COVID19 McKinsey Report 060463

วันที่ 3 เมษายน 2563 สรุป บทวิเ คราะห์ COVID-19 ของ McKinsey & Company เอกสารฉบับนี้อ้างอิงจากรายงานของ McKinsey & Compa...

1 downloads 82 Views 1MB Size
วันที่ 3 เมษายน 2563 สรุป บทวิเ คราะห์ COVID-19 ของ McKinsey & Company เอกสารฉบับนี้อ้างอิงจากรายงานของ McKinsey & Company 2 ฉบับ ได้แก่ 1. “COVID-19 Briefing material: Global health and crisis response” ฉ บั บ วั น ที่ 2 5 มี น าคม 2563 2. “COVID-19 Briefing note: Risk practice” ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2563 จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ที่แพร่กระจายไปในทุกทวีปทั่วโลก ซึ่งทา ให้ม ีผู้ติดเชื้อมากกว่า 1 ล้านคน และมีผู้เ สียชีวิตมากกว่า 50,000 คนนั้น (ข้อมูล ณ วันที่ 3 เมษายน 2563) ทาให้ระบบการสาธารณสุขในประเทศต่างๆ อาจเกิดสภาวะที่ไ ม่สามารถรองรับผู้ป่วยทั้งหมดได้ เพื่อเป็นการ ชะลอการเพิ่ม จ านวนของผู้ติ ดเชื้อที่สูง ขึ้นอย่า งรวดเร็ว รั ฐ บาลของประเทศต่า ง ๆ ไ ด้ ก าหนดมาตรการที่ หลากหลาย มีการเพิ่ม ระดับความเข้มข้นของการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ที่สูงขึ้นเรือ่ ยๆ มาตรการจากภาครัฐ เหล่านี้ส่งผลให้อุปสงค์ (Demand) ในภาคการบริโภคของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ลดต่าลง จนถึงขั้นวิกฤตในบางประเทศ สรุปสถานการณ์โรคโควิด-19 ในระดับโลก (ถึง วันที่ 25 มีน าคม 2563) แต่ละประเทศมีแนวโน้มเริม่ ต้นที่ใกล้เคียงกัน แต่กราฟ (จานวนผู้ป่วย) เริ่ม มีแนวโน้มเพิ่มขึน้ ในอัตรา เร่งที่แตกต่างกันตามรูปแบบของมาตรการที่แต่ละประเทศดาเนินการ

1

 อิต าลี: หลังจากที่ม ีการปิดประเทศ (National Lockdown) มากกว่า 2 สัปดาห์ พบว่าจานวนผู้ป่วย และจ านวนผู้เ สียชีวิ ตที่เ พิ่ม ขึ้ น มี แนวโน้ม ลดลง สะท้ อนให้เ ห็นถึง ผลกระทบทางด้า นม าตรการ สาธารณสุข  เกาหลีใ ต้: การดาเนินการทีเ่ ข้มข้นในเรื่องของการตรวจโรค การติดตาม และการกักกัน ทาให้สามารถ แยกกลุ่ม ประชากรที่ติดเชื้อออกมา และสามารถลดปริม าณการกระจายของไวรัสได้อย่างมาก  สหรัฐอเมริกา: จ านวนผู้ติ ดเชื้อ ละผู้เ สี ยชีวิตเพิ่ม สูงขึ้นมาก ซึ่ ง มาจากมาตรการในการควบคุม ที่ หละหลวม และแตกต่างทั้งในระดับ มลรัฐ และระดับท้องที่ ปัจจุบันสหรัฐฯ มีจานวนผู้ติดเชือ้ ทีย่ นื ยัน แล้วมากที่สุดในโลก ตัวอย่างมาตรการและ Time Line ของผูป้ ว่ ยโรคโควิด-19 และจานวนการตรวจโรคในแ ต่ล ะประเทศ  เกาหลีใ ต้: ใช้ม าตรการในการตรวจโรคที่เ ข้ม งวด และการขยายผลการตรวจโรคในวงกว้า ง ช่วย ควบคุม ปริม าณการแพร่กระจายได้ม าก

