565 Chapter2

3 บทที่ 2 ทบทวนเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 อนุกรมวิธำนของไบรโอไฟต์ ไบรโอไฟต์ จั ด อยู่ ใ นอาณาจั ก รพื ช (Kingdo...

0 downloads 98 Views 906KB Size
3

บทที่ 2 ทบทวนเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 อนุกรมวิธำนของไบรโอไฟต์ ไบรโอไฟต์ จั ด อยู่ ใ นอาณาจั ก รพื ช (Kingdom.Plantae).ดิ วิ ชั่ น ไบรโอไฟตา (DivisionBryophyta) จากหลักฐานฟอสซิลทาให้ทราบว่าพืชกลุ่มไบรโอไฟต์มีกาเนิดบนโลกนี้มานานกว่า 400 ล้านปี พืชกลุ่มแรกที่วิวัฒนาการจากน้าขึ้นมาสู่บก ในยุคที่บรรยากาศโลกยังไม่คงที่ มีทั้ง ก๊าซชนิดต่างๆ และความร้อนสูง ทาให้พืชกลุ่มนี้ต้องพัฒนากลไกพิเศษขึ้นเพื่อการอยู่รอด เช่น การเติ บ โตแบบไร้ทิ ศ ทางเพื่ อ ให้ ส ามารถขยายจ านวนออกไปได้ อ ย่ างไม่ มี ขี ด จ ากั ด การมี โครงสร้างที่ดูดซับความชื้นและน้าได้เร็ว เนื่องจากประกอบด้วยเซลล์เรียงซ้อนกันประมาณ 110 ชั้นเซลล์ และการสร้างโครงสร้างสืบพันธุ์ที่มีจานวนมาก.ไบรโอไฟต์มีความสาคัญต่อระบบ นิเวศของป่าในด้านต่างๆ เช่น เป็นแหล่งอาหาร แหล่งอนุบาลตัวอ่อน และแหล่งที่อยู่ของสัตว์ ขนาดเล็ก เช่น แมลงต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นพืชบุกเบิกในธรรมชาติ ซึ่งช่วยสร้างความชุ่มชื้น ให้ กั บ ผื น ป่ า ที่ ร กร้ า งและแห้ ง แล้ ง ให้ ก ลั บ มาสมบู ร ณ์ (สมใจ, 2541) จึ ง นั บ ว่ า เป็ น ทรัพยากรธรรมชาติที่มีประโยชน์ต่อระบบนิเวศป่าเป็นอย่างมาก และด้วยคุณสมบัติของการ ล าเลีย งน้ าและแร่ธ าตุให้ ส ามารถเข้าสู่ ภายในโดยผ่านเซลล์ได้ ทุก เซลล์ จากสิ่งแวดล้ อมได้ โดยตรงจึงนิยมนาไบรโอไฟต์มาใช้เป็นดั ชนีชี้วัดทางชีวภาพ (bioindicator) เพื่อใช้ในการศึกษา ผลกระทบทางด้านมลพิษ (สุนทรี,.2549) ในส่วนของลักษณะไบรโอไฟต์นั้นเป็นกลุ่มของพืชบก สีเขียวที่มีขนาดเล็ก ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง ไม่มีดอกและไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง ยึดเกาะบนที่ที่ขึ้น อาศัยด้วยโครงสร้างที่เรียกว่า ไรซอยด์ (rhizoid) เป็นโครงสร้างที่บอบบาง ลักษณะเป็นเส้น พืช พวกนี้มักขึ้นในที่ร่มและชุ่มชื้น เช่น บนดิน บนเปลือกไม้ และบนหินเป็นต้น การสืบพันธุ์มีทั้ง แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ (สุนทรี,.2547) สามารถจัดจาแนกไบรโอไฟต์ออกเป็น 3 Class (สมใจ, 2541) ดังนี้ Division Bryophyta Class Anthocerotopsida ฮอร์นเวิรต์ (hornworts) Class Hepaticopsida ลิเวอร์เวิรต์ (liverworts) Class Bryopsida มอสส์ (mosses) ในปัจจุบันได้ปรับระดับขั้นของอนุกรมวิธานจาก Class มาเป็น Division (Mauseth, 2003) ดังนี้ Division Anthocerotophyta ฮอร์นเวิรต์ Division Hepaticophyta ลิเวอร์เวิรต์

