e-Business and e-Commerce - ICT@UP

ประโยชน์ : - ลดค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมและจัดส่งเอกสาร. - เพิ่มความถูกต้อง รวดเร็ว ได้ทัน เวลาในการรับ-ส่งเอกสาร. - ความ...

21 downloads 354 Views 1MB Size
1



คื อ การด าเนิ น ธุ ร กรรมทางการค้า ผ่ า นสื่อ อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ ที่เ กี่ ย วข้อ งกับ กระบวนการ ซื้อสินค้า ขายสินค้า จัดส่งสินค้า การแลกเปลี่ยนสินค้าหรือการ บริการ หรือสารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ต

2





เป็ นการดาเนินธุ รกรรมผ่านสื่ออิเล็ก ทรอนิก ส์ทงั้ หลาย ไม่ว่าจะเป็ นภายใน องค์กรหรือระหว่างองค์กร การบริการลูกค้า การทางานร่วมกันระหว่างคู่ คา้ ทาง ธุรกิจ ที่สามารถสื่อสารกันผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทรา เน็ต การใช้เ ทคโ นโลยี เ ป็ นสื่ อ กลาง ในการแลกเปลี่ ย นข้อ มู ล ข่ า วสาร (Electronic Data Interchange : EDI) เพือ่ สนับสนุนการ ทากิจกรรมการค้า หรือการซื้อขายผ่านสือ่ กลางอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่างๆ

3

ความหมาย : การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุ รกิจระหว่างบริษทั คู่คา้ ในรู ปแบบ มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อกี เครื่ อ ง หนึ่ ง ทุ ก ธุ ร กิ จ ส า มาร ถ แ ล ก เปลี่ ย น เอก ส า ร กั น ไ ด้ท ั ่ว โ ล ก (www.solutionscorp.co.th/edi/)

ประโยชน์ :

- ลดค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมและจัดส่งเอกสาร - เพิม่ ความถูกต้อง รวดเร็ว ได้ทนั เวลาในการรับ-ส่งเอกสาร - ความได้เปรียบทางการแข่งขัน ลดค่าใช้จ่ายของคนกลาง - สร้างโอกาสในการหาตลาดใหม่ดว้ ย ส่งเสริมภาพลักษณ์ทด่ี ี 4





ความหมายต่างกันโดย e-Business สรุปความหมายได้ว่าคือการทา กิจกรรมทุกๆ อย่าง ทุกขัน้ ตอนผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีขอบเขตกว้าง กว่า แต่ e-Commerce จะเน้นที่การซื้อขายสินค้าและบริการผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เนตเท่านัน้ สรุปได้วา่ e-Commerce เป็ นส่วนหนึ่งของ e-Business

5



ประกอบไปด้วย 8 ประการ 1. การมีอยู่ทวั ่ ทุกหนทุกแห่ง (Ubiquity)

2. ขอบเขตครอบคลุมทัว่ โลก (Global Reach) 3. มาตรฐานระดับสากล (Universal Standards)

4. ความสมบูรณ์ในข่าวสาร (Richness)

6



ประกอบไปด้วย 8 ประการ 5. การโต้ตอบระหว่างกัน (Interactivity)

6. ความหนาแน่นของสารสนเทศ (Information Density) 7. ค ว า ม เ ป็ น เ ฉ พ า ะ ตั ว แ ล ะ ก า ร ป รั บ แ ต่ ง ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ บ บุ ค ค ล

(Personalization) 8. เทคโนโลยีทางสังคม (Social Technology)

7

 

 

มี 3 รูปแบบ Brick and Mortar Click and Mortar Click and Click

8



 

รูปแบบการดาเนินการงานธุรกิจแบบดัง้ เดิม คือ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และ ตัวแทนการในการส่งมอบ ล้วนถูกดาเนินการพบปะกันจริง ๆ ตามโครงสร้างเชิง กายภาพทัง้ สิ้น เป็ นการดาเนินธุรกิจแบบออฟไลน์ ทีม่ ไิ ด้ซ้อื ขายสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่น ร้านค้าสะดวกซื้อทัว่ ไป ที่มที ่ตี งั้ และผูซ้ ้ อื ต้องเดินทางมาซื้อสินค้าบริการ ด้วยตนเอง

9





เป็ นรู ป แบบการด าเนิ น ธุ ร กิ จ แบผสมผสาน คื อ ไม่ ว่ า จะเป็ นผลิ ต ภัณ ฑ์ กระบวนการ และตัวแทนการส่งมอบจะมีโครงสร้างเชิงกายภาพและดิจติ อลเข้า ด้วยกัน เช่น ร้านหนังสือซีเอ็ดบุค๊ เซ็นเตอร์

10

 



เป็ นการดาเนินการธุรกิจในรูปแบบดิจติ อล หรือแบบออนไลน์ทงั้ หมด คือไม่มรี า้ นทีต่ งั้ อยู่จริง เช่น amazon.com

11

 

   