2

 จีน : ดาเนินการปิดเมืองอย่างรวดเร็ว ก่อนที่จะมีการออกมาตรการในการตรวจโรคเพื่อหาเชื้อ และ การติดตามเพิ่ม เติม

 อิต าลี: ผลกระทบจากการปิดเมืองเพื่อลดการแพร่กระจายเริ่มเห็นผลจากการทีม่ จี านวนผูต้ ิดเชื้อราย ใหม่ลดลง

3

วันที่ 3 เมษายน 2563 ประเทศในกลุ่มตะวันตกจานวนมากมีความพยายามในการนา “โมเดลประเทศจีนช่วงแรก” มาปรับ ใช้ โดยเน้นที่การกักตัว และจากัดการเดินทาง พร้อมกับเร่งให้มกี ารตรวจผู้ติดเชื้อเพิ่ม มากขึ้น ในขณะที่บาง ประเทศใช้ “โมเดลประเทศเกาหลีใต้” ที่ตรวจโรคประชากรให้ได้มากที่สดุ เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อและกักกันออก จากประชากรทั่วไป โมเดลทั้งสองแบบควรปรับใช้ใ ห้เ หมาะกับสถานการณ์และความพร้อมของประเทศ

จานวนการ ตรวจเชื้อ (จ านวนต่อ ประชากรหนึ่ง ล้านคน) มาตรการของ แต่ละประเทศ

สหรัฐอเมริกา

ฝรั่งเศส

สเปน

สหราช อาณาจักร

อิตาลี

นอร์เ วย์

310

560

640

960

3,500

8,000

- ประกาศปิด - ประกาศปิด - ประกาศปิด พื้นที่บางส่วน เมือง เมือง ในระดับเมือง (National (National และระดับมลรัฐ Lockdown) Lockdown) (State and โดยใช้ตารวจใน จ ากัดการ City-Level การเข้าควบคุม เดินทางทีไ่ ม่ Closure) จ าเป็น - ดาเนินการ ตรวจผูต้ ิดเชื้อ - ควบคุมและ - การตรวจผู้ติด เชื้อยังน้อยกว่า ในระดับเจาะ ประเมิน หลายประเทศ กลุ่ม และวง ประเด็น กว้าง ทางด้านการ ขนส่ง - จ ากัดปริมาณ การตรวจผู้ติด เชื้อ

- ในช่วงแรกยังคง - ดาเนิน - ดาเนิน พยายาม มาตรการปิด มาตรการขยาย ประเมิน เมืองอย่าง ผลการตรวจผู้ ระหว่างการ รวดเร็ว ติดเชื้ออย่าง ขยายผลการ รวดเร็วตั้งแต่ - ผลักดันการ ตรวจผู้ติดเชื้อ ตรวจผู้ติดเชือ้ ช่วงแรกของ และการปิด เพิ่มขึ้น (สูงทีส่ ุด การพบผู้ติดเชื้อ เมือง ในยุโรป) - กาหนด บทลงโทษต่อผู้ - ดาเนินการปิด เมืองวันที่ 20 ที่ฝ่าฝืนการกัก มีนาคม ตัว

4

การวิเ คราะห์ส ถานการณ์แ ละภาพอนาคตหลัง จากวิก ฤตโควิด -19 McKinsey & Company ใ ช้ เ ครื่องมือที่เ รี ยกว่ า “กล่ อ งเวลา” (Timebox) ซึ่ ง เป็ นภาพฉาย ของ ระยะเวลาตั้ งแต่ การเริ่มเกิดการระบาดของโรคโควิด -19 (หรือโรคระบาดอื่ น ๆ) ไ ปจนสิ้นสุดการระบาด (เส้ น กราฟสีข าว เป็นแนวทางในการรักษาชีวิ ต “Safeguard our lives”) เที ย บกับตัว ชี้วัด และสภาพทาง เศรษฐกิจ (เส้นกราฟสีฟ้า เป็นแนวทางในการทาให้การดารงชีวิตเป็นปกติสุข “Safeguard our livelihoods”) ในช่วงเวลานั้น ๆ

