการนำเขาจากไทยนับเปนลำดับที่สิบแปด ในป 2550 โดยมีสัดสวนเพียงรอยละ 1.2 ของ การนำเขารวมของสหรัฐอเมริกาเทานัน้ โดยแหลงนำเขาสำคัญของสหรัฐอเมริกาไดแก จีน แคนาดา เม็กซิโก ญี่ปุน และเยอรมนี ทั้งนี้ สำหรับประเทศจีนนั้น สามารถสงออกไปยัง สหรัฐอเมริกาไดสงู ขึน้ อยางตอเนือ่ ง จนสามารถขึน้ เปนลำดับหนึง่ แทนแคนาดาไดในป 2550 สวนไทยมีอัตราการเติบโตในตลาดสหรัฐอเมริกาไมมากนัก ในระยะเวลา 3 ปที่ผานมา

SMEs 2 - 85

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.65 สัดสวนการนำเขาของสหรัฐอเมริกา ป 2550

สัดสวนการนำเขาของสหรัฐอเมริกา ป 2550 Nigeria 1.7% Malaysia 1.7% Saudi Arabia 1.8% IrelaBrazil nd 1.5% Italy 1.8% India1.3%1.2% Other Asia, nes 2.0% Thailand 1.2% Venezuela 2.0% Others France 2.1% 20.9% Rep. of Korea 2.4% United Kingdom 2.9% China Germany 4.8% 16.9% Mexico Canada 10.6% 15.7% Japan 7.4%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.66 มูลคาการนำเขารวมในตลาดสหรัฐอเมริกา เรียงตามประเทศที่มูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก และไทย ป 2548 - 2550

400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0

Chi Ca na nad a Me xico Jap Ge an rma n Kin Uni y Rep gdo ted . of m Kor e Fra a V nce Oth enezu er A ela sia, n Tha es ilan d

ลานดอลลาร สรอ.

มูลคาการนำเขารวมของสหรัฐอเมริกา จากประเทศที่มีมูลคาสูงสุด 10 อันดับแรก และไทย ป 2548 - 2550

2548

2549

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 86 SMEs

2550

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ในกลุมสินคาที่ SMEs ไทยสงออกไปสหรัฐอเมริกาไดมากที่สุด คือ สินคาในหมวด HS 71 ไขมุก รัตนชาติหรือกึ่งรัตนชาติ หรือสินคาในกลุมเครื่องประดับและอัญมณี นัน้ ประเทศไทยนับเปนแหลงนำเขาอันดับทีเ่ กาของสหรัฐอเมริกา ในป 2550 โดยมีสดั สวน เพียงรอยละ 3.1 เทานั้น ซึ่งสหรัฐนำเขาสินคาในหมวดนี้จากประเทศอิสราเอลมากที่สุดถึง รอยละ 20.6 รองลงมาไดแก อินเดีย แอฟริกาใต เบลเยีย่ ม และแคนาดา ตามลำดับ และเมือ่ พิจารณาการนำเขาในชวง 3 ปที่ผานมา จะเห็นวา มีการนำเขาจากอิสราเอลในมูลคาสูง อยางตอเนื่องมาโดยตลอด และการนำเขาจากแอฟริกาใตมีอัตราการขยายตัวคอนขางสูง ในชวงที่ผานมา สวนการนำเขาจากไทยนั้น ไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ภาพที่ 2.67 การนำเขาสินคาหมวดไขมุกแทหรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติหรือกึ่งรัตนชาติ (พิกัด 71) ของสหรัฐอเมริกา ป 2550 การนำเขาสินคาพิกัด 71 ของสหรัฐอเมริกา ป 2550 Thailand 3.1% United Kingdom 3.8% Mexico 5.2% China 6.1% Canada 6.6% Belgium 7.3% South Africa 10.4%

Peru 1.9% Others 22.0% Israel 20.6% India 13.1%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 87

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

ภาพที่ 2.68 การนำเขาสินคาในหมวดไขมุกแทหรือไขมุกเลี้ยง รัตนชาติหรือกึ่งรัตนชาติ (พิกัด 71) ของสหรัฐอเมริกา ป 2548 - 2550 การนำเขาพิกัด 71 ของสหรัฐอเมริกา ป 2548 - 2550 ลานดอลลาร สรอ.

