697 chapter4

บทที่ 4 ผลการวิจัย ในบทนี้ไดอธิบายลักษณะเฉพาะบางประการที่สําคัญของ k -กึ่งมอดูลยอย ( k -subsemimodule), กึ่ง มอดูลยอ ...

0 downloads 104 Views 396KB Size
บทที่ 4 ผลการวิจัย ในบทนี้ไดอธิบายลักษณะเฉพาะบางประการที่สําคัญของ k -กึ่งมอดูลยอย ( k -subsemimodule), กึ่ง มอดูลยอ ยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical primary subsemimodule), กึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิ (primary subsemimodule) และกึ่งมอดูลยอยกึ่งเฉพาะ (semiprime subsemimodule) ในกึ่งมอดูล (semimodule) บนกึ่งริง (semiring) และไดจําแนกลักษณะเฉพาะบางประการของสิ่งที่ไดกลาวไปขางตนแนวคิดเหลานี้ถูกขยายมา จากมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (primary submodule), มอดูลยอยปฐมภูมิแบบออน (weakly primary submodule) และมอดูลยอยกึ่งเฉพาะ (semiprime submodule) ในมอดูล (module) บนริง (ring) นอกจากนี้ ไดหาความสัมพันธระหวางรากปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของกึ่งมอดูล (classical primary radical of semimodule) กับรากปฐมภูมิของกึ่งมอดูล (radical primary of semimodule) ทายสุดนี้ไดเงื่อนไขที่จําเปนและเพียงพอของกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical primary subsemimodule) ที่จะเปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ (primary subsemimodule)

4.1. ไอดีลในกึ่งริง (ideal in commutative semiring) ในหัวขอนี้ไดอธิบายลักษณะที่สําคัญสมบัติบางประการของไอดีลปฐมภูมิ (primary ideal), ไอดีลปฐมภูมิ เชิงแบบฉบับ (classical primary ideal), ไอดีลเสมือนปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical quasi-primary ideal) และไอดีลเฉพาะ (prime ideal) ในกึ่งริงสลับที่ (commutative semiring) บทนิยาม 4.1.1. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R จะเรียก P วาไอดีลปฐมภูมิ (Primary Ideal) ถา ab  P , เมื่อ a, b  R , แลว a  P หรือ b n  P, สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n บทนิยาม 4.1.2. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R จะเรียก P วาไอดีลปฐมภูมิแ บบฉบับ (classical primary ideal) ถา abI  P, เมื่อ a, b  R, และสําหรับแตละไอดีล I ของ R แลว aI  P หรือ b n I  P, สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n

28 บทตั้ง 4.1.3. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R ถา P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R แลว P เปนไอดีลปฐม ภูมิเชิงแบบฉบับของ R พิสูจน สมมติ ให P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R จะแสดงวา P เปนไอดีล ปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ R ให abJ  P, สําหรับทุก ๆ a, b  R และ J เปนไอดีลของ R โดยที่ bJ  P ดังนั้นจะมี x  bJ ซึ่ง x  P เนื่อ งจาก P ไอดีลปฐมภูมิของและ ax  P, จะไดวา a n  P, สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n นั่นคือ a n J  P, สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n สามารถสรุปไดวา P เปนไอดีลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ R บทตั้ง 4.1.4. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R ถา P เปนไอดีลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ R แลว  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P พิสูจน สมมติให P เปนไอดีลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ R จะแสดงวา  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับ แตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P ให ab   P : I  , เมื่อ a, b  R. จะได abI  P, ดังนั้น aI  P หรือ b n I  P, สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n นั่นคือ a   P : I  หรือ b n   P : I  , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n สามารถสรุปไดวา  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R บทตั้ง 4.1.5. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R ถา  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P แลว P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R พิสูจน สมมติให  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P จะแสดงวา P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R กําหนดให I  R โดยสมมติฐานเราจะไดวา P   P : R  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R บทตั้ง 4.1.6. กําหนดให

ถา  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P แลว  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R พิสูจน สมมติให  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P จะแสดงวา n  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R ให ab   P : I  จะไดวา a nb n   ab    P : I  สําหรับบางจํานวนเต็ม บวก

n

P

R

เนื่องจาก  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ

สําหรับบางจํานวนเต็มบวก เฉพาะของ

เปนไอดีลแทของกึ่งริง

R

k

ดังนั้น

a

R

 P : I  หรือ

จะไดวา b

an   P : I 

หรือ

k

b nk   b n    P : I 

 P : I  สามารถสรุปไดวา  P : I  เปนไอดีล

29 ทฤษฎีบท 4.1.7. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R จะไดวาขอความตอไปนี้สมมูลกัน 1. P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R 2. P เปนไอดีลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ R 3.  P : I  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P พิสูจน เปนผลมาจากบทตั้ง 4.1.3 ถึงบทตั้ง 4.1.6 บทนิย าม 4.1.8. กําหนดให P เปนไอดีล แทของกึ่ง ริง R จะเรียก P วาไอดีล เสมือนปฐมภูมิแ บบฉบับ (Classical Quasi-Primary Ideal) ถา abI  P, เมื่อ a, b  R, และสําหรับแตละไอดีล I ของ R แลว a n I  P หรือ b n I  P, สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n บทตั้ง 4.1.9. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R ถา P เปนไอดีลเสมือนปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P พิสูจน สมมติให ละไอดีล

I

ของ

จํานวนเต็มบวก บวก

k

P R

เปนไอดีลเสมื่อนปฐมภูมิของ โดยที่

I P

ให

ab 

R

จะแสดงวา  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ

 P : I  , เมื่อ

a, b  R

R

R

แลว

สําหรับแต

จะไดวา  ab n   P : I  , สําหรับบาง

ดังนั้น  ab n I  P เนื่องจาก P เปนไอดีลเสมื่อนปฐมภูมิของ R, ดังนั้นจะมีจํานวนเต็ม โดยที่ a nk I  P หรือ b nk I  P, จะไดวา a   P : I  หรือ b   P : I  สามารถสรุปไดวา n

 P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ

บทตั้ง 4.1.10. กําหนดให

R

ถา  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R สําหรับแตละไอ ดีล I ของ R โดยที่ I  P แลว P เปนไอดีลเสมือนปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ R พิสูจน สมมติให  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P แลว P เปน P

เปนไอดีลแทของกึ่งริง

R

ไอดีลเสมื่อนปฐมภูมิของ R จะแสดงวา P เปนไอดีลเสมื่อนปฐมภูมิของ R ให abI  P, เมื่อ a, b  R. จะได วา ab   P : I    P : I  เนื่อ งจาก  P : I  เปนไอดีล เฉพาะของ R, จะไดวา  P : I   R หรือ  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ b

 P : I  , เห็นไดชัดวา

เปนไอดีลเสมื่อนปฐมภูมิของ

R,

an I  P

R

ขึ้นอยูกับวา หรือ

PI

b n I  P,

หรือ

PI,

สรุปไดวา

สําหรับบางจํานวนเต็มบวก

n

a

 P : I  หรือ

สามารถสรุปไดวา

P

30 ทฤษฎีบท 4.1.11. กําหนดให P เปนไอดีลแทของกึ่งริง R จะไดวา P เปนไอดีลเสมือนปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ R ก็ตอเมื่อ  P : I  เปนไอดีลเฉพาะของ R สําหรับแตละไอดีล I ของ R โดยที่ I  P พิสูจน เปนผลมาจากบทตั้ง 4.1.9 และบทตั้ง 4.1.10