4

Division Bryophyta มอสส์ พืชไบรโอไฟต์แต่ละดิวิชั่นมีลักษณะดังนี้ (สุนทรี, 2547) 2.1.1 ดิวิชั่นแอนโทซีโรไฟตา (Division Anthocerotophyta) หรือฮอร์นเวิร์ต ต้นแกมีโท ไฟต์มีลักษณะเป็นทัลลัส (thullus) หรือเป็นแผ่น สีเขียวใสประกอบด้วยเซลล์ขนาดใกล้เคียงกัน เกือบทั้งหมด ภายในเซลล์แต่ละเซลล์มีเพียงหนึ่งคลอโรพลาสต์และมีไพรีนอยด์อยู่ตรงกลาง ลักษณะของต้นสปอโรไฟต์ ประกอบด้วย ฟุต (foot) และอับสปอร์ (capsule) ที่มีรูปร่างยาวเป็น ทรงกระบอกผอมยาว คล้ายเขาสัตว์ 2.1.2.ดิ วิ ชั่ น เฮปาโทไฟตา.(Division.Hepaticophyta).หรือ ลิ เวอร์เวิ ร์ต .ต้ น แกมี โทไฟต์ ลักษณะแบน ด้านล่าง (ventral) คือด้านที่ยึดเกาะกับแหล่งที่ขึ้นอาศัยอยู่ และด้านบนหรือด้านที่ เรามองเห็นตามธรรมชาติ.(dorsal).คือด้านที่ตรงข้ามกับด้าน ventralลักษณะของต้นสปอโรไฟต์มี ขนาดเล็ก ประกอบด้วย ฟุต ก้านชูอับสปอร์ (seta) และอับสปอร์.ลิเวอร์เวิร์ตแบ่งออกเป็น.2.กลุ่ม ใหญ่.ตามลักษณะของแกมีโทไฟต์.คือ 1) กลุ่ม ลิเวอร์เวิร์ตแบบแผ่น (thalloid.liverwort) (ภาพที่ 2.1ก) แกมีโทไฟต์มี ลักษณะเป็นแผ่นหรือทัลลัส (thallus) ไม่มสี ่วนที่คล้ายลาต้นและใบ. 2) กลุ่มลิเวอร์เวิร์ตแบบใบ (leafy liverwort) (ภาพที่ 2.1ข) แกมีโทไฟต์ประกอบด้วย ส่วนที่คล้ายลาต้น และใบ

ก ข ภาพที่ 2.1 ลิเวอร์เวิร์ต ก: ลิเวอร์เวิร์ตแบบแผ่น ข: ลิเวอร์เวิร์ตแบบใบ 2.1.3 ดิวิชั่นไบรโอไฟตา (Division Bryophyta) หรือมอสส์ เป็นไบรโอไฟต์ก ลุ่มที่ใหญ่ ที่สุด แกมีโทไฟต์มีลักษณะคล้ายต้นไม้ย่อส่วน คือมีส่วนคล้ายลาต้นและมีส่วนคล้ายใบ สปอโร

