697 chapter5

บทที่ 5 อภิปรายผล บทสรุปและขอเสนอแนะ การจัดทําวิจัยเรื่อ งกึ่ง มอดูยอ ยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (on classical primary subsem...

0 downloads 102 Views 263KB Size
บทที่ 5 อภิปรายผล บทสรุปและขอเสนอแนะ การจัดทําวิจัยเรื่อ งกึ่ง มอดูยอ ยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (on classical primary subsemiodules) มี วัตถุประสงคเพื่อการนําความรูที่สอนในหองเรียนมาใชใหเกิดประโยชนและแกปญหาสรางทฤษฎีบทใหม ๆ โดยใช กระบวนการทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร

5.1. สรุปผล สรุปผลการทําวิจัยจะแบงการสรุปผลออกเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การวางแผนการดําเนินงาน ในการทําวิจัยเรื่องกึ่งมอดูยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (on classical primary subsemiodules) เรา สามารถปฏิบัติงานเปนไปตามแผนที่เราวางไวไดแก 1. คาดเดาพฤติกรรมของไอดีลปฐมภูมิ (Primary Ideal), ไอดีลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (Classical primary Ideal) ในกึ่งริง (semiring) และคาดเดาพฤติกรรมของ k -กึ่งมอดูลยอย ( k -subsemimodule), กึ่งมอดูลยอย ปฐมภู มิ เ ชิ ง แบบฉบั บ (classical primary subsemimodule), กึ่ ง มอดู ล ย อ ยปฐมภู มิ (primary subsemimodule) และกึ่งมอดูลยอยกึ่งเฉพาะ (semiprime subsemimodule) ในกึ่งมอดูล (semimodule) 2. จําแนกลักษณะเฉพาะบางประการของ k -กึ่งมอดูลยอย ( k -subsemimodule), กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ เชิงแบบฉบับ (classical primary subsemimodule), กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ (prime subsemimodule) และกึ่ง มอดูลยอยกึ่งเฉพาะ (semiprime subsemimodule) ในกึ่งมอดูล (semimodule) 3. ศึ ก ษาความและหาสัม พัน ธร ะหวา งกึ่ ง มอดู ล ย อ ยปฐมภู มิ เ ชิง แบบฉบับ (classical primary subsemimodule) กับกึ่งมอดูลยอยกึ่งปฐมภูมิ (primary subsemimodule) และรากปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ กึ่งมอดูล (classical primary radical of semimodule) กับรากปฐมภูมิของกึ่งมอดูล (primary radical of semimodule) 4. สรางทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับสมบัติและความสัมพันธจากขอ 13.1-13.3 5. ทดสอบพฤติกรรมจากขอ 13.4 6. พิสูจนบทตั้งทฤษฎีบทและบทแทรกตาง ๆ 7. เผยแพร (ตีพิมพ) งานในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ 8. วิเคราะหผลการวิจัยจัดทํารางรายงานวิจัย 9. จัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ

53

ตอนที่ 2 วัตถุประสงค ในการทําวิจัยเรื่องกึ่งมอดูยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (on classical primary subsemiodules) เรา สามารถปฏิบัติงานเปนไปตามวัตถุประสงคที่เราวางไวไดแก 1. เพื่ อ หาสมบัติและความสัม พั นธร ะหวา งกึ่ง มอดู ล ยอ ยปฐมภูมิเ ชิง แบบฉบับ (classical primary subsemimodule) กับกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ (primary subsemimodule) 2. เพื่อ สรางทฤษฎีบทที่เ กี่ยวกับ สมบัติและความสัม พันธระหวางกึ่งมอดูล ยอ ยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical Primary subsemimodule) และกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ (primary subsemimodule)

ขั้นตอนที่ 3 ผลการศึกษา ผลการศึกษาลักษณะเฉพาะบางประการของและความสัมพันธระหวางรากปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของกึ่ง มอดูลบนกึ่งริงได ดังนี้ บทตั้ง 1 กําหนดให แบบฉบับของ R

P

เปนไอดีลแทของกึ่งริง

R

ถา

P

เปนไอดีลปฐมภูมิของ

R

แลว

P

เปนไอดีลปฐมภูมิเชิง

บทตั้ง 2 กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R ถา P เปนไอดีลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P

R

แลว  P : I 

บทตั้ง 4 กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R ถา  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ ของ R โดยที่ I  P แลว P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R