4.2. กึ่งมอดูยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical primary subsemimodule) ในหั ว ข อ นี้ ไ ด อ ธิ บ ายลั ก ษณะที่ สํ า คั ญ สมบั ติ บ างประการของกึ่ ง มอดู ล ย อ ยปฐมภู มิ (primary subsemimodule), กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical primary subsemimodule) ในกึ่งมอดูล (semimodule) บนกึ่งริงสลับที่ (commutative semiring) บทนิยาม 4.2.1. กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอย (subsemimodule) ของกึ่งมอดูล (semimodule) M บนกึ่ง ริงสลับที่ (commutative semiring) R สําหรับทุก ๆ a  R และไอดีล I ของ R กําหนดเซต [ N : a ] และ [ N : I ] ดังนี้ 1. [ N : a ]  m  M : am  N  2. [ N : I ]  m  M : Im  N  ขอสังเกต กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล I ของ R จะไดวา 1. [ N : a ]   และ [ N : I ]   2. N  [ N : a] และ N  [ N : I ]

M

บนกึ่งริงสลับที่

R

สําหรับทุก ๆ

aR

และไอดีล

ทฤษฎีบท 4.2.2. กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R แลว [ N : a ] เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M เมื่อ a  R พิสู จ น กํ า หนดให x, x  y  [ N : a ] โดยบทนิ ย ามของ [ N : a ] จะได ว า ax, a  x  y   N ดั ง นั้ น ax, ax  ay  N เนื่องจาก N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M , จะไดวา ay  N นั่นคือ y  [ N : a] สามารถสรุปไดวา [ N : a ] เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บทแทรก 4.2.3. กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M เมื่อ I เปนไอดีลของ R พิสูจน เปนผลมาจากทฤษฎีบท 4.2.2

M

บนกึ่งริงสลับที่

R

แลว [ N : I ] เปน k -

31 บทนิยาม 4.2.4. กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยแท (proper subsemimodule) ของกึ่งมอดูล (semimodule) M บนกึ่ ง ริ ง สลั บ ที่ (commutative semiring) R จะเรี ย ก N ว า กึ่ ง มอดู ล ย อ ยปฐมภู มิ เ ชิ ง (primary subsemimodule) ของ M ถาสําหรับแตละ m  M และ a  R โดยที่ am  N , แลว m  N , หรือ a n M  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n และจะเรียก M วากึ่งมอดูลปฐมภูมิเชิง (primary semimodule) ถาทุก ๆ N เปนกึ่งมอดูลยอยแท N ของ M เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M บทนิยาม 4.2.5. กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยแท (proper subsemimodule) ของกึ่งมอดูล (semimodule) M บนกึ่งริงสลับที่ (commutative semiring) R จะเรียก N วากึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical primary subsemimodule) ของ M ถาสําหรับแตละ m  M และ a, b  R โดยที่ abm  N , แลว am  N , หรือ b n m  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n และจะเรียก M วากึ่งมอดูลปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical primary semimodule) ถาทุก ๆ N เปนกึ่งมอดูลยอยแท N ของ M เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิง แบบฉบับของ M จากบทนิยาม 4.2.4 และบทนิยาม 4.2.5 จะไดความสัมพันธระหวางกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิกับกึ่งมอดูลยอย ปฐมภูมิเ ชิง แบบฉบับ กลาวคือ สําหรับ ทุก ๆ กึ่งมอดูล ยอ ยปฐมภูมิจ ะเปน กึ่ง มอดูล ยอ ยปฐมภูมิเชิง แบบฉบับ สามารถแสดงไดโดยทฤษฎีบท 4.2.6 และมีบางกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับที่ไมเปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิดัง ตัวอยาง 4.2.7 ทฤษฎีบท 4.2.6. สําหรับทุก ๆ มอดูลยอยปฐมภูมิจะเปนมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ พิสูจน สมมติให N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R โดยที่ b(am)  abm  N , เมื่อ m  M และ a, b  R จากบทนิยามของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิจะไดวา am  N หรือ b n M  N , สําหรับ บางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้น am  N หรือ b n m  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้นจากที่กลาวมา สามารถสรุปไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M ตัวอยาง 4.2.7. เห็นไดชัดเจนวา 0  4 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของกึ่งมอดูล    บนกึ่งริง ส ลั บ ที่  แ ต ไม เ ป น กึ่ ง ม อ ดู ล ย อ ย ป ฐ ม ภู มิ เ นื่ อ ง จ า ก 4  0,1  0  4 แ ต  0,1  0  4 แ ล ะ 4n       0  4, สําหรับทุก ๆ จํานวนเต็มบวก n จากบทนิยามของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ และบทนิยามของไอดีล ปฐมภูมิจะไดความสัมพันธ ระหวางกึ่งไอดีลปฐมภูมิเชิงกับกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ดังตอไปนี้

32 บทตั้ง 4.2.8. กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R จะไดวาขอความตอไปนี้ สมมูลกัน 1. N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M 2. สําหรับ แตล ะกึ่ง มอดูลยอ ย K ของ M และ a, b  R ถา abK  N แลว aK  N หรือ b n K  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n พิสูจน 1.  2. สมมติให N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M และ a, b  R และให K เปนกึ่ง มอดูลยอยของ M โดยที่ abK  N จะแสดงวา aK  N หรือ b n K  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ถา aK  N และ b n K  N , สําหรับทุก ๆ จํานวนเต็มบวก n แลวจะมี x, y  K ซึ่ง ax  N และ b n y  N สําหรับทุก ๆ จํานวนเต็มบวก n เนื่องจาก abx, aby  abK  N จะไดวา b k x  N และ ay  N สําหรับ บางจํา นวนเต็ ม บวก k เพราะว า N เปน กึ่ ง มอดูล ยอ ยปฐมภูมิเ ชิ ง แบบฉบับ ของ M และ ab  x  y   abK  N ดังนั้นจะไดวา ax  ay  a  x  y   N หรือ b k x  bk y  b k  x  y   N สําหรับ บางจํานวนเต็มบวก k ถา ax  ay  N , จะไดวา ax  N เพราะวา ay  N และ N เปน k -กึ่งมอดูลยอย ของกึ่งมอดูล M , เกิดขอขัดแยง ถา b k x  b k y  N จะเกอดขอขัดแยงในทํานองเดียว จากที่กลาวมาสามารถ สรุปไดวา aK  N หรือ b n K  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n 2.  1. สมมติใ ห สํา หรั บ แต ล ะกึ่ ง มอดู ล ย อ ย K ของ M และ a, b  R ถ า abK  N แล ว aK  N หรือ b n K  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n จะแสดงวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบ ฉบับของ M ให a, b  R และ m  M โดยที่ abm  N เนื่องจาก abm  N จะไดวา ab  m  N จาก สมมติฐานจะไดวา am  a  m  N หรือ b n m  b n  m  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n สามารถ สรุปไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M ทฤษฎีบท 4.2.9. กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R แลวจะไดวา N เปน กึ่ง มอดูล ย อ ยปฐมภู มิเ ชิ ง แบบฉบับ ของ M ก็ ตอ เมื่อ สํ าหรั บ แตล ะกึ่ง มอดู ล ยอ ย K ของ M โดยที่ K  N ,  N : K  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R พิสูจน  สมมติให N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M จะแสดงวาสําหรับแตละกึ่งมอดูลยอย K ของ M โดยที่ K  N ,  N : K  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R ให ab   N : K  , เมื่อ a, b  R โดยบท นิยามของ  N : K  จะไดวา abK  N จากบทตั้ง 4.2.8 จะไดวา aK  N หรือ b n K  N , สําหรับบาง จํานวนเต็มบวก n ดังนั้นจะไดวา a   N : K  หรือ b n   N : K  , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n จากที่ กลาวมาสามารถสรุปไดวา  N : K  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R