5

ไฟต์ประกอบด้วย ฟุต ก้านชูอับสปอร์ และอับสปอร์ โดยแบ่งมอสส์ได้เป็น 2 กลุ่มโดยอาศัย การเจริญของต้นแกมีโทไฟต์ และตาแหน่งที่อยู่ของสปอโรไฟต์.คือ 1) กลุ่มมอสส์ตั้งตรง (acrocarpic mosses) กลุ่มนี้มีลาต้นตั้งตรง ตาแหน่งของส ปอโรไฟต์อยู่ที่ปลายยอดของต้น 2) กลุ่มมอสส์ทอดนอน (pleurocarpic mosses) มีลาต้นขนานไปกับพื้นดินและ มีกงิ่ ก้านสาขามากมาย ตาแหน่งของสปอโรไฟต์จึงดูคล้ายติดอยู่ด้านข้างของลาต้น 2.2 สัณฐำนวิทยำของลิเวอร์เวิร์ต (สมใจ, 2541) 2.2.1 แกมี โ ทไฟต์ (gametophyte) ต้ น แกมี โ ทไฟต์ เ ป็ น ต้ น พื ช มี ข นาดเล็ ก สี เ ขี ย ว ดารงชีวิตอิสระมีหน้าที่สร้างอาร์คีโกเนียม (archegonium) และแอนเทอริเดี ยม (antheridium) เป็นระยะที่มีช่วงชีวิตที่ยาวนานและสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ จัดเป็นช่วงชีวิตหลักของพืช ไบรโอไฟต์ เมื่อเจริญถึงระยะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ อาจจะสร้างอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ และเพศเมีย อยู่บนต้นเดียวกัน หรือต่างต้นกัน (สหัส, 2540) เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียเรียกว่า อาร์คีโกเนียม มี รูป ร่างคล้ายคนโฑ ซึ่งภายในเซลล์สืบ พันธุ์เพศเมียที่เรีย กว่า ไข่ (egg) มีเพียง 1 เซลล์ ส่วน เซลล์สืบ พันธุ์เพศผู้ สร้างอยู่ในอวัยวะเพศที่เรียกว่า แอนเทอริเดียมมีลักษณะคล้ายถุงกลม หรือค่อนข้างกลม หรือผอมยาวคล้ายกระบอง แล้วแต่ชนิด มี ลักษณะบอบบาง โดยทั่วไปผนัง ของแอนเทอริเดียมประกอบด้วยเซลล์ชั้นเดียว ภายในถุงมีเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้มากมาย เซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้มีลักษณะผอม และโค้งหรือขดเป็นวง ด้านหัวมีโครงสร้างลักษณะเป็นขนยาว 2 เส้ น ท าหน้าที่ในการเคลื่อนที่ ลิเวอร์เวิร์ตมีลัก ษณะเป็นแผ่นสีเขี ย ว มี ขนาดตั้ งแต่ 1 ถึง 50 มิลลิเมตรหรือมากกว่า ด้านล่างมีไรซอยด์เป็นเส้นสีน้าตาลหรือไม่มีสี โดยทั่วไปมักพบขึ้นอยู่ ทั่วไปตามพื้นที่ชื้นแฉะที่มีค วามชันสูง และเจริญ หลากหลายแหล่งอาศัย เช่น บนพื้นดิน บน เปลือกไม้ ขอนไม้ และก้อนหิน เป็นต้น ลักษณะของลิเวอร์เวิร์ตแบบแผ่น ประกอบด้วยแผ่นใบ แบนๆ ที่มคี วามหนาด้วยเซลล์ 1 ชั้นหรือมากกว่า แผ่นใบมักแบ่งเป็นหยักๆ หรือแตกเป็นคู่ บาง ชนิดมีแกนกลางใบที่หนา บางชนิดมักมีช่องเล็กๆ เป็นจุดๆ บนผิวแผ่นใบด้วย เป็นชนิดที่สังเกต ได้ง่าย ไม่มีลาต้น ส่วนลิเวอร์เวิร์ตแบบใบ มีโครงสร้างคล้ายใบ อยู่บนลาต้นที่มีทั้งชนิดที่แตก เป็นกิ่ง และชนิดที่ไม่แตกกิ่ง ลาต้นทอดนอนไปตามแหล่งอาศัย มีความหนาเพียงเซลล์ชั้นเดียว และไม่มีชั้นผิวใบ (cuticle) แบบพืชชั้นสูง บ่อยครั้งพบว่า ใบแบ่งเป็น 2 หยักหรือมากกว่า และ บางครั้งหยัก มีการม้วนพับทาให้เกิดรูปแบบต่างๆ ใบเหล่านี้ส่วนมากจัดเรียงตัวเป็นสองแถว มี บางชนิดที่จัดเรียงเป็น 3 แถว โดยเรียงตัวด้านบน 2 แถวออกจากลาต้นเรียกว่า ใบด้านข้าง (lateral leaves) ส่ ว นแถวที่ 3 เรี ย งตั ว 1 แถวทางด้ า นล่ า งของล าต้ น เรี ย กว่ า ใบด้ า นล่ า ง (underleaves) ซึ่งมองจากด้านบนไม่เห็นต้องพลิกหงายด้านล่างขึน้ มาจึงจะเห็น และมักมีขนาด