การรักษาชีวิต ทาได้โดย ลดการแพร่ระบาดให้ได้ (ตาแหน่ง 1a ในกราฟ) กล่าวคือ ทาให้ยอดของผูต้ ดิ เชื้อมีจานวนน้อย “Flattening the Curve” เพื่อให้ระบบสาธารณสุขในประเทศสามารถรองรับผู้ป่วยไป และ ในเวลาเดียวกัน ก็ทาการเพิ่มศักยภาพของระบบสาธารณสุข ตามเส้นกราฟสีแดง (ตาแหน่ง 1b) ทาให้สามารถ รองรับผู้ป่วยได้มากขึ้น เช่น การเพิ่ม จานวนเตียงในโรงพยาบาล หรือการสร้างโรงพยาบาลสนาม รวมทัง้ การ เพิ่ม อุปกรณ์ช่วยชีวิต เช่น เครื่องช่วยหายใจ เป็นต้น และในระยะยาว การแพร่ระบาดจะไม่เ กิดขึ้นเมื่อมีวธิ ี รักษาและป้องกันโรค ด้วย ยาและวัคซีน (ตาแหน่ง 1c) ในเวลาเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนยังสามารถดารงชีวติ ได้อย่างเป็นปกติมากที่สุดในภาวะที่เ ศรษฐกิจ ถดถอย (ซึ่งอาจมีอัตราการหดตัวทางเศรษฐกิจมากถึงร้อยละ 8 ถึงร้อยละ 13) รัฐ บาลอาจต้องมีการเยียวยา และช่วยเหลือประชาชน รวมทั้งธุรกิจที่ไ ด้รับผลกระทบจากมาตรการปิด เมือง (ตาแหน่ง 2a) และเตรียม มาตรการในการกลับไปใช้ชีวิตตามปกติ เมื่อการระบาดเลยจุดสูงสุดไปแล้ว (ตาแหน่ง 2b) เตรียมมาตรการ ฟื้น ฟูเ ศรษฐกิจเมื่อการระบาดสิ้นสุดลง (ตาแหน่ง 2c) 5

McKinsey & Company วิเ คราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจโลก หลังจากวิกฤตโควิด -19 โดยดูจากระดับ ความเข้ม ข้นและประสิทธิภาพของมาตราการทางสาธารณสุข เทียบกับระดับความสาเร็จชองมาตรการทาง เศรษฐกิจ โดยแบ่งสถานการณ์ออกแบบ 9 แบบ (ดังรูป)

สถานการณ์ที่เ ป็นบวก คือกลุ่ม สถานการณ์ ในมุม ขวาบนของภาพ ได้แก่ สถานการณ์ A1, A2, A3 และ A4 ซึ่งล้วนเกิดจากความสาเร็จในการควบคุม การแพร่ระบาดของโรคในระดับปานกลางถึงระดับดีมาก ประกอบกับ มาตรการทางเศรษฐกิจในระดับปานกลางถึงระดับดีม าก เป็นที่น่าสังเกตว่า มาตรการที่ดีเ พียง ด้านใดด้านหนึ่ง(ควบคุมโรคได้ดี แต่กระตุ้นเศรษฐกิจไม่ได้ หรือ กระตุ้นเศรษฐกิจได้ดี และไม่สามารถควบคุม โรคได้) เป็นสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่นเดียวกับสถานการณ์ทคี่ วบคุมโรคไม่ได้เลย และมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจไม่เ ป็นผล (ได้แก่ สถานการณ์ B1, B2, B3, B4 และ B5)