33 สมมติให  N : K  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R, สําหรับแตละกึ่งมอดูลยอย K ของ M โดยที่ K  N จะแสดงวา N กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M ให abK  N , เมื่อ a, b  R โดยบท นิยามของ  N : K  จะไดว า ab   N : K  เนื่อ งจาก  N : K  เป นไอดีล ปฐมภูมิของ R, จะไดว า a   N : K  หรือ b n   N : K  , สํ าหรับ บางจํ านวนเต็ มบวก n โดยบทนิย ามของ  N : K  จะไดว า aK  N หรือ b n K  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n โดยบทตั้ง 4.2.8 จะไดวา N กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ เชิงแบบฉบับของ M 

ทฤษฎีบท 4.2.10. กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R แลวจะไดวา N เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M ก็ตอเมื่อหรับแตละ m  M โดยที่ m  N ,  N : m  เปนไอดีลปฐมภูมิ ของ R พิสูจน  สมมติให N กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M จะแสดงวา  N : m  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R หรับแตละ m  M โดยที่ m  N ให ab   N : m  , เมื่อ a, b  R โดยบทนิยามของ  N : m  จะไดวา abm  N และโดยบทนิยามกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M ไดวา am  N หรือ b n m  N , สําหรับ บางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้น a   N : m  หรือ b n   N : m  , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n จากที่กลาวมา สามารถสรุปไดวา  N : m  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R  สมมติให  N : m  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R, หรับแตละ m  M โดยที่ m  N จะแสดงวา N กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M ให abm  N , เมื่อ a, b  R โดยบทนิยามของ  N : m  จะไดวา ab   N : m  แตเนื่องจาก  N : m  เปนไอดีลปฐมภูมิของ R, จะไดวา a   N : m  หรือ b n   N : m  , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n และโดยบทนิยามของ  N : m  จะไดวา am  N หรือ b n m  N , สําหรับบาง จํานวนเต็มบวก n จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M . ทฤษฎีบท 4.2.11. กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บนกึ่งริงสลับที่ R ถา N เปนกึ่งมอดูล ยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M , แลว [ N : c ] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M , เมื่อ c  R พิสูจน กําหนดให abm  [ N : c], เมื่อ a, b, c  R และ m  M โดยบทนิยามของ [ N : c] จะไดวา  ca  bm  c  abm   N เนื่องจาก  ca  bm  N และ N กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M , จะได วา cam  N หรือ b n m  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n และโดยบทนิยามของ [ N : c] จะไดวา am  [ N : c] หรือ b n m  N  [ N : c ], สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้น [ N : c ] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐม ภูมิเชิงแบบฉบับของ M

34 ทฤษฎีบท 4.2.12. กําหนดให R เปนกึ่งริงสลับที่ที่มีเอกลักษณและให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บน R ถา [ N : c ] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M , แลว N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบ ฉบับของ M , เมื่อ c  R พิสูจน กําหนดให abm  N , เมื่อ a, b  R และ m  M โดยบทนิ ยามของ [ N : c] จะไดว า 1bm  bm  [ N : a ] เนื่องจาก 1bm  [ N : a ] และ [ N : a ] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M , จะไดวา m  1m  N  [ N : a ] หรือ b n m  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้นจะไดวา am  N หรือ b n m  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบ ฉบับของ M บทแทรก 4.2.13. กําหนดให R เปนกึ่งริงสลับที่ที่มีเอกลักษณและให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M บน R จะไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ ของ M ก็ตอเมื่อ [ N : c ] เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิง แบบฉบับของ M , เมื่อ c  R พิสูจน เปนผลมาจากทฤษฎีบท 4.2.11 และทฤษฎีบท 4.2.12 บทตั้ง 4.2.14. กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M บนกึ่งริงสลับที่ R และให r  R ถา r  ( N : x) \ ( N : y), เมื่อ x  M และ y  M \ N , แลว  N : y    N : ry  พิสูจน สมมติใ ห r  ( N : x) \ ( N : y), เมื่ อ x  M และ y  M \ N , เริ่ ม ตนเราจะแสดงว า ( N : y )  ( N : ry ) ให a  ( N : y ) โดยบทนิยามของ ( N : y ) จะไดวา ay  N เนื่องจาก N เปนกึ่งมอดูล ยอยของ M , จะไดวา a(ry )  r (ay )  rN  N , สําหรับทุก ๆ r  R และโดยบทนิยามของ ( N : y ) จะได วา a  ( N : ry ) ดังนั้นจะไดวา ( N : y )  ( N : ry) ตอไปเราจะแสดงวา ( N : ry )  ( N : y) ให a  ( N : ry ) โดยบทนิยามของ ( N : y ) จะไดวา (ar ) y  a (ry )  N นั่นคือ ar  ( N : y ) เพราะวา N เปนกึ่งมอดูลยอย ปฐมภู มิ เ ชิ ง แบบฉบั บ ของ M จะได ว า ( N : y ) เป น ไอดี ล ปฐมภู มิ ข อง R นั่ น คื อ a  ( N : y ) หรื อ r n  ( N : y ), สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n โดยสมมติฐานจะไดวา a  ( N : y ) ดังนั้น ( N : ry )  ( N : y ) จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา  N : y    N : ry 

35 ทฤษฎีบท 4.2.15. กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเ ชิงแบบฉบับของ M บนกึ่ง ริง สลับที่ R, x  M และ y  M \ N ถา ( N : x ) \ ( N : y )  , แลว N  ( N  Rx )  ( N  Ry ) พิสูจน เห็นไดชัดเจนวา N  ( N  Rx)  ( N  Ry ) ตอไปเราจะแสดงวา ( N  Rx)  ( N  Ry )  N ให t  ( N  Rx )  ( N  Ry ) จะไดวา n1  r1 x  t  n2  r2 y, สําหรับบาง n1 , n2  N และ r1 , r2  R เนื่องจาก ( N : x ) \ ( N : y )  , ดัง นั้น จะมี r  ( N : x) \ ( N : y ) โดยที่ rx  N และ rr1 x  r1rx  N ซึ่ ง rn1 , rr1 x, rn2  N แตเนื่องจาก rt  rn1  rr1 x  rn2  rr2 y, จะไดวา rn2  rr2 y  N นั่นคือ rr2 y  N โดย บทนิยามของ ( N : ry ) เราจะไดวา r2  ( N : ry) แตจากบทตั้ง 4.2.12 จะไดวา  N : y    N : ry  ดังนั้นเรา จะไดวา ( N  Rx)  ( N  Ry )  N จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา N  ( N  Rx )  ( N  Ry ) ทฤษฎีบท 4.2.16. กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยของ M บนกึ่งริงสลับที่ R, จะไดวาขอความตอไปนี้ สมมูลกัน 1. N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M 2. สําหรับแตละ x  M และ y  M \ N , ถา ( N : x) \ ( N : y)  , แลว N  ( N  Rx)  ( N  R )