6

เล็กกว่าใบด้านข้าง หรือบางชนิดอาจลดรูป การเรียงทับซ้อนของใบด้านข้าง เป็นลักษณะที่คงที่ และเป็นประโยชน์ในการจัดจาแนก และตรวจสอบชนิดของลิเวอร์เวิรต์ ได้แก่ 1) การเรียงซ้อนทับของใบ 2 รูปแบบ คือ แบบอินคิวบัส (incubous) ลาต้นทาง ด้านบนยึดตัวมากกว่าลาต้นทางด้านล่าง มองจากด้านบนเห็นขอบใบที่อยู่ทางด้านโคนต้นกว่า ทับขอบใบของใบที่อยู่เหนือขึ้นไป และ แบบซัคคิวบัส (succubous) ลาต้นทางด้านล่างยึ ดตัว มากกว่าด้านบน มองจากด้านบนเห็นขอบใบของใบที่อยู่ทางด้านปลายยอดกว่าทับขอบใบของ ใบที่อยู่ต่าลงมา 2) รูปร่างใบด้านข้าง ใบแต่ละใบไม่มกี ้านใบ ฐานใบติดกับลาต้น 3) ขอบใบ ลักษณะขอบใบ คือ เรียบ หยัก หรือแหลม 4) รูปร่างใบด้านล่าง ในลิเวอร์เวิร์ตพบใบด้านล่างมีลักษณะใหญ่ที่สามารถ เห็นได้ชัด และเล็กจนหาใบด้านล่างไม่พบ บางชนิดไม่พบ เนื่องจากใบด้านล่างมีการลดรูปไป 2.2.2 สปอโรไฟต์ (sporophyte).เป็นช่วงชีวิตที่เจริญอยู่บนต้นแกมีโทไฟต์ทาหน้าที่สร้าง สปอร์ (spores) แล้วสลายไปประกอบไปด้วย ฟุตตาแหน่งอยู่ล่างสุด.อยู่ติดกับส่วนแกมีโทไฟต์ ก้านชูอับสปอร์.มีลักษณะใสบอบบาง.และอายุสั้นมากอยู่ได้เพียง.1-2.วัน และแคปซูลหรืออับ สปอร์.มีลักษณะเป็นทรงกลมหรือซี่รม่ และมีอเิ ลเตอร์.(elater) ช่วยดีดสปอร์ 2.3 สัณฐำนวิทยำของมอสส์ 2.3.1 ช่วงแกมีโทไฟต์เป็นช่วงที่ดารงชีวิตอิสระ สามารถสังเคราะห์อาหารเองได้ท า หน้าที่สร้างอาร์คีโกเนียมและแอนเทอริเดียมเป็นระยะที่มีช่วงชีวิตยาวนานโครงสร้างของต้นแก มีโทไฟต์ประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1) ไรซอยด์.มีลักษณะเป็นเส้นสายคล้ายรากพืชมีท่อลาเลียงทาหน้าที่ยึดเกาะ กับแหล่งที่อยู่อาศัย 2) ล าต้น .(caulid).มีโครงสร้างคล้ายลาต้น แต่ไม่ ใช่ลาต้นที่แท้ จริงเพราะไม่ มี เนือ้ เยื่อลาเลียง เพื่อความสะดวกในการศึกษาจึงใช้คาว่า ลาต้น (stem) แทนได้ 3) ใบ.(phyllid).มีโครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายใบแต่ไม่ใช่ใบที่แท้จริง เพราะไม่มี เนื้อเยื่อลาเลียง เพื่อความสะดวกจึงใช้คาว่า ใบ (leaf) แทนได้ มักมีการเรียงตัวของใบแบบวนรอบ ลาต้น 2.3.2 ช่ว งสปอโรไฟต์ เป็นช่วงชีวิตที่เจริญ อยู่บ นต้นแกมีโทไฟต์ทาหน้าที่สร้างสปอร์ แล้วสลายไปประกอบไปด้วยโครงสร้าง.ดังนี้ 1) ฟุตตาแหน่งอยู่ลา่ งสุด.อยู่ติดกับส่วนแกมีโทไฟต์

7

2) ก้านชูอับสปอร์.มีลักษณะแข็งแรงและอายุยาวนานตลอดการสร้างสปอร์ จนถึงปล่อยสปอร์จนหมด 3) แคปซู ล หรื อ อั บ สปอร์ .มี ลั ก ษณะรู ป ร่ า งหลายแบบ เช่ น ทรงกลม รี ทรงกระบอก เป็นต้น มีปากเปิดเพื่อปล่อยสปอร์ เรียก เพอริสโตม (peristome) มีลักษณะเป็นซี่ ร่มช่วยดีดสปอร์ และมีฝาปิดปากแคปซูล เรียก โอเพอคิวลัม (operculum) มีลักษณะรูปร่าง หลายแบบขึน้ อยู่กับชนิดของมอสส์ 2.3.3 ลักษณะที่มักใช้ในการจัดจาแนกมอสส์ 1) การเรียงตัวของใบ (ภาพที่ 2.2) แบ่งได้ 2 แบบ คือ การเรียงตัวแบบบันได เวียนรอบลาต้น และการเรียงตัวเป็น 2-3 แถว ระนาบเดียวกับลาต้น มองดูคล้ายใบออกข้าง





ภำพที่ 2.2 รูปแบบการเรียงตัวของใบ ก) การเรียงใบแบบเวียนรอบลาต้น ข) การเรียงใบแบบระนาบเดียวกับลาต้น 2) ลักษณะใบ ได้แก่ - รูปร่างใบ (ภาพที่ 2.3) ใบแต่ละใบไม่มีก้านใบ ฐานใบติดกับ ลาต้น เป็นบริเวณกว้าง โดยมีรูปร่างหลายแบบ













ภำพที่ 2.3 รูปร่างใบ ก) รูปขอบขนาน (oblong) ข) รูปไข่ (ovate) ค) รูปลิ่มแคบ (subulate) ง) รูปรี (elliptic) จ) รูป ช้อนพาย (spathulate) ฉ) รูปหอก (lanceolate)

8

- เส้นกลางใบ (ภาพที่ 2.4) การมีหรือไม่มีเส้นกลางใบ ถ้ามีอาจมี 1 หรือ 2 เส้น และความยาวของเส้นกลางใบต่างกันแล้วแต่ชนิด