R

สําหรับแตละไอดีล

I

บทตั้ง 5 กําหนดให

R

สําหรับแตละไอดีล

I

ของ

R

โดยที่

P

IP

เปนไอดีลแทของกึ่งริง

ถา  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ แลว  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R R

ทฤษฎีบท 6 กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R จะไดวาขอความตอไปนี้สมมูลกัน 1. P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R 2. P เปนไอดีลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ R 3.  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P

54 บทตั้ง 7 กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R ถา P เปนไอดีลเสมือนปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P บทตั้ง 8 กําหนดให

I

ทฤษฎีบท 9 กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R จะไดวา P เปนไอดีลเสมือนปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ ก็ตอเมื่อ  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P

R

ของ

R

โดยที่

IP

แลว

P

ถา  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ เปนไอดีลเสมือนปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ R

แลว

สําหรับแตละไอดีล

P

เปนไอดีลแทของกึ่งริง

R

R

R

ทฤษฎีบท 10 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล มอดูลยอยของกึ่งมอดูล M เมื่อ a  R

M

บนกึ่งริงสลับที่

R

แลว [ N : a ] เปน k -กึ่ง

บทแทรก 11 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล มอดูลยอยของกึ่งมอดูล M เมื่อ I เปนไอดีลของ R

M

บนกึ่งริงสลับที่

R

แลว [ N : I ] เปน k -กึ่ง

ทฤษฎีบท 12 สําหรับทุก ๆ มอดูลยอยปฐมภูมิจะเปนมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ บทตั้ง 13 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R จะไดวาขอความตอไปนี้ สมมูลกัน 1. N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M 2. สําหรับ แตล ะกึ่ง มอดูลยอ ย K ของ M และ a, b  R ถา abK  N แลว aK  N หรือ b n K  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ทฤษฎีบท 14 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ มอดู ล ยอ ยปฐมภู มิ เ ชิ ง แบบฉบั บ ของ M ก็ ต อ เมื่ อ สํ าหรั บ แต ล ะกึ่ง มอดูล ย อ ย K  N ,  N : K  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R

แลวจะไดวา N เปนกึ่ง K ของ M โดยที่

R

55 ทฤษฎีบท 15 กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R แลวจะไดวา N เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M ก็ตอเมื่อหรับแตละ m  M โดยที่ m  N ,  N : m  เปนไอดีลปฐมภูมิ ของ R ทฤษฎีบท 16 กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R ถา N เปนกึ่งมอดูลยอย ปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M , แลว [ N : c] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M , เมื่อ c  R ทฤษฎีบท 17 กําหนดให R เปนกึ่งริงสลับที่ที่มีเอกลักษณและให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บน R ถา [ N : c] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M , แลว N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M , เมื่อ c  R บทแทรก 18 กําหนดให R เปนกึ่งริงสลับที่ที่มีเอกลักษณและให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บน R จะไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M ก็ตอเมื่อ [ N : c] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบ ฉบับของ M , เมื่อ c  R บทตั้ง 19 กําหนดให

N

r  ( N : x) \ ( N : y ),

เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M บนกึ่งริงสลับที่ เมื่อ x  M และ y  M \ N , แลว  N : y    N : ry 

R

และให

ทฤษฎีบท 20 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M บนกึ่งริงสลับที่ และ y  M \ N ถา ( N : x) \ ( N : y)  , แลว N  ( N  Rx )  ( N  Ry )

rR

ถา

R, x  M

ทฤษฎีบท 21 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของ M บนกึ่งริงสลับที่ R, จะไดวาขอความตอไปนี้สมมูลกัน 1. N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M 2. สําหรับแตละ x  M และ y  M \ N , ถา ( N : x) \ ( N : y)  , แลว N  ( N  Rx)  ( N  R )

ทฤษฎีบท 22 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M บนกึ่งริงสลับที่ และ y  M \ N ถา rx  N , แลว N  ( N  Rx )  ( N  Rr n y ) สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n

R, x  M

56 ทฤษฎีบท 23 กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M บนกึ่งริงสลับที่ที่มีเอกลักษณ R, ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยลดทอนไมไดของ M , แลว N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M บทตั้ง 24 ถา N และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ N ไมเปนเซตยอยของ ถา K เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M แลว N  K เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ N บทตั้ง 25 ถา

K

เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ PM  N  (N , P)  {x  M | cx  PM  N , เมื่อ c  R - P 

P

เปนไอดีลแทของ

R,

แลว

บทตั้ง 26 ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M

P

เปนไอดีลแทของ

R,

แลว

N

M

บนกึ่งริง

R,

ทฤษฎีบท 27 ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง แลว (N, P)  M หรือ (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M