พิสูจน 1.  2. เปนผลมาจากทฤษฎีบท 4.2.15 2.  1. จะตองแสดงวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M สําหรับแตละ x  M และ y  M \ N , โดยการแสดงวา ( N : y ) เปนไอดีล ปฐมภูมิของ R ให a, b  R โดยที่ ab  ( N : y ) โดยบท นิยามของไอดีลปฐมภูมิเราตองแสดงวา a  ( N : y ) หรือ b n  ( N : y) สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n สมมติให b  ( N : y ) เนื่อ งจาก ab  ( N : y ), จะไดว า b  ( N : ay ) ดัง นั้น ( N : ay ) \ ( N : y )   นั่ นคื อ N  ( N  Ray )  ( N  Ry ) แตเนื่องจาก ay  ( N  Ray )  ( N  Ry ), จะไดวา ay  N โดยบทนิยามของ ( N : y ) จะไดวา a  ( N : y ) จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา ( N : y ) เปนไอดีลปฐมภูมิของ R โดยทฤษฎีบท 4.2.8 จะไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับของ M ทฤษฎีบท 4.2.17. กําหนดให N เปน k -กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิเ ชิงแบบฉบับ ของ M บนกึ่ง ริง สลับที่ R, x  M และ y  M \ N ถา rx  N , แลว N  ( N  Rx)  ( N  Rr n y ) สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n พิสูจน ให rx  N และ r  R เห็นไดชัดเจนวา N  ( N  Rx)  ( N  Rr n y), สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ตอไปเราจะแสดงวา ( N  Rx)  ( N  Rr n y )  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n โดยการแบงการพิสูจน ออกเปน 2 กรณีดังนี้

36 กรณีที่ 1. ถามีสําหรับบางจํานวนเต็มบวก n โดยที่ r n y  N เนื่องจาก N เปนกึ่งมอดูลยอยของ M จะไดวา Rr n y  N นั่นคือ ( N  Rx)  ( N  Rr n y )  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n กรณีที่ 2. ถาไมมีจํานวนเต็มบวก n ใด ๆ โดยที่ r n y  N โดยบทนิยามของ ( N : y) จะไดวา r n  ( N : y) แต เ นื่ อ งจาก rx  N , นั่ น คื อ r  ( N : x) โดยบทนิ ย ามผลต า งจะได ว า ( N : x) \ ( N : y )   โดยทฤษฎี บ ท 4.2.14.จะได ว า N  ( N  Rx )  ( N  Ry ) แต เ นื่ อ งจาก ( N  Rr n y )  ( N  Ry ), สําหรับทุก ๆ จํานวนเต็มบวก n จะไดวา ( N  Rx)  ( N  Rr n y )  ( N  Rx)  ( N  Ry )  N ,

สําหรับทุก ๆ จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มบวก n

n

จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา

N  ( N  Rx)  ( N  Rr n y )

สําหรับบาง

บทนิยาม 4.2.18. กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของ M บนกึ่งริงสลับที่ R, จะเรียก N วาเปนกึ่งมอดูลยอย ลดทอนไมได (irreducible subsemimodule) ถาสําหรับแตละกึ่งมอดูลยอย N1 และ N 2 ของ M โดยที่ N  N1  N 2 , แลว N  N1 หรือ N  N 2 ทฤษฎีบท 4.2.19.กําหนดให N เปน k -กึ่ง มอดูล ยอ ยปฐมภูมิเ ชิงแบบฉบับ ของ M บนกึ่งริง สลับ ที่ที่มี เอกลักษณ R, ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยลดทอนไมไดของ M , แลว N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M พิสูจน เห็นไดชัดเจนวา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของ M ดังนั้นจะมี y  M \ N ให r  R และ x  M โดย ที่ rx  N จะตองแสดงวา x  N หรือ r n M  N , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n สมมติให r n M  N , สําหรับทุก ๆ จํานวนเต็มบวก n โดยทฤษฎีบท 4.2.15. จะไดวา N  ( N  Rx)  ( N  Rr k y), สําหรับบาง จํานวนเต็มบวก k แตเนื่องจาก N เปนกึ่งมอดูลยอยลดทอนไมไดของ M , จะไดวา N  N  Rx หรือ N  N  Rr k y และเพราะวา r n M  N , สําหรับทุก ๆ จํา นวนเต็มบวก n จะไดว า r k y  N นั่นคื อ N  N  Rx ดังนั้นเราจะไดวา x  1x  Rx  N จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา N เปนกึ่งมอดูลยอยปฐม ภูมิของ M บทตั้ง 4.2.20. ถา N และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ N ไมเปนเซตยอยของ K ถา K เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M แลว N  K เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ N พิสูจน กําหนดให K เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M เรากําลังจะแสดงวา N  K เปนกึ่งมอดูลยอย ปฐมภูมิแบบฉบับของ N เห็นไดชัดวา N  K เปนกึ่งมอดูลยอยของ N ตอไปจะแสดงสมบัติกึ่งมอดูลยอยปฐม ภูมิแบบฉบับของ N  K ให abm  N  K เมื่อ a, b  R และ m  N สมมติให am  N  K และ

37 สําหรับ ทุก ๆ จํานวนเต็มบวก n เนื่อ งจาก abm  N  K จะไดวา abm  N และ abm  K เพราะวา abm  K และ K เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M เราจะไดวา am  K หรือ bnm  K สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n แตเนื่องจาก m  N เราจะไดวา am  N และ bn m  N นั่นคือ am  N  K หรือ bnm  N  K สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n เกิดขอขัดแยง จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา N  K เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ N bnm  K

4.3. สมบัติบางประการของ (N , P) (some basic properties of (N , P) ) ในหัวขอนี้ไดอธิบายลักษณะเฉพาะที่สําคัญและสมบัติบางประการของเซต (N , P) เมื่อ N เปนกึ่งมอดูล ยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับ (classical primary subsemimodule) ในกึ่งมอดูล (semimodule) M บนกึ่งริงสลับ ที่ (commutative semiring) R และ P เปนไอดีลปฐมภูมิใน R โดยเริ่มตนจากการศึกษาบทตั้ง ดังนี้ บทตั้ง 4.3.1. ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ P เปนไอดีลแทของ R, แลว PM  N  (N , P )  {x  M | cx  PM  N , เมื่อ c  R - P  . พิสูจน ให x  PM  N จะไดวา x  pm  k, เมื่อ p  P, m  M และ k  N เนื่องจาก P เปนไอดีล แทของ R, ดังนั้นจะมี 1  R - P โดยที่ 1x  x  pm  k  PM  N จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา x (N , P ) ดังนั้น PM  N  (N , P ). บทตั้ง 4.3.2. ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ P เปนไอดีลแทของ R, แลว (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M พิสูจน โดยบทตั้ง 4.3.1 จะไดวา (N , P)   ตอไปจะแสดงสมบัติกึ่งมอดยอยของ (N , P) ให r  R และ x, y  (N , P ) เนื่องจาก P เปนไอดีลแทของ R, จะไดวา P  R ดังนั้น R - P   ดังนั้นจะมี c1, c2 โดยที่ c1 , c2  R - P ซึ่ง c1x, c2y  PM  N แลวจะไดวา c1x  p1m1  n1 และ c2y  p2m2  n2 , เมื่อ p1, p2  P, m1, m2  M และ n1, n2  N พิจารณา c1c2 (x  y )



c1c2x  c1c2y



c2 (c1x )  c1(c2y )



c2 (p1m1  n1 )  c1(p2m2  n2 )



c2 p1m1  c2n1  c1p2m2  c1n2



(c2 p1m1  c1p2m2 )  (c2n1  c1n2 )  PM  N

38 และ c1rx



r (c1x )



r (p1m1  n1 )



rp1m1  rn1  PM  N .