ภำพที่ 2.4 ลักษณะของเส้นกลางใบและความยาวของเส้นกลางใบ ก) ไม่มีเส้น ข) เส้นกลางใบ 1 เส้น (costa single) ค) เส้นกลางใบ 2 เส้น (costa double) ง) เส้น กลางใบยาวพ้นปลายใบ (excurrent) จ) เส้นกลางใบยาวจรดปลายใบ (percurrent) - ขอบใบ (ภาพที่ 2.5) ขอบใบมี ห ลายลั ก ษณะ เช่น เรีย บ (entire) หยั ก แบบฟั น เลื่อ ย (serrate) หรือ หยั ก แบบซี่ฟั น และการมีเซลล์ข อบใบ (border) คือ เซลล์ บริเวณใบที่มลี ักษณะแตกต่างจากเซลล์แผ่นใบบริเวณอื่น คือ เซลล์หัวท้ายแหลม





ค ค

ภำพที่ 2.5 ลักษณะขอบใบ ก) ขอบใบเรียบ ข) ขอบหยักซีฟ่ ัน (dentate) ค) ขอบจักฟันเลื่อย - ลักษณะผนังเซลล์ (ภาพที่ 2.6) ผนังเซลล์ของแผ่นใบมอสส์ อาจ เรียบหรือมีปุ่ม ซึ่งพบได้ทั้งปุ่มเดียวและหลายปุ่ม

9







ภำพที่ 2.6 ลักษณะผนังเซลล์ ก) ผนังเซลล์เรียบ (smooth) ข) ผนังเซลล์มปี ุ่มเดียว (unipapillose) ค) ผนังเซลล์มหี ลายปุ่ม (multipapillose) - รูป ร่างเซลล์ (ภาพที่ 2.7) แผ่นใบของมอสส์ ประกอบด้วยเซลล์ เพียงชั้นเดียว รูปร่างของเซลล์แตกต่างกันตามชนิดของมอสส์ รูปร่างลักษณะของเซลล์ที่ปลาย ใบ กลางใบ และฐานใบมักมีความแตกต่างกัน ผนังเซลล์อาจหนาหรือบาง











ภำพที่ 2.7 รูปร่างเซลล์ ก) เซลล์รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด (rhombic) ข) เซลล์รูปวงกลม (rounded) ค) เซลล์รูปสี่เหลี่ยม ข้าวหลามตัดถึงหกเหลี่ยม (elongate rhombic-hexagonal) ง) เซลล์รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า (rectangular) จ) เซลล์รูปแถบ (linear)

10

2.4 กำรศึกษำไบรโอไฟต์ในประเทศไทย การศึกษาพืชไบรโอไฟต์ในประเทศไทยเริ่มเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1899 และ 1900 ได้ เก็ บ รวบรวมมอสส์ จ านวนมากจากเกาะช้ า ง จั ง หวั ด ตราด โดย Johanes Schmidt นั ก พฤกษศาสตร์ชาวเดนมาร์กพบพืช 1,513 ชนิด มีไบรโอไฟต์ 61 ชนิดในจานวนนี้เป็นมอสส์ 44 ชนิด เป็นชนิดใหม่ 19 ชนิด และลิเวอร์เวิร์ต 17 ชนิด เป็นชนิดใหม่ 4 ชนิด ตัวอย่างเหล่านี้ถูก เก็บรวบรวมไว้ที่หอพรรณไม้มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก ในระหว่างปี ค.ศ. 1904 และ 1950 A. F. G. Kerr ซึ่ งเป็ น แพทย์ ช าวเดนมาร์ ก เก็ บ รวบรวมพื ช ไบรโอไฟต์ เป็ น บริเวณกว้างทั่วประเทศไทย ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1932 H.N. Dixon ศึกษาตัวอย่างของหมอ Kerr ที่เก็ บ รวบรวมตัว อย่างไว้และรายงานรายชื่อมอสส์ จ านวน 220 ชนิ ด และแก้ ไขตรวจสอบ รายชื่ อ มอสส์ เสร็ จสิ้ น ในปี ค.