และ

และ

P

เปนไอดีลปฐมภูมิของ R,

บทแทรก 28 ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ แลว (N, P)  M หรือ (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M พิสูจน สามารถแสดงไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.3.3

P

เปนไอดีลปฐมภูมิของ R,

ทฤษฎีบท 29 กําหนดให

R,

และ K เปนกึ่ ง มอดูล ยอ ยของกึ่ง มอดูล ของ เมื่อ N  K

M

บนกึ่ง ริง

R,

แลวจะไดว า

M

บนกึ่ง ริง

R,

แลวจะไดว า

c. prad K ( N )  c. prad M ( N )

และ K เปนกึ่ ง มอดูล ยอ ยของกึ่ง มอดูล ของ เมื่อ N  K

บทแทรก 31 กํา หนดให

และ

M

บนกึ่ ง ริง

R,

แลวจะไดว า

N

c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

ทฤษฎีบท 30 กําหนดให

N

เป นกึ่ง มอดูล ยอ ยของกึ่ง มอดู ล ของ c. prad K ( N )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) เมื่อ N  K N

K

57 ทฤษฎีบท 32 กําหนดให

N

และ

K

เปนกึ่ง มอดูล ยอ ยของกึ่ง มอดูล ของ

M

บนกึ่ง ริง

R,

แลวจะไดว า

M

บนกึ่ง ริง

R,

แลวจะไดว า

c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N )

ทฤษฎีบท 33 กําหนดให

N

และ

K

เปนกึ่ ง มอดูล ยอ ยของกึ่ง มอดูล ของ

c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

ทฤษฎีบท 34 กําหนดให

N

และ

K

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ

M

บนกึ่งริง

R,

แลวจะไดวา

c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

ทฤษฎีบท 35 กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R แลวจะไดวา c. prad M ( N )  {(N , P)∣ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R}

R,

ถา

P

เปนไอดีลปฐมภูมิของ

ทฤษฎีบท 36 กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R แลวจะไดวา prad M ( N )  {(N , P)∣ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R}

R,

ถา

P

เปนไอดีลปฐมภูมิของ

ทฤษฎี บ ท 37

M

บนกึ่ ง ริ ง

กํ า หนดให

N

เป น กึ่ ง มอดู ล ย อ ยของกึ่ ง มอดู ล ของ

R,

แล ว จะได ว า

c. prad M ( N )  prad M ( N )

บทตั้ง 38 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri แลวจะไดวากึ่งมอดูลยอย N1  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ก็ตอเมื่อ N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับ ของกึ่งมอดูล M 1 บทแทรก 39 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri แลวจะไดวากึ่งมอดูล ยอย M1  N2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ก็ตอเมื่อ N2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบ ฉบับของกึ่งมอดูล M 2

58 บทแทรก 40 กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

แลวจะไดวากึ่งมอดูลยอย

i 1

เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล N j

M 1  M 2   M j 1  N j  M j 1   M n Nj

M

ก็ตอเมื่อ

ทฤษฎีบท 41 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ถา N1  n เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , แลว N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M1 , สําหรับแตละ n  M 1 บทแทรก 42 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ถา n  N 2 เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , แลว N2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 2 , สําหรับแตละ n  M 2 บทแทรก 43

กํ า หนด ให

n

M  M i ,

เ ป น กึ่ ง มอ ดู ล เมื่ อ

Mi

เป น กึ่ ง มอดู ล บนกึ่ ง ริ ง

Ri

ถ า

i 1

m1  m2     N j    mn  เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , แลว มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 2 , สําหรับแตละ mi  M i

บทตั้ง 44 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M และ เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

P  {x  M 1 : ( x, y ) W },

Nj

เปนกึ่ง

ที่มีเอกลักษณ ถา W แลว P  M 1 หรือ P

บทแทรก 45 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา W เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M และ P  {x  M 2 : (0, x) W }, แลว P  M 2 หรือ P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 2

59 บทแทรก 46 กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูล เมื่อ

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Mi

Ri

ที่มีเอกลักษณ ถา W

i 1

เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล

และ

M

P  {x  M j : (m1 , m2 ,, x, m j 1 , , mn )  W },

แลว

PMj

หรือ

P

เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล

Mj

ทฤษฎีบท 47 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ และให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 1 จะไดวา m  c. prad M  N  ก็ตอเมื่อ  m, y   c. prad M  N   y  . 1

1

บทแทรก 48 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ และให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 2 จะไดวา m  c. prad M ( N ) ก็ตอเมื่อ ( x, m)  c. prad M ({x}  N ) 2

บทแทรก 49 กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Mi

Ri

ที่มีเอกลักษณ และให

i 1

N

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล

Mj

จะไดวา

m  c. prad M j ( N )

ก็ตอเมื่อ

( x1 , , m, x j 1 , , xn )  c. prad M ({ x1}   x2     N   x j 1     xn ).