จะไดวา x  y  (N , P ) และ rx (N , P ) จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่ง มอดูลของ M ทฤษฎีบท 4.3.3. ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R, แลว (N , P )  M หรือ (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M พิสูจน สมมติให (N , P )  M จะตองแสดงวา (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของกึ่งมอดูล M โดยบทตั้งที่ 4.3.2 จะไดวา (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M ตอไปเราจะแสดงสมบัติกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ ของ (N , P), กําหนดให r  R และ m  M โดยที่ rm (N , P) จะตองแสดงวา m (N , P ) หรือ r M  (N , P ), สํา หรับ บางจํ า นวนเต็ ม บวก n เนื่ อ งจาก rm (N, P), ดั ง นั้ นจะมี c โดยที่ c  R - P , ซึ่ ง crm  PM  N เราจะแบงการพิสูจนออกเปน 2 กรณี คือ r  P และ r  P . กรณีที่ 1. ถา r  P , และโดยบทตั้ง 4.3.1 จะไดวา r n M  PM  PM  N  (N , P), สําหรับ บางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้น r M  (N , P ) กรณีที่ 2. ถา r  P , แลวจะไดวา cr  P ดังนั้น m (N , P ) จากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M n

n

บทแทรก 4.3.4 ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ R, แลว (N , P )  M หรือ (N , P) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M พิสูจน สามารถแสดงไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.3.3

P

เปนไอดีลปฐมภูมิของ

39

4.4. สมบัติบางประการของรากปฐมภูมิแบบฉบับ (some basic properties of the classical primary radical) ในหัวขอนี้ไดอธิบายลักษณะเฉาะที่สําคัญและสมบัตบิ างประการของรากปฐมภูมิแบบฉบับของกึง่ มอดูล (classical primary radical of semimodule) ของกึ่งมอดูลยอย N ในกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, โดย เริ่มตนจากการศึกษาบทนิยาม ดังนี้ บทนิยาม 4.4.1 รากปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล (classical primary radical of semimodule) ของกึ่ง มอดูลยอย N ในกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, เขียนแทนดวย c. prad M  N  คือ อินเตอรเซกชันของทุก กึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับที่มี N บรรจุ ในกรณีที่ไมมีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับใดเลยที่มี N บรรจุ เราจะ ให c. prad M  N   M ทฤษฎีบท 4.4.2 กําหนดให

N

และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่ง มอดูล ของ M บนกึ่ง ริง R, แลวจะไดวา c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) เมื่อ N  K พิสูจน กําหนดให N และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, โดยที่ N  K เราจะแสดง วา c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) ถาไมมีกึ่ง มอดูล ยอ ยปฐมภูมิแบบฉบับ ที่บ รรจุ K โดยบทนิยามเราจะไดวา w.rad M ( K )  M แต เนื่องจาก w.rad M ( N ) เปนกึ่งมอดูลยอยของ M เราจะไดวา w.rad M ( N )  M  w.rad M ( K ) ถามีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับที่บรรจุ K โดยบทนิยามเราจะไดวา w.rad M ( K ) เปนมอดูลยอยของ M โดยที่ K  w.rad M ( K ) แตเนื่องจาก N  K จะไดวา N  w.rad M ( K ) ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถ สรุปไดวา w.rad M ( N )  w.rad M ( K ) ทฤษฎีบท 4.4.3 กําหนดให

N

และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่ง มอดูล ของ M บนกึ่ง ริง R, แลวจะไดวา c. prad K ( N )  c. prad M ( N ) เมื่อ N  K พิสูจน กําหนดให N และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, โดยที่ N  K เราจะแสดง วา c. prad K ( N )  c. prad M ( N ) ถาไมมี กึ่ง มอดูล ยอ ยปฐมภูมิแ บบฉบับ ที่บ รรจุ N โดยบทนิยามเราจะไดวา w.rad M ( N )  M แต เนื่องจาก c. prad K ( N ) เปนมอดูลยอยของ K จะไดวา c. prad K ( N )  K  M  c. prad M ( N )

40 ถามีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับที่บรรจุ N จะไดวา c. prad M ( N ) เปนกึ่งมอดูลยอยของ M โดยที่ N  c. prad M ( N ) ดังนั้นเรากําหนดให W เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M ที่บรรจุ N ตอไปนี้เรา จะแบงการพิสูจนออกเปน 2 กรณีกลาวคือ K เปนเซตยอยของ W และ K ไมเปนเซตยอยของ W ดังนี้ กรณีที่ 1 K เปนเซตยอยของ W เนื่องจาก K เปนเซตยอยของ W และ c. prad K ( N )  W ดังนั้น จะไดวาถา W เปนกึ่งมอดูลยอยของ M ที่บรรจุ N แลวจะไดวา c. prad K ( N )  W กรณีที่ 2 K ไมเปนเซตยอยของ W เห็นไดชัดเจนวา K  W เปนมอดูลยอ ยแบบออนของ K แต เนื่องจาก N  K  W จะไดวา c. prad K ( N )  K  W  W ดังนั้นจะไดวาถา W เปนมอดูลยอยของ M บรรจุ N แลว c. prad M ( N )  W จากทั้ง 2 กรณี สามารถสรุปไดวา c. prad K ( N )  c. prad M ( N ) บทแทรก 4.4.4 กําหนดให

เปนกึ่ง มอดูลยอยของกึ่ง มอดูลของ M บนกึ่งริง R, แลวจะไดวา c. prad K ( N )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) เมื่อ N  K พิสูจน ให N และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่ง มอดูล ของ M บนกึ่ง ริง R, โดยที่ N  K เราจะแสดงวา c. prad K ( N )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) โดยทฤษฎี บ ท 4.4.3 และทฤษฎี บ ท 4.4.4 จะได ว า c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) และ c. prad K ( N )  c. prad M ( N ) ดั ง นั้ น จากที่ ก ล า วมาสามารถสรุ ป ได ว า N

และ

K

c. prad K ( N )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

ทฤษฎีบท 4.4.5 กําหนดให

N

และ

K

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่ง มอดูลของ

M

บนกึ่งริง

R,

แลวจะไดวา

c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N )

พิ สู จ น ให

เป น กึ่ ง มอดู ล ย อ ยของกึ่ ง มอดู ล ของ M บนกึ่ ง ริ ง R, เราจะต อ งแสดงว า c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N ) โดยบทนิยามของ c. prad M (c. prad M ( N )) เห็นไดชัดเจนวา N

และ

K

c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N )

ตอไปเราจะแสดงวา c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N ) ถาไมมี กึ่ง มอดูลยอ ยปฐมภูมิแบบฉบับ ที่บ รรจุ N โดยบทนิยาม 4.4.1 จะไดวา c. prad M ( N )  M ดังนั้น c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N ) ถามีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับที่บรรจุ N โดยบทนิยาม 4.4.1 จะไดวา c. prad M (c. prad M ( N )) คือมอดูลยอยที่เล็กที่สุดที่บรรจุ c. prad M ( N ) แตเนื่องจาก c. prad M ( N )  c. prad M ( N ) จะไดวา c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N )

41 ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา ทฤษฎีบท 4.4.6 กําหนดให

N

c. prad M (c. prad M ( N ))  c. prad M ( N )

และ

K

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่ง มอดูล ของ

M

บนกึ่ง ริง

R,

แลวจะไดวา

c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

พิ สู จ น ให

เป น กึ่ ง มอดู ล ย อ ยของกึ่ ง มอดู ล ของ M บนกึ่ ง ริ ง R, เราจะต อ งแสดงว า c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) เนื่องจาก N  K  N และ N  K  K โดยทฤษฎี บท 4.4.2 จะไดวา c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N ) และ c. prad M ( N  K )  c. prad M ( K ) ดังนั้นจาก ที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา w.rad M ( N  K )  w.rad M ( N )  w.rad M ( K ) N

