565 Chapter5

134 บทที่ 5 อภิปรำยและสรุปผล จากการศึกษาความหลายหลากของไบรโอไฟต์ในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ สถานีวิจัย สิ่งแวดล้อมสะแกราช จั...

0 downloads 117 Views 249KB Size
134

บทที่ 5 อภิปรำยและสรุปผล จากการศึกษาความหลายหลากของไบรโอไฟต์ในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ สถานีวิจัย สิ่งแวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา ความสูงจากระดับน้าทะเลอยู่ระหว่าง 300-807.เมตร.เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2556 - กรกฎาคม 2557 พบไบรโอไฟต์ 493 ตัวอย่างสามารถจัดจาแนกได้ 62 ชนิด 44 สกุล 23 วงศ์ แบ่งเป็นลิเวอร์เวิร์ต 20 ชนิด 12 สกุ ล 7 วงศ์ และมอสส์ 42 ชนิด 32 สกุล 16 วงศ์ ในการศึกษาครั้งนี้ไม่พบพืชกลุ่มฮอร์นเวิร์ต ไบรโอไฟต์ที่พบในพื้นที่ศึกษาครั้งนี้ พบกลุ่มมอสส์มากกว่าลิเวอร์เวิรต์ โดยพบมอสส์ถึง 42 ชนิด จากทั้งหมด 62 ชนิด คิดเป็นร้อย ละ 67.7 แบ่ งเป็ น ม อส ส์ ที่ เจริ ญ แบ บ ตั้ งต รง 25 ชนิ ดใน วงศ์ Archidiaceae Bryaceae Calymperaceae Dicranaceae Diphysciaceae Ditricaceae Fissidentaceae Leucobryaceae Octoblepharaceae และ Pottiaceae และมอสส์ ที่ เ จริ ญ แบบทอดนอน 17 ชนิ ด อยู่ ใ นวงศ์ Hookeriaceae Hypnaceae Neckeraceae Orthotricadeae Racopilaceae Sematophyllaceae และ Thuidiaceae ส่วนลิเวอร์เวิร์ตพบ 20 ชนิดคิดเป็นร้อยละ 32.3 โดยจัดเป็นลิเวอร์เวิร์ตแบบ แผ่ น 1 ชนิ ด คื อ Riccia sp.1 และลิ เ วอร์ เ วิ ร์ ต แบบใบ 19 ชนิ ด อยู่ ใ นวงศ์ Calypogiaceae Cephaloziaceae Frullaniaceae Geocalycaceae Lejeuneaceae ยั งคงมี ไบรโอไฟต์ จานวนถึ ง 29 ชนิดที่ไม่สามารถระบุชนิด ได้ เนื่องจากปัจจัยจากัดสองประการ ประการแรกคือ ตัวอย่าง ไบรโอไฟต์ขาดส่วนสปอโรไฟต์ที่ใช้ในการระบุชนิด และประการที่สอง คือเอกสารที่ใช้ในการจัด จาแนกที่ยังไม่ครอบคลุมในการจัดจาแนกชนิดไบโอไฟต์เหล่านี้ มอสส์ ที่ พ บเป็ น จ านวนมาก ได้ แ ก่ Isopterygium Fissidens ceylonensis Fissidens semperfalcatus Octoblepharum albidum และThuidium plumulosum และเป็นมอสส์ที่มีพบได้ทั้ง ป่าเต็งรังและป่าดิบแล้ง ซึ่ งจากลักษณะเฉพาะของมอสส์เหล่านี้พบว่ามี ลักษณะขึ้นอาศัยและ โครงสร้างพิเศษที่ช่วยในการเก็บกักน้าให้กับตัวเอง จึ งน่าจะสามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ แห้ งแล้ งของป่ าเต็ งรั ง ได้ ดี เช่ น ลั ก ษณะพิ เศษที่ ช่ ว ยในการกั ก เก็ บ น้ าของ Octoblepharum albidium และ Ochrobruyum มีเซลล์ leucocyst อยู่ที่บริเวณใบช่วยในการกักเก็บน้า (กาญจนา, 2548) ลั ก ษณะการเจริญ ของล าต้ น แบบทอดนอนแนบกั บ แหล่ งอาศั ย ท าให้ ส ามารถรั บ ความชื้นจากแหล่งอาศัยได้โดยตรง และช่วยในการขยายพันธุ์ การเจริญแบบซ้อนทับกันเป็น กระจุก หรือ การแตกกิ่งก้านสาขา ซึ่งช่วยให้มอสส์มีการกักเก็บน้า ชะลอการระเหยของน้า และรักษาความชื้นได้ดี และความสามารถในการเจริญบนแหล่งอาศัยที่หลากหลายจึงทาให้