6

แ นวทางการวางแผนและบริห ารจัด การองค์ก ร ในภาวะวิก ฤต 5 ข้อ (เรียกโดยย่อว่า “หลักการ 5R”) 1. Resolve จั ด การกั บ ความท้า ทายที่ส่ งผลกับลูก จ้า ง ลู ก ค้ า ธุ รกิจ เทคโนโลยี และออกมาตรการ พื้น ฐานเพื่อปกป้องสภาพคล่อง เช่น นโยบายสาหรับ ลูกจ้าง โดยให้ทางานจากที่บ้าน หรือ เพิ่ม ระยะห่างทาง สังคมในที่ทางาน และการดูแลความปลอดภัยของพนักงาน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนีส้ ่งผลให้เกิดความเครียดและ ทาให้ประสิทธิภาพในการทางานลดลง ตัวอย่างแนวทางการแก้ไ ขคือ การจัดทีม ขนาดเล็กที่ม ีปร ะสิทธิภาพ การตั้งเป้าหมายการบริห ารงานแบบให้ทางานทางไกลได้ (Remote Working) โดยมีเป้าประสงค์ชัดเจน และ การนาเทคโนโลยีม าช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน 2. Resilience ความรวดเร็วในการตอบสนองและวินัย คือปัจจัยสาคัญในการตอบรับกับความท้าทาย จากการบริหารการเงินในระยะสั้น และเป็นสิ่ง ที่ควรเรียนรู้จ ากองค์กรที่รอดพ้น จากวิ กฤติก ารตกต่าทาง เศรษฐกิจในอดีต บริษัทเหล่านี้ไม่ได้ประสบความสาเร็จในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจจากการมีทนุ เดิมอยู่ แต่เป็นการ ปรับตัวต่อวิกฤต ซึ่งมี 6 ขั้น ได้แก่ ระบุและจัดลาดับความเสี่ยง, สร้างแบบจาลองสถานการณ์ (Scenarios) จากความเสี่ยงขั้นสูงสุด, ทาการทดสอบความสามารถในการรับผลกระทบทางการเงินที่หน่วยงานทนรับได้ (Financial Stress Test), ระบุแนวทางการดาเนินงาน, เพิ่ม ความโปร่งใสและการบริหารการเงินทีร่ ัดกุม, สร้าง ศูนย์รวมข้อมูล (Dashboard) เพื่อติดตามตัวชี้วัดที่สาคัญ 3. Return วางแผนการกลับมาทางานในภาวะปกติอย่างละเอียด โดยเริม่ ต้นจากการติดตามสถานการณ์ อย่างใกล้ชิดว่ามีจานวนผู้ติดเชื้อทีล่ ดลง มาตรการจากภาครัฐ ทีใ่ ห้มกี ารกักตัวที่ผ่อนคลายลง มีชุดทดสอบโรค ใช้อย่างกว้างขวางและทราบผลอย่างรวดเร็ว หรือมีวัคซีนป้องกัน โรคที่ใช้ได้ผล หากสถานการณ์คลี่คลายลง จึง นาไปสู่การพิจารณาการดาเนินการระดับองค์กรเพื่อปกป้องลูกจ้าง โดยมีม าตรการ เช่น วัดไข้ ล้างมือบ่อยๆ สร้างความมั่นใจแก่ลูกค้าว่าองค์กรมีมาตรการที่รดั กุม เช่น มี เจลฆ่าเชื้อ กลับมาทางานร่วมกับหน่วยงานในห่วง โซ่อุปทาน (Supply Chain) โดยพยายามกระจายห่วงโซ่อุปทานออกไปยังภูมภิ าคต่างๆ เพื่อเป็นการลดความ เสี่ ย ง จากนั้ นจึ ง พิจ ารณาผลกระทบจากการหยุ ดชะงัก ทางธุรกิ จ และพิ จ ารณาว่า ต่ อไปควรดาเนินธุรกิจ แบบเดิม หรือปรับปรุงแนวทางการดาเนินงานไปอย่างไร 4. Reimagination จินตนาการว่า สภาพสังคมใหม่หลังจากโควิด -19 หรือ “next normal” จะเป็นไป ในรูปแบบใด การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ส่งผลอย่างไร และองค์กรควรปรับตัวอย่างไร เช่น การเปลี่ยนรูปแบบ ของการสาธารณสุขให้ครอบคลุมโดยใช้เทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาช่วย เช่น ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการใช้ ระบบการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ทั้งนี้ ต้องพึงระลึกว่าการปรับให้เข้าสู่ “new normal” เป็นเรือ่ งที่ ยาก 5. Reform ภาครัฐ จาเป็นต้องเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการปฏิรปู กฎระเบียบต่างๆ เพื่อให้การทางานมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น การลดข้อจากัดทางการค้า (trade barriers) และ การกาหนดและปกป้องสิทธิของ แรงงานในการทางานแบบทางไกล (Remote Working) หรือการทางานจากบ้าน (Work From Home) เป็น ต้น 7