ธุรกิจกับผูบ้ ริโภค (Business to Consumer: B2C) ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business: B2B) ผูบ้ ริโภคกับผูบ้ ริโภค (Consumer to Consumer: C2C) ธุ รกิจในเครือกับผูบ้ ริโภค (Business to Business to Consumer: B2B2C) ผูบ้ ริโภคกับธุรกิจ (Consumer to Business : C2B) ธุรกิจกับพนักงาน (Business to Employee :B2E) รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) 12



  

การทีท่ าธุรกิจการค้า ซื้อ ขาย สินค้า หรือ บริการให้กบั ผูบ้ ริโภคโดยตรง โดยที่ ไม่ผ่านพ่อค้าคนกลางหรือตัวแทนจาหน่าย amazon.com godiva.com airasia.com

13





เป็ นการท าธุ ร กรรมการค้า ระหว่ า งองค์ ก รธุ ร กิ จ ด้ว ยกัน เอง (ผู ผ้ ลิ ต ผูป้ ระกอบการ ตัวแทนขาย) ทัง้ สองฝ่ ายสามารถเป็ นได้ทงั้ ผูซ้ ้อื และผูข้ าย  กลุม่ ธุรกิจการบิน กลุม่ ผูค้ า้ ส่ง  โรงงานผลิตรถยนต์ สัง่ ซื้อ วัตถุดบิ เหล็กจาก โรงงานเหล็ก  โรงงานผลิตสินค้า ส่งสินค้าให้หา้ งสรรพสินค้า

14





เป็ นการท าธุ ร กรรมการค้า ระหว่ า งองค์ ก รธุ ร กิ จ ด้ว ยกัน เอง (ผู ผ้ ลิ ต ผูป้ ระกอบการ ตัวแทนขาย) ทัง้ สองฝ่ ายสามารถเป็ นได้ทงั้ ผูซ้ ้อื และผูข้ าย  กลุม่ ธุรกิจการบิน กลุม่ ผูค้ า้ ส่ง  โรงงานผลิตรถยนต์ สัง่ ซื้อ วัตถุดบิ เหล็กจาก โรงงานเหล็ก  โรงงานผลิตสินค้า ส่งสินค้าให้หา้ งสรรพสินค้า

15



การประกอบธุรกรรมระหว่างผูบ้ ริโภคกับหน่วยงานเอกชน เช่น  การสมัครงานออนไลน์

 การสัง่ ซื้อของออนไลน์

16

 

การติดต่อซื้อขายผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกค์ระหว่างผูบ้ ริโภคกับผูบ้ ริโภคโดยตรง การซื้อขายแบบนี้มวี ตั ถุประสงค์ทแ่ี ตกต่างกันออกไป  การประกาศขายของ บ้าน รถ ฯลฯ  การประกาศแลกเปลีย่ นสินค้า ผ่านเวบไซต์

17



เป็ นรูปแบบการดาเนินการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ปรับปรุงการปฎิบตั งิ านให้ ดียง่ิ ขึ้น โดยการแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศภายในองค์กร  พนักงานสามารถทราบข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บบอร์ด

18



รัฐบาลกับผูบ้ ริโภค (Government to Consumer : G2C)  เป็ นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมทีป่ ระชาชนสามารถใช้บริการผ่านเว็บไซต์ทร่ี ฐั บาลเปิ ดให้

ใช้ เพือ่ ขอรับบริการ  เช่น การชาระภาษีผ่านเว็บกรมสรรพากร  การติดต่อออนไลน์ของนักศึกษากับหน่วยงานกองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา (กยศ)

19



รัฐกับภาคธุรกิจ (Government to Business : G2B)  เป็ นรูปแบบธุรกิจทีร่ ฐั นามาใช้เพือ่ งานจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์  เช่น การประกวดราคาหรือการประมูลออนไลน์ (Electronic Auction)



รัฐกับรัฐ (Government to Government : G2G)  การติด ต่ อ แลกเปลี่ย นข้อ มูล ระหว่า งหน่ ว ยงานของรัฐ บาลหรื อ การติด ต่ อ ระหว่ า ง

ประเทศ  เช่น การเชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนราษฎร์  การเชื่อ มโยงข้อ มูล ของ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ส านัก งบประมาณ ส านัก งาน เศรษฐกิจการคลัง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (http://www.fpo.go.th) 20

 

  

คน (People) นโยบายด้านสาธารณะ (Public Policy) การตลาดและโฆษณา (Marketing and Advertising) การบริการสนับสนุน (Support Services) คู่คา้ ทางธุรกิจ (Business Partnerships)

21

 

  

ประโยชน์ต่อองค์กร สามารถขยายโอกาสขายสินค้าไปสู่ตลาดต่างประเทศด้วยการลงทุนตา่ สามารถจัดหาวัตถุดิบและการบริการทัง้ ในประเทศแบะต่างประเทศได้อย่าง รวดเร็ว บนต้นทุ่นตา่ ช่วยลดต้นทุนด้านการสื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากมีช่องทางการสื่อสารผ่าน อินเทอร์เน็ต ทีม่ รี าคาถูก ส่งเสริมการตลาดทีม่ งุ่ ไปยังลูกค้าเฉพาะกลุม่