135

สามารถมีโอกาสในการขยายพันธุ์ได้ดีกว่ามอสส์ที่มีการเจริญ จาเพาะต่อพื้นผิวแหล่งอาศัย (สุนทรี, 2549) ในการศึกษาครั้งนี้ พบมอสส์ที่เคยมีรายงานในปี 2531 โดยเรณู ศรสาราญ เหมือนกัน 5 วงศ์ คื อ วงศ์ Fissidentaceae Hypnaceae Leucobryaceae Pottiaceae แล ะ Thuidiaceae แสดงให้เห็นว่าระยะเวลาที่ผ่านมากว่า 20 ปี มีปัจจัยต่างๆ ที่ทาให้มอสส์มีความหลากหลาย ลดลง แต่ มี จ านวนสกุ ล และชนิ ด ที่ ม ากขึ้ น อาจเนื่ อ งมาจากปั จ จั ย ทางสภาพภู มิ อ ากาศที่ เปลี่ยนแปลงจากผลกระทบภาวะโลกร้อน นาไปสู่สภาพภูมิประเทศที่มีความแห้งแล้งมากขึ้น มอสส์ จึงมี ก ารปรับ สภาพให้ มี ค วามทนทาน และความแข็งแรง เพื่ อ การอยู่ รอดในสภาวะ แวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยการคัดเลือกวงศ์ สกุล และชนิด ที่มีลักษณะที่เหมาะสมต่อพื้นที่ หรือ ลักษณะพิเศษที่จะสามารถดารงชีวิตในพื้นที่ที่มีความแห้งแล้งมากยิ่งขึ้น จึงส่งผลให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงของมอสส์ให้มีจานวนวงศ์ที่ลดลง แต่มีสกุลและชนิดที่เพิ่มมากขึ้น ลิเวอร์เวิร์ตที่พบมากที่สุดในอยู่ในวงศ์ .Lejeuneaceae.สกุล LejeuneaLibert จานวน.64.ตัว อย่าง.เนื่องจากลิเวอร์เวิร์ตวงศ์นี้มีการปรับตัวให้สามารถเก็บกักน้าได้ดี โดยมีลอบบูลช่วยในการ กักน้า (สุดจิต, 2548) และสามารถขึ้นอยู่ได้ในทุกแหล่งอาศัยจึงพบได้ทั่วไปในพื้นที่นี้ การศึกษาใน ครั้งนี้สอดคล้องกับฐานข้อมูลพืชไบรโอไฟต์ที่ค้นพบในประเทศไทยซึ่งระบุว่าวงศ์ที่มีจานวนสมาชิก มากที่สุดคือ วงศ์ Lejeuneacee ทาให้สามารถพบตัวอย่างในวงศ์นี้ได้บ่อย อีกทั้งยังสอดคล้องกับ การศึกษาความหลากหลายของไบรโอไฟต์ในพื้นที่บริเวณยอดเขาหลวง.อุทยานแห่งชาติน้าตกห้วย ยาง จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์.ซึ่งระบุว่าวงศ์ที่พบมากที่สุดคือ.Lejeuniaceae.พบ.7.สกุล.11.ชนิด.ลิเวอร์ เวิร์ตวงศ์นี้สามารถเจริญได้ดีในสภาพที่มีความแห้งแล้งและมีแสงแดดค่อนข้างแรง เนื่องจากมี ใบที่เรียงซ้อนกันและมีลอบบูลช่วยในการเก็บกักน้า (สหัช.,.2545) ลิเวอร์เวิร์ตที่พบน้อยที่สุด คือ Calypogeia. สาเหตุที่พบน้อยอาจเกิดจากความชื้นไม่เพียงพอต่อการเจริญเนื่องจากลิเวอร์เวิร์ต สกุลนี้มีโครงสร้างที่บอบบางไม่มีลอบบูลช่วยกักเก็บน้าจึงกักเก็บความชื้นทาให้พบได้น้อย.และลิ เวอร์เวิร์ตที่ขึ้นจาเพาะกับแหล่งอาศัยได้แก่.สกุล.Cheilolejeunea..และ.Cololejeunea.ทั้งสองสกุลนี้มี ขนาดต้นที่เล็กมาก และแทบไม่มีลอบบูลเลย จึงต้องอาศัยอยู่กับแหล่งที่สามารถกักเก็บความชื้น ได้ .ซึ่ งพบอาศั ย อยู่ บ นเปลื อ กไม้ เท่ านั้ น เนื่ อ งจากเปลื อ กไม้ มี อ งค์ ป ระกอบเป็ น เซลลู โลส. (cellulose).สามารถกักเก็บความชื้นได้ในระดับหนึ่ง (ชาตรี, 2557) ลิเวอร์เวิร์ตที่พบในการศึกษาครั้ง นี้พบการสร้างสปอโรไฟต์สกุล.Heteroscyphus.เท่านั้น.แต่ยังไม่เจริญเต็มที่มีสภาพเป็นเพอริแอนท์ เมื่ อเปรี ยบเที ยบผลการศึ กษาของ เรณู (2531).พบว่ าผลการศึ กษามี ความสอดคล้ องกั น.คื อ Acrolejeunea และ Lepholejeunea..