ทฤษฎีบท 50 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ Ni เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M i , จะไดวา

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

ที่มีเอกลักษณ และให

Ri

c. prad M1 ( N1 )  c. prad M 2 ( N 2 )  c. prad M ( N1  N 2 )

บทแทรก 51 กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Mi

Ri

ที่มีเอกลักษณ และให

i 1

Ni

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล

n

Mi ,

n

จะไดวา  c. pradM ( Ni )  c. pradM ( Ni ) i

i 1

i 1

ทฤษฎีบท 52 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M1 , จะไดวา c. prad M ( N1 )  c. pradM (M 2 )  c. prad M ( N1  M 2 ). 1

2

60 บทแทรก 53 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 2 , จะไดวา c. prad M  M 2  N   c. prad M  M 2   c. prad M  N  พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.9 1

n

บทแทรก 54 กําหนดให

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

2

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Mi

Ri

ที่มีเอกลักษณ ถา Ni

i 1

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล

Mi ,

จะไดวา

n

n

 c. prad Mi (M i  N j )  c. pradM ( M i )  c. pradM j ( N j ) i 1

i 1

ทฤษฎี บ ท 56 กํ า หนดให M  M1  M 2 , เป น กึ่ ง มอดู ล เมื่ อ M i เป น กึ่ ง มอดู ล บนกึ่ ง ริ ง N  N1  N 2 เปนกึ่งมอดูลยอยของ M แลว EM  N   EM  N1   EM  N 2  . 1

บทแทรก 57 กําหนดให

n

M   Mi ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Ri

i 1

เปนกึ่งมอดูลยอยของ

M

แลว

และให

2

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Mi

Ri

และให

n

N   Ni i1

n

EM  N 





EM i  N i  .

i 1

ทฤษฎีบท 58 กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M1 , แลวจะไดวา N1 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบ ฉบับในกึ่งมอดูล M 1 ก็ตอเมื่อ N1  M 2 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M บทแทรก 59 กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

ที่มีเอกลักษณ ถา N j

i 1

เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M j , แลวจะไดวา N j เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ แบบฉบับในกึ่งมอดูล M j ก็ตอเมื่อ M1  M 2   M j1  N j  M j1   M n เปนสูตรรากของกึ่งมอดูล ยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M

61

5.2. อภิปรายผล การทําวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยมีประเด็นที่จะอภิปรายผลขอคนพบที่นาสนใจ คือ ผลการปฏิบัติการในการจัดทํา วิจัยประกอบดวย 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนการจัดการ เปนขั้นตอนที่ผูวิจัยศึกษาวิเคราะหองคประกอบและปจจัย ตาง ๆ ที่เกี่ยวของในการจัดการ ไดแก ขั้นตอนการจัดการทําวิจัย การสํารวจ เก็บขอมูล ประสบการณและพื้นฐาน การเรียนรู วิธีการเรียนรู ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการทําวิจัยการศึกษาหาความรูเรื่อง มอดูล มอดูลเฉพาะ มอดูลเฉพาะ แบบออน และพัฒนาดัดแปลงตอยอดความรูตาง ๆ เพื่อสรางทฤษฏีบทใหม ๆ ขั้นตอนที่ 3 สํารวจรวบรวมขอมูล ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะหขอมูล

5.3. ขอเสนอแนะ ผลจากการจัดทําวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อการนําความรูมาใชใหเกิดประโยชนในการสรางทฤษฎีบทตาง ๆ โดยมีขอเสนอแนะในการทํางานวิจัยสําหรับผูที่สนใจดังนี้ 1. ในการทํางานวิจัยนี้เราศึกษามอดูลบนริงสลับที่ที่มีเอกลักษณในทํานองเดียวกันเราอาจไปศึกษาบนริง หรือ กึ่งริง ที่ไมมีเอกลักษณ 2. ในการทําวิจัยนี้เราศึกษาบน R -module ในทํานองเดียวกันเราอาจศึกษาบน  R, S  -module