15,000 10,000 5,000 0

2548 Is Israel C Canada Thail Thh and

InIndia CChina PPeru

2549 South Africa So MMexico Belgium Be

2550 UUnited Kingdom

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

สำหรับสินคาในหมวด 61 เครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต ซึ่ง SMEs สงออกไดมากเปนลำดับที่สองนั้น ปรากฎวา ไทย นับเปนคูคาลำดับที่สิบสองของสหรัฐอเมริกา โดยมีสวนแบงการตลาดรอยละ 2.8 เทานั้น ซึง่ จากภาพที่ 2.69 จะเห็นไดวา แหลงนำเขาอันดับหนึง่ ของสหรัฐฯ ไดแก ประเทศจีน โดยมี สัดสวนการนำเขาถึงรอยละ 28.0 รองลงมาคือ ประเทศในอาเซียนไดแก เวียดนาม อินโดนีเซีย กัมพูชา และประเทศในอเมริกาใตตา งๆ คือ ฮอนดูรสั เม็กซิโก เอลซัลวาดอร ซึง่ มี สัดสวนในตลาดนำเขาไมแตกตางกันมากนัก และจากภาพที่ 2.70 จะเห็นวา การนำเขาจาก ประเทศจีนมีการขยายตัวอยางโดดเดนตลอด 3 ปทผี่ า นมา แตจากประเทศอืน่ ๆ ทีเ่ หลือนัน้ ไมเปลี่ยนแปลงมากนัก

2 - 88 SMEs

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.69 การนำเขาสินคาหมวดเครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต (พิกัด 61) ของสหรัฐอเมริกา ป 2550 การนำเขาพิกัด 61 ของสหรัฐอเมริกา ป 2550 Thailand 2.8% Guatemala 2.8% Pakistan 2.9% Hong Kong SAR 2.9% El Salvador 3.2% India 3.5% Cambodia 4.2% Mexico 4.6% Indonesia 4.6% Honduras 5.1% Vietnam 5.7%

Others 29.5% China 28.0%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ภาพที่ 2.70 การนำเขาสินคาหมวดเครื่องแตงกายและของที่ใชประกอบกับเครื่องแตงกาย ถักแบบนิตหรือแบบโครเชต (พิกัด 61) ของสหรัฐอเมริกา ป 2548 - 2550

ลานดอลลาร สรอ.

การนำเขาพิกัด 61 ของสหรัฐอเมริกา ป 2548 - 2550 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

2548

CChina MMexico HHong Kong SAR

2549 VVietnam CCambodia PPakistan

HHonduras InIndia GGuatemala

2550 InIndonesia EEl Salvador Thail Th h and

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 89

รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ป 2550 และแนวโนม ป 2551

สินคาในหมวดพิกัด HS03 ปลา สัตวน้ำจำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก สัตวน้ำ ไมมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ ซึง่ ของไทยมีกงุ แชเย็นแชแข็งเปนสินคาตัวนำนัน้ ปรากฎวา สหรัฐฯ นำเขาสินคาในหมวดนี้จากแคนาดาในมูลคาสูงที่สุด ดวยสัดสวนการตลาดรอยละ 17.2 รองลงมาคือ จีน ชิลี และไทยเปนอันดับที่สี่ ดวยสัดสวนรอยละ 8.0 ตามดวยอีก สองประเทศในอาเซียนคือ อินโดนีเซีย และเวียดนาม ตามลำดับ และในทำนองเดียวกับ การนำเขาสินคาในหมวดอืน่ ๆ คือมีอตั ราการขยายตัวในการนำเขาจากประเทศจีนในระดับ ทีส่ งู ในขณะทีก่ ารนำเขาจากประเทศอืน่ ๆ ไมเปลีย่ นแปลงมากนัก ในชวงป 2548 - 2550 ภาพที่ 2.71 การนำเขาสินคาหมวดปลา สัตวน้ำจำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก สัตวน้ำไมมีกระดูกสันหลังอื่นๆ (พิกัด 03) ของสหรัฐอเมริกา ป 2550 การนำเขาพิกัด 03 ของสหรัฐอเมริกา ป 2550 India 2.1% Russian Federation 3.7% Mexico 4.2% Ecuador 4.5% Vietnam 4.9% Indonesia 5.5%

Thailand 8.0%

China 14.5%

Chile 9.8%

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

2 - 90 SMEs

Others 25.7% Canada 17.2%

การสงออกและนำเขาของ SMEs (Export and Import by SMEs) II

ภาพที่ 2.72 การนำเขาสินคาหมวด ปลา สัตวน้ำจำพวกครัสตาเซีย โมลลุสก สัตวนำ้ ไมมกี ระดูกสันหลังอืน่ ๆ (พิกดั 03) ของสหรัฐอเมริกา ป 2548 - 2550 การนำเขาพิกัด 03 ของสหรัฐอเมริกา ป 2548 - 2550 ลานดอลลาร สรอ.

3,000 2,000 1,000 0

2548 CCanada Th Thailand EEcuador

2549 China C Indonesia In Mexico M

Chil C e Vietnam V Russian Federation R

2550 India In

ที่มา : www.un.org ประมวลโดย : สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

SMEs 2 - 91