สรุป 4 ประเด็นสาคัญทีผ่ นู้ าควรพิจารณาในภาวะโควิด -19 1. สนับ สนุนและปกป้องพนักงานภายใต้ภาวะวิกฤต ให้ความสาคัญกับสุขภาพของพนักงานทั้งสุขภาพ กายและสุขภาพจิต กาหนดให้สามารถทางานจากที่บ้านได้โดยไม่ต้องเดินทางเพื่อลดความเสีย่ งในการติดเชือ้ เข้าใจถึงอุปสรรคที่เ กิดจากความไม่เ คยชินในการใช้เ ทคโนโลยี (เช่น การประชุม ผ่านระบบออนไลน์) และ ประสิทธิภาพในการทางานที่ลดลงเนื่องจากการเสียสมาธิใ นการทางานเมื่ออยู่ที่บ้าน ผู้นาควรให้ความสาคัญกับเป้าหมาย 3 ประการ ได้แก่ (1) เพิ่ม การสื่อสาร โดยมุ่งให้เกิดความสมดุล ระหว่างผลสัม ฤทธิข์ องงานกับการสร้างขวัญและกาลังใจ, (2) เปลี่ยนรูปแบบการทางาน ให้การทางานจากบ้าน หรือที่อื่นที่ไ ม่ใช่สานักงาน ง่ายและสะดวกเท่าที่จะทาได้ , และ (3) ต้องปกป้องและรักษาสุขภาพของทุกคนให้ ได้ม ากที่สุด ด้วยวิธ ีและแนวทางปฏิบัติทดี่ ีในการรักษาความสะอาดและความปลอดภัยส่วนบุคคลในที่ทางาน ตลอดจนการปรับนโยบายการลาป่วยให้เ หมาะสม 2. ติด ตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พร้อมๆ ไปกับการวางแผนเพือ่ สถานการณ์ใ นอนาคต (Scenario Planning) โดยพิจารณาทั้งลักษณะของการระบาดของโรค และนโยบายที่เ ศรษฐกิจที่เป็นไปได้ โดยอาจใช้เ ครื่องมือ “กล่องเวลา” และรูปแบบสถานการณ์ 9 แบบเป็นตัวช่วยในการวางแผนอนาคต 3. คิ ด ให้ไ กลไปถึง กลยุท ธ์ใ นการด าเนิน งานหลัง จากภาวะโรคระบาดสิน้ สุดลง แม้ ว่ าการแก้ไ ข สถานการณ์เ ฉพาะหน้าจะมีความสาคัญ แต่ผู้นาต้องไม่ลืม ที่จะคิดถึงการทางานหลังจากภาวะวิกฤตสิ้นสุดลง พร้อมทั้งวางแผนและจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ โดยอาจ ใช้หลัก 5R (Resolve, Resilience, Return, Reimagination, Reform) 4. ใช้ประโยชน์จากการจัดตัง้ “ศูนย์กลยุทธ์กลาง” (Nerve Center) ของบริษัทหรือหน่วยงาน ซึ่งทา หน้าที่ใ ห้ข้อมูลและวางแผนกลยุทธ์ในการทางานภายใต้ภาวะวิกฤตในระดับต่าง ๆ รวมทั้งวิเ คราะห์รูปแบบ ใหม่ของการทางานและการใช้ชีวิตหลังจากวิกฤตโรคโควิด -19 สิ้นสุดลง สรุปโดย คณะทางาน ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ (รัฐ มนตรีวา่ การกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม) ดร.ทรงพล มั่นคงสุจริต ดร.ปราณปรียา ศรีวรรณวิทย์ ลุนด์แบร์ย นายกวิน เทพปฏิพัทธ์ นายณัฐ วัฒน์ จารุโ ชคทวีชยั

8