136

ข้อเสนอแนะ การเจริญของพืชกลุ่มไบรโอไฟต์ขึ้นอยู่กับฤดูกาล คือในช่วงฤดูฝนมีความชื้นสูงมักพบพืช กลุ่มนี้ขึ้นหนาแน่น แต่ฤดูแล้งมักพบพืชกลุ่มนี้น้อยมาก (สุนทรี, 2549) ส่งผลต่อการจัดจาแนก คือ เมื่ อน าตั วอย่ างที่ มี ลั กษณะใกล้ เคี ยงกั นมากแต่ ไม่ พบสปอโรไฟต์ ท าให้ ยากต่ อการจั ดจ าแนก นอกจากนี้เอกสารที่ใช้ในการจัดจาแนกยังมีน้อย และยังไม่ค่อยสมบูรณ์ จึงทาให้ไม่สามารถจัด จาแนกลิเวอร์เวิร์ตให้ถึงระดับชนิดได้ ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับลิเวอร์เวิร์ต เพื่อให้ ได้ขอ้ มูลที่สมบูรณ์และสามารถนาไปใช้อ้างอิงในการศึกษาต่อไป แม้จะมีการศึกษาทางอนุกรมวิธานของไบรโอไฟต์ในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังให้ ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะนาไปสู่การศึกษาเชิงนิเวศ ซึ่ง ไบรโอไฟต์เป็นพืชกลุ่มหนึ่งที่มีความสาคัญ ต่อระบบนิเวศเป็นอย่างยิ่ง เนื่ องจากไบรโอไฟต์ช่วยรักษาความชื้นให้กับผืนดิน ชะลอการชะ หน้าดินของน้าฝน สามารถเป็นดัชนีชี้วัดทางชีวภาพ และเป็นที่อยู่ของแมลงและสัตว์ขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังมีบ ทบาทในเชิงพาณิ ชย์ เช่นธุรกิจการจัดสวน จัดตู้ปลา หรือแม้กระทั่งการใช้ ประโยชน์ จ ากสารสกั ด ในทางการแพทย์ จึ งควรที่ จ ะท าการศึ ก ษาไบรโอไฟต์ ทั้ งทางด้ า น อนุกรมวิธานและเชิงนิเวศให้มากยิ่งขึน้ เพื่อเป็นพืน้ ฐานความรูใ้ นการศึกษาด้านอื่นในอนาคต