และ

K

ทฤษฎีบท 4.4.7 กําหนดให

N

และ

K

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ

M

บนกึ่งริง

R,

แลวจะไดวา

c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

พิสูจน ให

N

และ

K

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ

M

บนกึ่งริง

R,

เริ่มตนจะแสดงวา

c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

โดยบทนิยาม 4.4.1 เห็นไดชัดเจนวา

N  K  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

w.rad M ( N  K )  w.rad M ( N )  w.rad M ( K )

โดยทฤษฎีบท 4.4.5 เราจะไดวา

ตอไปจะแสดงวา

c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K )

เนื่องจาก

N NK

และ

K NK

โดยทฤษฎีบท 4.4.2 เราจะไดวา

c. prad M ( N )  c. prad M ( N  K )

และ c. prad M ( K )  c. prad M ( N  K )

โดยสมบัติของเซตเราจะไดวา c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถ สรุปไดวา c. prad M ( N  K )  c. prad M ( N )  c. prad M ( K ) ทฤษฎีบท 4.4.8 กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, ถา P เปนไอดีลปฐมภูมิ ของ R แลวจะไดวา c. prad M ( N )  {(N , P)∣ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R} พิสูจน ให N และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R และให B  {(N , P)∣ P เปนไอดี ล ปฐมภู มิ ข อง R} ดั ง นั้ น เราต อ งจะแสดงว า c. prad M ( N )  B ให m  c. prad M ( N ) จากบทแทรก 4.3.4 เราจะไดวา ( N , P )  M หรือ ( N , P ) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ แบบ ฉบับของ M เราจะแบงการพิสูจนออกเปน 2 กรณี ดังนี้

42 กรณีที่ 1 ( N , P)  M เนื่องจาก ( N , P)  M จะไดวา m  ( N , P) กรณีที่ 2 ( N , P)  M เนื่องจาก ( N , P)  M โดยบทแทรก 4.3.4 เราจะไดวา ยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ M และจากจากบทตั้ง 4.2.2 จะไดวา

( N , P)

เปนกึ่งมอดูล

N  PM  N  ( N , P )  {x  M | cx  PM  N , c  R  P}

นั่นคือ

m  ( N , P)

สามารถสรุปไดวา

c. prad M ( N )   {(N , P ) ∣ P

เปนไอดีลปฐมภูมิของ

R}

ทฤษฎีบท 4.4.9 กําหนดให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, ถา P เปนไอดีลปฐมภูมิ ของ R แลวจะไดวา prad M ( N )  {(N , P)∣ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R} พิสูจน ให N และ K เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, และ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R และให B  {(N , P)∣ P เป น ไอดี ล ปฐมภู มิ ข อง R} ดั ง นั้ น เราต อ งจะแสดงว า prad M ( N )  B ให m  prad M ( N ) จากบทแทรก 4.3.3 เราจะไดวา ( N , P )  M หรือ ( N , P ) เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M เราจะแบงการพิสูจนออกเปน 2 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 ( N , P)  M เนื่องจาก ( N , P)  M จะไดวา m  ( N , P) กรณีที่ 2 ( N , P)  M เนื่องจาก ( N , P)  M โดยบทแทรก 4.3.3 เราจะไดวา ( N , P) เปนกึ่งมอดูล ยอยปฐมภูมิของ M และจากจากบทตั้ง 4.2.2 จะไดวา N  PM  N  ( N , P )  {x  M | cx  PM  N , c  R  P}

นั่นคือ m  ( N , P) สามารถสรุปไดวา prad M ( N )  {(N , P)∣ P เปนไอดีลปฐมภูมิของ R} ตอไปเราจะ แสดงวา B  prad M ( N ) ถาไมมกี ึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M ที่บรรจุ N โดยบทนิยามรากปฐมภูมิเราจะไดวา prad M ( N )  M ดังนั้น B  prad M ( N ) ถามีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M ที่บรรจุ N เราจะให L เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิของ M ที่บรรจุ N และให m  B เนื่องจาก L เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิของ M จากบท ตั้งที่ เราจะไดวา ( L : M ) เปนไอดีลปฐมภูมิของ R เนื่องจาก ( L : M ) เปนไอดีลแทของ R ดังนั้นจะมี c  R โดยที่ c  R  ( L : M ) ซึ่ ง cm  ( L : M ) M  N เพราะว า cm  ( L : M ) M  N จะได ว า cm  hs  k สําหรับบาง h  ( L : M ), s  M และ k  N เนื่องจาก hM  L และ N  L จะไดวา hs  L และ k  L ดังนั้น cm  L เพราะวา cM ไมเ ปนเซตยอ ยของ L และ L เปนกึ่งมอดูลยอ ยเฉพาะของ M เราจะไดวา m  L นั่นคือ m  prad M ( N ) ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา prad M ( N )   {(N , P ) ∣ P เปนไอ ดีลปฐมภูมิของ R}

43 ทฤษฎี บ ท 4.4.10 กํ า หนดให

เป น กึ่ ง มอดู ล ย อ ยของกึ่ ง มอดู ล ของ

N

M

บนกึ่ ง ริ ง

R,

แล ว จะได ว า

c. prad M ( N )  prad M ( N )

พิสูจน เปนผลมาจากทฤษฎีบท 4.4.8 และ ทฤษฎีบท 4.4.9 n

4.5. กึ่งมอดูยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับใน  M (classical primary subsemimodule in i

i 1

n

M ) i

i 1

ในหัวขอนี้ไดขยายแนวความคิดของกึ่งมอดูยอยปฐมภูมิเชิงแบบฉบับใน

n

M

เปนใน  M i , โดยเริ่มตนจาก i 1

การกําหนดให

n

R   Ri ,

สําหรับแตละ

Ri

เปนกึ่งริงสลับที่มีเอกลักษณ และจะไดวาไอดีล

i 1

n

I   Ii

ของกึ่ง

i1

ริง R นอกจากนี้สามารถสรุปไดวา I เปนไอดีลปฐมภูมิใน R ก็ตอเมื่อสําหรับแตละไอดีล Ii เปนไอดีลปฐมภูมิ ใน Ri ยิ่งไปกวานั้นสําหรับ ทุก ๆ กึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, สามารถเขียนไดในรูป ผลคูณตรง (direct n

product) ของกึ่งมอดูลนั่นคือ M   M i , เมื่อ M i



 0,0,0,,0,1,0, 0  M เปนกึ่งมอดูลของบนกึ่งริง

i 1

Ri

โดยที่  r1 ,

เมื่อ

ri  Ri

และ

r2 , , rn  m1 , m2 , , mn    r1m1 , r2 m2 , , rn mn  ,

mi  M i

บทตั้ง 4.5.1. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri แลวจะไดวากึ่งมอดูล ยอย N1  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ก็ตอเมื่อ N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบ ฉบับของกึ่งมอดูล M 1 พิสูจน  ให N1  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M เราจะตองแสดงวา N1 เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 เห็นไดชัดเจนวา N1 เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูล M 1 ตอไป จะแสดงสมบัติของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับ ของ N1 ให m  M 1 และ a, b  R1 โดยที่ abm  N1 จะได วา  a,1 b,1 m, n    abm, n   N1  M 2 เนื่องจาก N1  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M จะไดวา  am, n    a,1 m, n   N1  M 2