ศ. 1935 พบรายชื่อ มอสส์ ทั้ งหมดเพิ่ ม เป็ น 300 ชนิ ด (Dixon, 1932) หลั ง จากนั้ น ในช่ ว งทศวรรษปี ค.ศ. 1950s และ 1970s มี ก ารส ารวจมอสส์ อ ย่ า ง กว้างขวางในประเทศไทย โดยการท างานร่วมกันระหว่างนักพฤกษศาสตร์ชาวไทย และนั ก พฤกษศาสตร์ชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็นชาวตะวันตกและชาวญี่ปุ่น การสารวจพืชร่วมกันระหว่าง ไทยและเดนมาร์กมีขึน้ หลายครั้งระหว่างปี ค.ศ.1958 และ1970 โดยกลุ่มทางานที่ประกอบด้วย Ch. Charoenphol, B. Hansen, K. Larsen, T. Santisuk, T. Smitinand, T. Sorensen แ ล ะ E. Warncke อย่างไรก็ ต ามมี ตั ว อย่ างมอสส์ ที่ เก็ บ รวบรวม และรวมที่ ยั งไม่ ได้ ตรวจสอบหาชื่ อ ประมาณ 7,000 ตัวอย่าง ต่อมาได้มีก ารทบทวนรวบรวมชื่อมอสส์ โดย Missouuri Botanical Garden ซึ่งในปัจจุบันซึ่งมีรายชื่อมอสส์ 652 ชนิด (He, 1996) การศึกษาไบรโอไฟต์ในประเทศ ไทยนั้ น นั บ ว่ า ยั ง มี นั ก พฤกษศาสตร์ ให้ ค วามสนใจศึ ก ษาค่ อ นข้ างน้ อ ย.ดั ง นั้ น ในการศึ ก ษา บ่อยครั้งที่มีการค้นพบชนิดที่ยังไม่มีรายงานการพบมาก่อนในประเทศไทย.(new.records).หรือ บาง ชนิ ด เป็ น พื ช เฉพาะถิ่ น .(endemic).ของประเทศไทยได้ อ ยู่ เ สมอ.ต่ อ มาปี .2525.เรณู .ศร สาราญ.ได้ศึกษาไบรโอไฟต์อันดับจุงเกอร์แมนนิอาร์เลส (order Jungermanniales).และบันทึก ข้อมูลเกี่ย วกับ สภาพอากาศไว้ด้วย.พบว่าจานวน.450.ตัวอย่าง จัดจาแนกได้เป็น .6.วงศ์.15. สกุล.26.ชนิด.และในปี.2536.ได้ศึกษาพืชจาพวกไบรโอไฟต์ในบริเวณสถานีวิจัยสะแกราชอีก ครั้งหนึ่ง ตัวอย่างที่เก็บรวบรวมจากบริเวณสถานี วิจัยสะแกราช.มีจานวนประมาณ.520.ตัว อย่าง.สามารถจาแนกออกเป็น .2.class.คือ.Hepaticae.และ.Musciโดย class Hepaticae 6 วงศ์ 15 สกุล 22 ชนิด และ class Musci 13.วงค์.16.สกุ ล.9.ชนิด.(เรณู ศรสาราญ,.2525;.เรณู .ศร สาราญ,.2536).ในจานวนไบรโอไฟต์ที่สารวจทั้งหมดนี้ .พบว่ามีชนิดที่ยังไม่มีรายงานว่าพบใน ประเทศไทย.9.ชนิด.พืชกลุ่มไบรโอไฟต์ในประเทศไทยยังคงมีการศึกษาค้นพบเพิ่มขึ้น มีการศึกษา ความหลากหลายของไบรโอไฟต์ในหลายพื้ นที่และมีข้อมูลจากการสารวจต่าง.ๆ.ในประเทศไทย