22

 

   

ประโยชน์ต่อลูกค้า มีโอกาสเลือกซื้อสินค้าหรือการบริการด้วยราคาถูกทีส่ ุด ช่วยเพิม่ ทางเลือกแก่ผูบ้ ริโภคในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการ สามารถเข้าชมสินค้าหรือการบริการได้ตลอด 24 ชม. สามารถประมูลสินค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ เปิ ดโอกาสให้ผูบ้ ริโภคสามารถโต้ตอบ แลกเปลีย่ นข่าวสารและประสบการณ์

23

 



ประโยชน์ต่อสังคม ช่วยให้ผูค้ นบางกลุม่ สามารถทางานทีบ่ า้ นได้ เพือ่ ลดค่าใช่จ่ายในการทางาน สร้า งโอกาสแก่ ผู ค้ นที่อาศัยอยู่ ตามชนบท ให้ส ามารถเข้าถึง แหล่งศึ ก ษาหา ความรูท้ างวิชาชีพ

24

   

ข้อจากัดด้านเทคโนโลยี ขาดมาตรฐานที่ได้รบั การยอมรับในระดับสากล ทัง้ ในเรื่องของคุณภาพ ความ ปลอดภัยและความน่าเชื่อถือ เทคโนโลยีซอฟแวร์ทน่ี ามาใช้เป็ นเครื่องมือพัฒนา เปลีย่ นแปลงเร็ว ราคาแพงและปัญหาจากการเข้าถึงของผูใ้ ช้พร้อม ๆ กัน

25

 

 

ข้อจากัดด้านอืน่ ๆ ปัญหาเรื่องข้อกฎหมายทีน่ ามาบังคับใช้ ขาดข้อ บัง คับ ทางกฎหมายทัง้ ภายในและระหว่ า งประเทศ และมาตรฐาน อุตสาหกรรม กลุ่ ม บางกลุ่ ม ยัง คงเข้า ใจว่ า สิ น ค้า หรื อ การบริ ก ารผ่ า นระบบ eCommerce มีราคาแพงและไม่ปลอดภัย

26



ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace)  เป็ นศูนย์กลางระหว่างผูข้ ายและผูซ้ ้ อื ต่างมารวมตัวพบปะกัน เพือ่ ซื้อขายสินค้าระหว่าง

กันเหมือนกับตลาดทัว่ ไป เพียงแต่จะเปิ ดการให้ลูกค้าเลือกชมและซื้อสินค้าผ่านทาง เว็บไซต์ซง่ึ เป็ นแบบออนไลน์ 

แคตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ (e-Catalogs)  จะประกอบไปด้วยฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ โดยสามารถค้นหาผลิตภัณฑ์สนิ ค้าต่าง ๆ ที่

ลู ก ค้า สามารถค้น หาได้ต ามความต้อ งการ และสามารถเสนอเป็ น ภาพเคลื่อ นไหว แบบมัลลติมเิ ดีย

27



การประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)  การประมูลซื้อขายสินค้าผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ มีความนิยมในหลายประเทศด้วยกัน   



สามารถนามาใช้ร่วมกับ B2C, B2B, C2B, C2C การประมูลจะต้องมี 1) ผูซ้ ้อื 2) ผูข้ าย 3) ผูบ้ ริการตลาดกลาง Reverse Auction เป็ นระบบทีอ่ านวยความสะดวกในด้านการประมูลซื้อให้ได้ ราคาตา่ สุด Forward Auction เป็ นระบบทีอ่ านวยความสะดวกในด้านการประมูลขาย ซึง่ สามารถประยุกต์ใช้กบั การจาหน่ายพัสดุทห่ี มดความจาเป็ นของหน่วยงานภาครัฐโดยวิธี ขายทอดตลาด ซึง่ เป็ นการประมูลขายแบบผูช้ นะ คือ ผูท้ เ่ี สนอราคาสูงสุด เว็บไซต์ ebay.com 28



การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement)  สนับสนุ นการให้บริการที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เช่น การตก

ลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการจัดซื้อรวมแบบออนไลน์ รวมถึงการ ลงทะเบียนบริษทั ผูค้ า้  เพือ่ ทาให้ระบบการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น

29

 

   

ความต้องการด้านความปลอดภัย (Security Requirements) การพิสูจน์ตวั ตน (Anthentication) ความเป็ นหนึ่งเดียวของข้อมูล (Integriry) ความไม่สามารถปฏิเสธได้ (Non-repudiation) สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) ความปลอดภัย (Safety)

30

 

 

การรักษาความปลอดภัย (Security Protection) การใช้รหัส (Encryption) ใบรับรองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Certificate) โปรโตคอล (Protocols)

31