44 หรือ  b n m, n    b,1n  m, n   N1  M 2 , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n นั่นคือ am  N1 หรือ bn m  N1 , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้นจะไดวา N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1  สมมติให N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 จะตองแสดงวา N1  M 2 เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M เห็นไดชัดเจนวา N1  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูล M ต อ ไปเราจะแสดงสมบั ติ กึ่ ง มอดู ล ย อ ยปฐมภู มิ แ บบฉบั บ ของ N1  M 2 ให  m, n   M และ  a1, a2  ,  b1 , b2   R โดยที่  a1b1m, a2b2 n    a1 , a2  b1 , b2  m, n   N1  M 2 เนื่องจาก N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 และ a1b1m  N1 , จะไดวา a1m  N1 หรือ b1n n  N1 , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n จะไดวา  a1 , a2  m, n    a1m, a2 n   N1  M 2 หรือ n  b1 , b2   m, n    b1n m, b2n n   N1  M 2 สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา N1  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบ ฉบับของกึ่งมอดูล M บทแทรก 4.5.2. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri แลวจะไดวากึ่ง มอดูลยอย M1  N2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ก็ตอเมื่อ N2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ แบบฉบับของกึ่งมอดูล M 2 พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับบทตั้ง 4.5.1 บทแทรก 4.5.3. กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

แลวจะไดวากึ่งมอดูล

i 1

ยอย M1  M 2  M j1  N j  M j1   M n เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล ตอเมื่อ N j เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล N j พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับบทตั้ง 4.5.1 และบทแทรก 4.5.2

M

ก็

45 ทฤษฎีบท 4.5.4. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ถา N1  n เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , แลว N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 , สําหรับแตละ n  M 1 พิสูจน สมมติให N1  n เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , เราจะแสดงวา N1 เปนกึ่งมอดูล ยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 เห็นไดชัดเจนวา N1 เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูล M 1 ตอปเราจะ แสดงวาสมบัติของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของ N1 ให m  M 1 และ a, b  R1 โดยที่ abm  N1 จะได วา  a,1 b,1 m, n    abm, n   N1  n. เนื่องจาก N1  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , จะไดวา  am, n    a,1 m, n   N1  n . หรือ  b n m, n    b,1n  m, n   N1  n. สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n นั่นคือ am  N1 หรือ bn m  N1 ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา N1 เปน กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 บทแทรก 4.5.5. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ถา n  N 2 เปน กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , แลว N2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 2 , สําหรับแตละ n  M 2 พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.5.4 บทแทรก 4.5.6.

กํ า หนดให

n

M  M i ,

เป น กึ่ ง มอดู ล เมื่ อ

Mi

เป น กึ่ ง มอดู ล บนกึ่ ง ริ ง

Ri

ถ า

i 1

m1  m2     N j    mn  เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , แลว มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 2 , สําหรับแตละ mi  M i พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.5.4 และบทแทรก 4.5.5

Nj

เปนกึ่ง

46

4.6. สูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับ (radical formula of classical primary subsemimodule) ในหัวขอนี้เราจะกลาวถึงโครงสรางของสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับ บทนิยาม สมบัติตาง ๆ ของสูตรรากโดยเริ่มตนจากการศึกษาบทตั้ง ดังนี้ บทตั้ง 4.6.1. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา W เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M และ P  {x  M1 : ( x, y) W }, แลว P  M1 หรือ P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 พิสูจน สมมติให P  M 1 เราตองแสดงวา P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 เห็นได ชัดเจนวา P เปนกึ่งมอดูลยอยแทของกึ่งมอดูล M 1 ตอไปเราตองแสดงสมบัติของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับ ของ P, ให a, b  R1 และ m  M1 โดยที่ abm  P โดยบทนิ ย ามของ P เราจะได ว า  a,1 b,1 (m, y )  (abm, y )  W เนื่องจาก W เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M , จะได วา ( am,1)   a,1 ( m, y )  W หรือ n (b n m, y )   b,1 ( m, y )  W , สําหรับบางจํานวนเต็มบวก n นั่นคือ am  P หรือ bn m  P ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา P เปนกึ่ง มอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 บทแทรก 4.6.2. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา W เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M และ P  {x  M 2 : (0, x) W }, แลว P  M 2 หรือ P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 2 พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับบทตั้ง 4.6.1

47 บทแทรก 4.6.3. กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูล เมื่อ

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

ที่มีเอกลักษณ ถา

i 1

W

เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล

M

และ

P  {x  M j : (m1 , m2 ,, x, m j 1 , , mn )  W },

แลว P  M j หรือ P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M j พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับบทตั้ง 4.6.1 และบทแทรก 4.6.2. ทฤษฎีบท 4.6.4. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ และให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 1 จะไดวา m  c. prad M  N  ก็ตอเมื่อ  m, y   c. prad M  N   y  . พิสูจน สมมติให M  M1  M 2 , M  M1  M 2 , เปนกึ่ ง มอดูล เมื่อ M i เปน กึ่ ง มอดูล บนกึ่ง ริง Ri ที่ มี เอกลักษณ N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 1 และให m  c. prad M  N  . ถาไมมีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ที่บรรจุ N   y , โดยบทนิยาม 4. จะไดวา c. prad M  N   y  M ดังนั้น  m, y   c. prad M  N   y . ถามีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ที่บรรจุ N   y , ดังนั้นจะมีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ แบบฉบับ W ของกึ่งมอดูล M โดยที่ N   y  W โดยบทตั้ง 4.6 1 และ P  {x  M1 : ( x, y) W }, จะ ไดวา P  M1 หรือ P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 เราจะแบงการพิสูจนออกเปน 2 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 P  M 1 เนื่องจาก m  c. prad M  N  , จะไดวา m  P โดยบทนิยามของ P เราจะไดวา  m, y   W ดังนั้นจะไดวาถา W เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ที่บรรจุ N   y , แลว จะไดวา  m, y   W กรณีที่ 2 P  M 1 นื่องจาก P  M1 , จะไดวา P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 ให x  N ดังนั้น  x, y   N   y นั่นคือ x  P โดยสมบัติของเซตจะไดวา N  P พิจารณา c.rad M  N   c.rad M  P  1

1

1

1

1

1

 P

นั่นคือ m  P ดังนั้นจะไดวาถา W เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ที่บรรจุ จะไดวา  m, y  W ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา  m, y   c. prad M  N   y  . 1

N   y ,

แลว

48 บทแทรก 4.6.5. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง และให N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 2 จะไดวา m  c. pradM ( N ) ก็ตอเมื่อ

Ri

ที่มีเอกลักษณ

2

( x, m)  c. prad M ({x}  N )

พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.4. บทแทรก 4.6.6. กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

ที่มีเอกลักษณ และให

i 1

N

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล

Mj

จะไดวา

m  c. prad M j ( N )

ก็ตอเมื่อ

( x1 , , m, x j 1 ,  , xn )  c. prad M ({ x1}   x2     N   x j 1     xn ).

พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.4. และ บทแทรก4.6.5. ทฤษฎีบท 4.6.7. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ และให Ni เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M i , จะไดวา

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

ที่มีเอกลักษณ

c. prad M1 ( N1 )  c. prad M 2 ( N 2 )  c. prad M ( N1  N 2 )

พิสูจน สมมติให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมือ่ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึง่ ริง เปนกึง่ มอดูลยอยของกึ่งมอดูล M i , เราจะตองแสดงวา

Ri

ที่มีเอกลักษณ และให

Ni

c. prad M1 ( N1 )  .cprad M 2 ( N 2 )  c. prad M ( N1  N 2 )

ให ( x, y)  c. prad M ( N1 )  c. prad M (M 2 ) จะไดวา ทฤษฎีบท 4.6.4 และบทแทรก 4.6.5 จะไดวา 1

2

x  c. prad M1 ( N1 )

และ

y  c. prad M 2 ( N1 )

โดย

( x, 0)  c. prad M ( N1  {0})  c. prad M ( N1  N 2 )

และ (0, y )  c. prad M ({0}  N 2 )  c. prad M ( N1  N 2 )

นั่ น คื อ

ดั ง นั้ น จ า ก ที่ ก ล า วม า ส า ม า ร ถ ส รุ ป ได ว า

( x, y )  ( x, 0)  (0, y )  c. prad M ( N1  N 2 )

c. prad M1 ( N1 )  c. prad M 2 ( N 2 )  c. prad M ( N1  N 2 )

บทแทรก 4.6.8. กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

i 1

Ni

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล

n

Mi ,

n

จะไดวา  c. pradM ( Ni )  c. pradM ( Ni ) i

i 1

i 1

ที่มีเอกลักษณ และให

49 พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.7 ทฤษฎีบท 4.6.9. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 1 , จะไดวา c. prad M ( N1 )  c. prad M (M 2 )  c. prad M ( N1  M 2 ). พิสูจน สมมติให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ และ N เปน กึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M1 , โดยทฤษฎีบท 4.6.7 c. pradM ( N )  c. prad M ( M 2 )  c. prad M ( N  M 2 ) ตอไปเราตองแสดงวา c. pradM ( N1  M 2 )  c. prad M ( N1 )  c. prad M ( M 2 ) ถาไมมีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ที่บรรจุ N , แลวจะไดวา c. prad M  N   M 1 นั่นคือ c. pradM ( N1  M 2 )  c. prad M ( N1 )  c. prad M ( M 2 ) ถามีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ที่บรรจุ N , ดังนั้นจะมีกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบ ฉบับ W ของกึ่งมอดูล M โดยที่ N  W โดยทฤษฎีบท 4.6.9 เราจะไดวา W  M 2 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ แบบฉบับของกึ่งมอดูล M , ที่บรรจุ N  M 2 ให P เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M ใด ๆ ที่ บรรจุ N  M 2 พิจารณา N  M2  c. prad M  N   M 2  c. prad M  N   c. prad M  M 2  นั่ น คื อ c. prad M ( N1  M 2 )  c. prad M ( N1 )  c. prad M ( M 2 ) ดั ง นั้ น จากที่ ก ล า วมาสามารถสรุ ป ได ว า 1

2

1

1

2

2

1

1

2

1

1

1

2

2

c. prad M ( N1  M 2 )  c. prad M1 ( N1 )  c. prad M 2 ( M 2 )

บทแทรก 4.6.10. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา N เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล M 2 , จะไดวา c. prad M  M 2  N   c. prad M  M 2   c. prad M  N  พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.9 1

บทแทรก 4.6.11. กําหนดให

n

M  M i ,

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Mi

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

i 1

Ni

เปนกึ่งมอดูลยอยของกึ่งมอดูล

Mi ,

n

 c. prad i 1

จะไดวา n

Mi

( M i  N j )  c. prad M ( M i )  c. prad M j ( N j ) i 1

พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.9 และ บทแทรก 4.6.10

2

Ri

ที่มีเอกลักษณ ถา

50

บทนิยาม 4.6.12. กึ่งมอดูลยอย N ในกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, สิ่งหุมของ N ใน M (Envelope of N in M ) เขี ย นแทนด ว ย EM  N  หมายถึ ง เซตที่ ก อ กํ า เนิ ด (Generated) ด ว ยเซต EM  N   {rm : r  R

และ m  M โดยที่

rkm  N

สําหรับบาง

k  }

ทฤษฎี บท 4.6.13. กํ า หนดให M  M1  M 2 , เปน กึ่ง มอดูล เมื่ อ M i เป น กึ่ ง มอดู ล บนกึ่ ง ริ ง N  N1  N 2 เปนกึ่งมอดูลยอยของ M แลว EM  N   EM  N1   EM  N 2  . 1

พิสูจน ให

k

x    ri , si  mi , ni   EM  N  ,

Ri

และให

2

เมื่อ  ri , si k  mi , ni   N , สําหรับบาง i

ki 

ก็ตอเมื่อ

i 1 k

u   ri mi  EM1  N1  ,

โดยที่

ri ki mi  N1

with

siki ni  N2 .

i 1

และ k

v   si ni  EM 2  N 2  , i 1

จะไดวา

x   u , v   EM  N 

สามารถสรุปไดวา

EM  N 

ก็ตอเมือ่

u  E M1  N1 

และ

v  EM 2  N 2 

ดังนั้นจากที่กลาวมา

 EM1  N1   EM 2  N 2  .

บทแทรก 4.6.14. กํ า หนดให

n

M   Mi ,

เป น กึ่ ง มอดู ล เมื่ อ

Mi

เป น กึ่ ง มอดู ล บนกึ่ ง ริ ง

Ri

และให

i 1 n

N   Ni

เปนกึ่งมอดูลยอยของ

M

แลว

n

EM  N 





i 1

EM i  N i  .

i 1

พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.13 บทนิยาม 4.6.15. กึ่งมอดูลยอย N ในกึ่งมอดูลของ M บนกึ่งริง R, จะเรียก N วาสูตรรากของกึ่งมอดูลยอย ปฐมภูมิแบบฉบับใน M (Classical Primary Radical formula in M ) ถา EM  N   c. prad M  N  .

51 ทฤษฎีบท 4.6.16. กําหนดให M  M1  M 2 , เปนกึ่งมอดูลเมื่อ M i เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง Ri ที่มีเอกลักษณ ถา N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M1 , แลวจะไดวา N1 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐม ภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M 1 ก็ตอเมื่อ N1  M 2 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M พิสูจน  สมมติให N1 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M 1 เราตองแสดงวา N1  M 2 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M เนื่องจาก N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ แบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 เราจะไดวา  c. prad M1 ( N1 )  c. prad M 2 ( M 2 )

c. prad M ( N1  M 2 )

ดังนั้น



EM1 ( N1 )  M 2



EM ( N1  M 2 )

เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M  สมมติให N1 เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M 1 และ N1  M 2 เปนสูตรรากของ กึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M เราตองการแสดงวา N1 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิ แบบฉบับในกึ่งมอดูล M 1 เนื่องจาก N1  M 2 เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M จะไดวา N1  M 2

EM1 ( N1 )  M 2



EM ( N1  M 2 )

 c. prad M1 ( N1 )  c. prad M 2 ( M 2 )

นั่นคือ

ดังนั้นจากที่กลาวมาสามารถสรุปไดวา

c. prad M1 ( N1 )  EM1 ( N1 )

ปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล

M1

บทแทรก 4.6.17. กําหนดให

M  M i ,

n

เปนกึ่งมอดูลเมื่อ

Mi

N1

เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอย

เปนกึ่งมอดูลบนกึ่งริง

Ri

ที่มีเอกลักษณ ถา

i 1

เปนกึ่งมอดูลยอยปฐมภูมิแบบฉบับของกึ่งมอดูล M j , แลวจะไดวา N j เปนสูตรรากของกึ่งมอดูลยอยปฐม ภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M j ก็ตอเมื่อ M1  M 2  M j1  N j  M j1   M n เปนสูตรรากของกึ่งมอดูล ยอยปฐมภูมิแบบฉบับในกึ่งมอดูล M พิสูจน สามารถพิสูจนไดในทํานองเดียวกันกับทฤษฎีบท 4.6.12 Nj