11

เช่น.การศึกษาความหลากหลายของไบรโอไฟต์ในพื้นที่บริเวณยอดเขาหลวง.อุทยานแห่งชาติน้าตก ห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลการศึกษาพบลิเวอร์เวิร์ต.38.ชนิด.(ลิเวอร์เวิร์ตแบบแผ่น.2. ชนิด และลิเวอร์เวิร์ตแบบใบ.36.ชนิด).วงศ์ที่พบมากที่สุดคือ.Lejeuniaceae.พบ.7.สกุล.11.ชนิด.(สหัช ,.2545) การศึกษาความหลากหลายของไบรโอไฟตในอุทยานแหงชาติทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี พบลิเวอร์เวิร์ต 19 วงศ์ 28 สกุล 48 ชนิด (ทวีศักดิ์ และคณะ,.2548). การศึกษาและสารวจมอสส์ อิงอาศัยในอุทยานแห่งชาติดอย สุเทพ-ปุย บริเวณห้วยคอกม้า ได้พบมอสส์ทั้งหมด 8 วงศ์ 17 สกุล 19 ชนิด พบว่า Leucobryum aduncum var. scalare เป็นมอสส์ที่มีดัชนีคุณค่าความสาคัญ ทางนิเวศสู งสุ ด เพราะมีค วามสามารถในการอยู่ที่มีความแห้งแล้งได้ และพบว่าดัชนีความ หลากหลาย ร้อยละ 34 แสดงถึงความหลากหลายค่อนข้างสูง (กาญจนา, 2548) การสารวจ และศึกษาความหลากหลายของไบรโอไฟต์บริเวณหอดูดาวสิรินธร อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ พบลิเวอร์เวิร์ต 14 วงศ์ 20 สกุล 26 ชนิด (สุดจิต,.2549).และการสารวจไบรโอ ไฟต์เบื้องต้นและในบริเวณตามสันทรายตามชายฝั่งของคาบสมุทรไทยพบลิเวอร์เวิร์ต.26.ชนิด.ลิเวอร์ เวิร์ตที่พบมากที่สุดคือ.วงศ์.Lejeuneaceae.19.ชนิด.(เจนจรีย์,.2551) การรวบรวมรายชื่อพืชลิเวอร์ เวิ ร์ ตและฮอร์ น เวิ ร์ ต ในประเทศไทย.พบลิ เวอร์ เวิ ร์ต .และฮอร์น เวิร์ ต .ทั้ ง หมด.386.วงศ์ .90. สกุล.70.ชนิด.วงศ์ที่มีจานวนสมาชิกมากที่สุดคือ Lejeuneaceae 25 สกุล 123.ชนิด.และสกุลที่ พบ ว่ า มี จ านวนสมาชิ ก มากกว่ า .10.ชนิ ด .ได้ แ ก่ .Cololejeunea.(38.ชนิ ด ).Plagiochila.(37. ชนิด).Frullania.(37.ชนิด).Bazzania.(34.ชนิด).และ.Radula.(21.ชนิด).มี.16.ชนิดที่พบในประเทศ ไทย..มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและให้ชื่อใหม่ คือ Cololejeunea.gradsteinii. M..J..Lai.&.R..L..Zhu.. แ ล ะ.Heteroscyphus.inflatus.(Steph.).S.C. Srivast..&.A..Srivast. var.. flagilis-simus.(N..Kitag.).M. J..Lai.&.R.L..Zhu..พบ 11.ชนิดที่รายงานในประเทศไทยเป็นครั้งแรก ไม่พบสกุลเฉพาะถิ่นในประเทศ ไทย.(Lai,.Zhu.&.Chantanaorrapint,.2008). 2.5 สถำนีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกรำช สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ป่าภูเขาหลวง ตาบลสะแกราชอาเภอ ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา (ภาพที่ 2.8) ที่เส้นรุง้ .(latitude).14 องศา 25 ลิปดา-14 องศา 33 ลิป ดาเหนือ เส้นแวง.(longitude).100.องศา.48.ลิป ดา–101.องศา.56.ลิป ดาตะวันออก.(สถิต ประคอง และสมเพ็ชร์, 2523) สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชปกคลุม ไปด้วยป่าไม้สาคัญ.2. ชนิด.ได้แก่ .ป่าดิบแล้ง.(dry.evergreen.forest).และป่าเต็งรัง .(dry.dipterocarp.forest).ป่าทั้งสอง ชนิดครอบคลุมเนื้อที่ประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช นอกนั้น เป็นป่าชนิดอื่น เช่น ป่าไผ่.ป่าปลูกทุ่งหญ้า.เป็นต้นพันธุ์ไม้ที่สาคัญของป่าดิบแล้ง ประกอบด้วย ต้นตะเคียนหิน(Hopea ferrea Laness.) ต้นตะเคียนทอง.(Hopea odorata Roxb.).และต้นกระเบา

12

กลัก (Hydnocarpus ilicifolia King) ในส่วนของบริเวณป่าดิบแล้งมีพื้นที่ประมาณ 46.82 ตาราง กิโลเมตร ความสูงเฉลี่ย.300–807.เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง (สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อม สะแกราช, 2543: ออนไลน์) 2.5.1 ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศภายในพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชมีเนื้อที่ประมาณ 78.08.ตารางกิโลเมตร (ภาพที่ 2.9) เป็นขอบด้านใต้ของที่ราบสูงโคราช มีความสูงอยู่ระหว่าง 280–762 เมตรจากระดับน้าทะเล ยอดเขาสูงที่อยู่ทางด้านใต้ของพื้นที่สถานี ได้แก่เขาเคลียด. (762.เมตรจากระดับน้าทะเล).เขาเขียว.(729.เมตรจากระดับน้าทะเล).และเขาสูง.(725.เมตร จากระดับน้าทะเล) ส่วนความลาดชัน อยู่ระหว่างร้อยละ.10-30.และ.30-45.ตามลาดับส่วนใน พื้นที่แหล่งสงวนชีวมณฑลสะแกราชตามที่ ได้กาหนดใหม่ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ.771.ตาราง กิโลเมตรมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาทางด้านเหนือ ซึ่งรวมพื้นที่ของสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อม สะแกราชด้วย โดยลักษณะภูเขาดังกล่าววางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ -ตะวันออกเฉียงใต้ โดยยอดเขาสูงสุดได้แก่ เขาโซ่ มีความสูงประมาณ.807.เมตรจากระดับน้าทะเล ซึ่งอยู่ทางด้าน ตะวันตกของเขื่อนลาพระเพลิง .ส่วนทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของพื้นที่แหล่งสงวนชีวมณฑล สะแกราช เป็ น ที่ ร าบระหว่ า งภู เ ขาหรื อ แอ่ ง วั ง น้ าเขี ย ว.มี ค วามสู ง เฉลี่ ย .300.เมตรจาก ระดับน้าทะเล.(สถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช,.2550:.ออนไลน์)

ภำพที่ 2.8 ที่ตงั้ สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช (ที่มา : สถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช, 2557 : ออนไลน์)

13

ภำพที่ 2.9 พืน้ ที่บริเวณสถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช (ที่มา : trekkingthai.com, 2555: ออนไลน์) 2.5.2 ลักษณะดิน ลักษณะของดินส่วนใหญ่เป็นดินที่มีเนื้อดินค่อนข้างหยาบ เป็นเม็ดร่วน ส่วนมาก เป็ น sandy clay loam รองลงมาได้ แก่ sandy loam และ clay loam (วิช า นิ ย ม,.2523) ดิ น มี ความอุดมสมบูรณ์ต่า ธาตุอาหารถูกชะล้างได้ง่ายและมีความสามารถในการอุ้มน้าน้อย มีชั้น ของดินต่างๆครบ คือดินชั้น A.มีความหนา 10-20 เซนติเมตร ดินชั้น B.หนา 20-25 เซนติเมตร และดินชั้น C ไม่ค่อยชัดเจน มีความลึกไม่เกิน 80 เซนติเมตรลงไปจนถึงชั้นหินแข็ง .(bed rock) (เกษม.และสามัคคี,.2523) 2.5.3 ลักษณะภูมิอำกำศ ภูมอิ ากาศของพื้นที่บริเวณสถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชในช่วงปี พ.ศ..2525 ถึงพ.ศ..2531 ฐานข้อมูลของสถานีวิจัยสะแกราชได้ระบุว่า อุณหภูมิสูงสุดอยู่ในปี พ.ศ..2526 ประมาณ 32.3 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดในปี พ.ศ. 2529 ประมาณ 20.7 องศาเซลเซียส ปริมาณน้าฝนมากที่สุดในปี พ.ศ. 2526 ประมาณ 189.2.มิลลิเมตร (ภาพที่ 2.10 และ 2.11) ใน ปี พ.ศ. 2556 อุณ หภูมิสู งสุ ดในช่วงเดือนเมษายน ประมาณ 35.9 องศาเซลเซียส อุณ หภูมิ ต่าสุดในช่วงเดือนธันวาคมมีอุณหภูมิระหว่าง.15.องศาเซลเซียส.(ภาพที่.2.12).ในหนึ่งปีมีฝนตก ประมาณ.119.วัน ปริมาณน้าฝนมากที่สุดในเดือนตุลาคม.12.8.มิลลิเมตร.ฝนตกมากที่สุด .24 วั น ในเดื อ นสิ งหาคมและไม่ มี ฝ นตกเลยในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ .(ภาพที่ .2.12).และปี .พ.ศ..2557

14

อุณ หภูมิ สู งสุ ด ในเดื อนมิ ถุ น ายน 37.4.องศาเซลเซี ย ส อุ ณ หภู มิ ต่าสุ ด 14.8 องศาเซลเซี ย ส (ภาพที่ 2.13) ในเดื อ นมกราคม ปริ ม าณน้ าฝนมากที่ สุ ด ในเดื อ นเมษายน ประมาณ 4.7 มิ ล ลิ เมตร และไม่ มี ฝ นตกเลยในเดื อ นมกราคมและกุ ม ภาพั น ธ์ (ภาพที่ .2.13) (สถานี วิ จั ย สิ่งแวดล้อมสะแกราช,.2557:.ออนไลน์)

อุณหภูมสิ ูงสุด อุณหภูมติ ่าสุด

2525

2526

2527

2528

2529

2530

2531

ปี พ.ศ.

ปริมาณน้าฝน (มม. / ปี)

ภำพที่.2.10.อุณหภูมิของสถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชช่วงปี.พ.ศ..2525.ถึง.พ.ศ..2531 (ที่มา:.สถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช,.2557:.ออนไลน์)

ปี พ.ศ. ภำพที่.2.11.ปริมาณน้าฝนของสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชช่วงปี.พ.ศ..2525.ถึง.2531 (ที่มา:.สถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช,.2557:.ออนไลน์)

15

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

อุณหภูมสิ ูงสุด ปี พ.ศ.2556 อุณหภูมติ ่าสุด ปี พ.ศ.2556 อุณหภูมสิ ูงสุด ปี พ.ศ.2557 อุณหภูมติ ่าสุด ปี พ.ศ.2557 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

เดือน

ปริมาณน้าฝน (มม. /ปี)

ปริมาณน้าฝน (มม. /ปี)

ภำพที่ 2.12 กราฟอุณหภูมิของสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชในปี พ.ศ..2556.และ.2557 (ที่มา:.สถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช,.2557:.ออนไลน์)

ปี พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2557

เดือน ภำพที่ 2.13 ปริมาณน้าฝนของสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราชในปี พ.ศ. 2556 และ 2557 (ที่มา:.สถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช, 2557: ออนไลน์)